กลไกราคา
ใ น ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ตลาด คือ การที่ผู้ซื้อและผู้ขายมาทำการติดต่อซื้อขายกัน
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
มีผู้ซื้อและผู้ชาย
จำนวนมาก
หน่วยธุรกิจ ลักษณะของ สินค้าที่ซื้อขายมี
เข้า-ออกจากธุรกิจ ตลาดแข่งขัน ลักษณะเหมือนกัน
การค้าโดยเสรี สมบูรณ์ ทุกประการ
การติดต่อซื้อขาย ผู้ซื้อและผู้ขาย
ต้องกระทำโดย รู้สภาพการณ์ใน
สะดวก
ตลาดอย่างดี
มีการแข่งขันกันอย่างเต็มที่ ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ชาย
การกำหนดราคาเกิดขึ้นทั้งจากผู้ซื้อและผู้ขาย ไม่มีปัจจัย
อื่นเข้ามามีอิทธิพล
สินค้าในตลาดเป็นสินค้าชนิดเดียวกันเหมือนกันทุกประการ
มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก สามารถทำการติดต่อค้าขายกัน
ได้โดยสะดวก
ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้เกี่ยวกับสภาพการณ์ของตลาดเป็นอย่างดี
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ด้าน ตลาดกึ่งแข่งชัน ด้านผู้ซื้อ ตลาดที่ผู้ซื้อ
ผู้ขาย ถึงผูกขาด มีสักษณะ
กึ่งผูกขาด
ตลาดที่มีผู้ขาย
น้อยราย ตลาดที่มีผู้ซื้อ
น้อยราย
ตลาดผูกขาด ตลาดที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ผู้ซื้อหรือผู้ขายมีอิทธิพลในการกำหนดราคาหรือปริมาณ
สินค้าในตลาด เนื่องจาสินค้าส่วนมากมีลักษณะไม่เหมือนกัน
ทำให้ผู้ซื้อเกิดความพึ งพอใจสินค้าของผู้ค้าคนใดคนหนึ่ง
มากกว่ากัน
ตลาดกึ่งผูกขาด มีผู้ขายเยอะ เป็นสินค้าอย่างเดียวกันแต่
หลายยี่ห้อ
ตลาดที่มีผู้ชายน้อยราย มีผู้ขายไม่กี่รายแต่มีสินค้าจำนวนมาก
เมื่อเทียบกับตลาดทั้งหมด
ตลาดผูกขาดมีผู้ขายรายเดียวทำให้มีอิทธิพลเหนือราคา
กลไกราคา
อุปสงค์ (DEMAND) สินค้าราคาถูกลง ซื้อเพิ่ มขึ้น
สินค้าราคาเพิ่ มขึ้น ซื้อลดลง
อุปทาน (SUPPLY) สินค้าราคาเพิ่ มขึ้น ผลิตเพิ่ มขึ้น
สินค้าราคาลดลง ผลิตลดลง
การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
ราคาดุลยภาพ อุปทานส่วนเกินหรือ อุปสงค์ส่วนเกินหรือ
อุปสงค์ส่วนขาด อุปทานส่วนขาด
ราคาที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ
= อุปสงค์ (D) อุปสงค์ (D)
น้อยกว่าอุปทาน (S) มากกว่าอุปทาน (S)
ราคาที่ผู้ผลิตต้องการขาย ความต้องการบริโภค ความต้องการบริโภค
สินค้าน้อยลง แต่สินค้าและ สินค้ามีมาก แต่การผลิตเท่า
การผลิตมีเท่าเดิม เดิมหรือลดลงทำให้
ส่งผลให้สินค้าล้นตลาด
สินค้าขาดตลาด
ปัจจัยในการกำหนดราคา
สภาวะทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจดี เศรษฐกิจตกต่ำ
ประชาชนมีรายได้ดี ประชาชนมีรายได้ลดลง
ปริมาณเงินในตลาดมาก ปริมาณเงินในตลาดน้อย
คนมีกำลังซื้อ คนมีกำลังซื้อน้อย
ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าสูง ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าต่ำ
ปัจจัยในการกำหนดราคา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มลูกค้าที่มี กลุ่มลูกค้าที่มี
รายได้สูง รายได้ต่ำ
ผู้ขาย ผู้ขาย
ตั้งราคาสินค้าสูง ตั้งราคาสินค้าต่ำ
ปัจจัยในการกำหนดราคา
การแข่งขันของตลาด
ตลาดที่มีสินค้าประเภทเดียวกัน ตลาดที่มีผู้ขายเพี ยงไม่กี่เจ้า
สินค้ามีลักษณะเหมือนกัน สินค้าที่มีการลงทุนสูง เช่น
มีผู้ขายหลายคน ธุรกิจน้ำมัน ,เครื่องจักร
มีผู้ขายเพียงคนเดียว กำหนด
ราคาได้ตามความต้องการ
ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าเท่าๆกัน ผู้ขาย ตั้งราคาสินค้าสูง
การตั้งราคาสินค้า
ตั้งจากราคาทุนของสินค้า
ราคาขาย = ต้นทุน + (% กำไรที่ต้องการ x ต้นทุน)
ตัวอย่าง
แม่ซื้อกระเป๋ามา 1,000 บาท ต้องการกำไรสัก 20%
ต้องขายเท่าไหร่?
ราคาขาย = 1,000 + (20% x 1,000)
= 1200
จัดทำโดย
เด็กหญิง ณัฐฏ์พิณอร ไพรวันรัตน์ เลขที่10 ม.3/10