The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aod.sakhon, 2020-12-22 00:36:45

รายงานโครงการประกันภัยโรงเรียนพุทธชินราชพิทยา ปีการศึกษา 2563

รวมเล่มรายงานโครงการประกันภัย 2563

Keywords: ิเพื่อรับการประเม,ิน

เอกสารรายงานน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ของการท�ำ กจิ กรรมโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL ในรูปแบบและ
บรบิ ทแนวคดิ ของโรงเรียนพุทธชินราชพิทยาสืบเนอื่ งด้วย การประกันภัย มีความส�ำ คัญอยา่ งยง่ิ ต่อเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
และถอื เป็นกลไกหรอื เคร่อื งมอื ทช่ี ่วยในการบริหารความเสี่ยง บรรเทาความเดือดร้อนเม่อื เกดิ ความเสยี หายแก่ชวี ิตเเละทรัพย์สิน
ที่ไดท้ ำ� ประกนั ภัยไว้ รวมถงึ ชว่ ยแบ่งเบาภาระในดา้ นสวัสดกิ ารสงเคราะห์จากภาครัฐ ท�ำ ให้สังคมมีหลักประกันความ ปลอดภัยมาก
ย่งิ ขึ้น แต่ในปจั จุบันพบวา่ การเข้าถึงการประกนั ภัยของประชาชนในประเทศไทยยังอยู่ในระดับท่ี ค่อนขา้ งต�่ำ โดยวัดจากสัดสว่ นเบย้ี
ประกันภยั ตอ่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Insurance Penetration) ใน ปี2561 ทีม่ เี พยี งร้อยละ 5.27 ในขณะทคี่ า่ เฉล่ียเบีย้
ประกนั ภยั ตอ่ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของโลกอยทู่ ี่ ร้อยละ 6.2 โดยผลส�ำ รวจพบว่า เหตุผลส�ำ คญั มาจากการทปี่ ระชาชน
ยังขาดความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกบั ความส�ำ คัญ และประโยชน์ของการประกันภยั รวมถึงเงอื่ นไขการคมุ้ ครองตามกรมธรรมป์ ระกนั ภยั
ดว้ ย ดว้ ยการตระหนักถงึ ความส�ำ คัญดังกลา่ ว เห็นควรขยายผลเพ่ือเพ่มิ โอกาสในการเผยแพรค่ วามรดู้ ้านการประกันภยั ไปยงั กลมุ่
เป้าหมายท่ชี ัดเจน โดยเฉพาะกลมุ่ ยุวชนในระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายในพ้นื ทตี่ า่ ง ๆ ทวั่ ประเทศไทย ซึ่งจะทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายได้
รบั ประโยชนเ์ พ่มิ มากขนึ้ ดว้ ย รวมท้งั เปน็ การตอกย�้ำ และกระตุ้นใหก้ ลุม่ คนรุ่นใหม่ไดร้ บั ร้แู ละเหน็ ความสำ�คญั ของการ ประกันภยั
อย่างกวา้ งขวาง อันเปน็ ส่วนสำ�คัญที่จะท�ำ ให้การเข้าถึงการประกันภยั ของประชาชนในประเทศไทย เพิ่มขึน้ ในอนาคตอนั ใกล้นีโ้ ดยมี
วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ประชาสมั พนั ธ์ และส่งเสรมิ การเรียนร้ดู า้ นการประกันภยั ในฐานะทีเ่ ป็นเคร่อื งมอื หนึง่ ในการ บริหารความเสย่ี งภยั
ใหแ้ ก่นักเรียนในสถานศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา
2. เพื่อสร้างจติ สำ�นึกและความร้คู วามเข้าใจด้านการประกันภัยและทัศนคติท่ดี ีของยุวชนกบั การประกันภัย ให้เห็น
ประโยชนแ์ ละความสำ�คญั ของการประกนั ภยั และสามารถน�ำ ความรู้ทไ่ี ดไ้ ปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการดำ�เนินชีวติ ประจ�ำ วัน
รว่ มกับ
3. เพอ่ื เปิดโอกาสใหย้ วุ ชนไดแ้ สดงความคดิ เห็น ความสามารถ และมสี ว่ นร่วมในการสง่ เสริมการประกนั ภัย ในระดบั ชุมชน
โรงเรยี นพทุ ธชินราชพทิ ยา ไดร้ บั คัดเลอื กเขา้ ร่วมการประกวดกจิ กรรมโครงการโรงเรยี นตน้ แบบดา้ นการประกันภยั โดยการสนับสนุน
การดำ�เนนิ กจิ กรรมเพอื่ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคด์ งั กล่าวตามบริบทของโรงเรยี น
โรงเรียนขอขอบคณุ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการกำ�กบั และส่งเสรมิ การ ประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั (คปภ.) และ สมาคม
ประกนั วนิ าศภยั ไทย ที่คดั เลือกโรงเรยี นพทุ ธชินราชพิทยาไดร้ ว่ มด�ำ เนินกิจกรรมในรูปแบบโครงการ SMART INSURANCE PUT-
THA MODEL กำ�หนดให้มกี จิ กรรมเผยแพรค่ วามรู้ ด้านการประกนั วินาศภยั ไปยังกลุม่ ยวุ ชนในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภายใต้
ช่ือ “โครงการประกวดโรงเรียนตน้ แบบด้านการประกนั ภัย” โดยถอื เป็นโครงการตอ่ ยอดจาก “โครงการยุวชนประกันภัย” ใหเ้ ปน็
โรงเรยี นตน้ แบบด้านการประกันภัยสบื ไป
โรงเรยี นพุทธชนิ ราชพิทยา

1

2

1 47
2 51
3 55
5 58
8 63
15 66
21 68
25 73
45 75

3

99
102
106
108

4

เพ่ือจะได้รบั รใู้ นเร่อื งนโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และเขา้ ใจวา่ ทำ�ไมตอ้ งมีนโยบาย วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ทีม่ สี ่วนผลักดันที่
ก�ำ หนดนโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ขน้ึ มาและเป็นการกำ�หนดว่ามีข้นั ตอนอย่างไร และได้รูว้ ่านโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกจิ ของแตล่ ะ
โครงการกจิ กรรม และวัดไดท้ นั ทีวา่ นโยบาย วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลอยางไรเพื่อจะช่วยให้ไดท้ ราบถงึ วธิ ี
การต่างๆ ในการวิเคราะหป์ ญั หาอยา่ งมีเหตุและมีผล
1. เพื่อจดั ท�ำ นโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกจิ ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
2. ผลักดันการดำ�เนนิ งานตามกำ�หนดนโยบายวิสยั ทศั น์ พันธกจิ ของโครงการ โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA
MODEL และสามารถวัดผลไดท้ นั ทวี ่านโยบาย วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ มปี ระสิทธิภาพ
1. จดั ตง้ั คณะกรรมการดำ�เนนิ งานครูและนักเรยี นแกนน�ำ คปภ.น้อย
2. ประชมุ กำ�หนด นโยบาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
3. เสนอเรื่องผู้อ�ำ นวยการ อนญุ าตการด�ำ เนินงานและลงนามเห็นดว้ ยข้อก�ำ หนด นโยบาย วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ ของโครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
4. จดั ทำ�ป้าย นโยบาย วิสัยทศั น์ พันธกิจ ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
5. ดำ�เนนิ กิจกรรมให้สอดคล้องกบั นโยบาย วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
6. สรุปประเมนิ ความพงึ พอใจผู้ร่วมกจิ กรรม
1. โรงเรียนมี นโยบาย วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
2. คณะผปู้ ฏบิ ัติงานร่วมกันผลกั ดันการดำ�เนินงานตามกำ�หนด นโยบาย วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ ของโครงการ SMART INSUR-
ANCE PUTTHA MODEL

5

1. ผูบ้ ริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง นักเรยี น โรงเรียนเครือข่ายและชมุ ชนเครอื ขา่ ย สามารถลดความเส่ยี งใน
ชีวิตประจ�ำ วัน
2. ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง นักเรียน โรงเรียนเครือข่ายและชมุ ชนเครอื ข่าย มีความรู้ ความเข้าใจด้าน
การประกันภัย
3. ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากร ผู้ปกครอง นกั เรยี น โรงเรียนเครอื ข่ายและชุมชนเครอื ขา่ ย มีจิตสำ�นึกท่ดี ี มคี วาม
ตระหนกั ตอ่ การทำ�ประกนั ภยั

ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากร ผ้ปู กครอง นักเรียน โรงเรียนเครอื ขา่ ยและชุมชนเครือข่าย
ลดความเสยี่ ง มคี วามรู้ และจิตส�ำ นึกทีด่ ตี ่อการทำ�ประกันภัย

ผู้บรหิ าร ครู บคุ ลากร ผปู้ กครอง นักเรียน โรงเรียนเครือข่ายและชุมชนเครือขา่ ย
ลดความเส่ียง มคี วามรู้ และจติ สำ�นึกท่ดี ตี ่อการทำ�ประกนั ภยั

6

7

หลักสูตรเป็นส่งิ ส�ำ คัญของการจัดการศึกษา เพราะเป็นส่งิ ท่กี �ำ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการจดั การเรยี นการสอนให้บรรลุ
จดุ มงุ่ หมายท่กี ำ�หนดไว้ หลักสตู รท่ีดตี อ้ งมีการพฒั นาอยู่เสมอ เพ่ือใหม้ เี นือ้ หาสาระทนั กบั สภาพการเปล่ยี นแปลงของสงั คม เศรษฐกจิ
เทคโนโลยี และการเมอื ง
“ หลกั สตู ร (Curriculum) ” หมายถึง เอกสารท่ีจดั ท�ำ ขน้ึ เพอื่ ระบเุ ป้าหมายและวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมหรือ
ประสบการณ์เรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การพัฒนาหลกั สตู รเป็นการเปลี่ยนแปลงและปรบั ปรงุ หลกั สูตรอนั เดมิ ใหไ้ ด้ผลดี
ย่งิ ขนึ้ ในดา้ นการวางจุดมงุ่ หมาย การจดั เนอื้ หาการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล เพื่อบรรลุจดุ มงุ่ หมายใหมท่ ่ีวางไว้
ความส�ำ คัญของหลักสูตร
ความสำ�คัญของหลกั สตู รทีม่ ตี ่อการจดั การศึกษาน้นั หลักสตู รมคี วามสำ�คญั เพราะหลกั สตู รเปน็ เอกสารซ่ึงเป็นแผนการหรือ
โครงการจัดการศึกษาท่ีระบุแนวทางการจัดมวลประสบการณ์ เปน็ สว่ นก�ำ หนดทศิ ทางการจดั การศึกษาใหก้ ับบุคลากรทเี่ ก่ยี วข้อง
กบั การจดั การศึกษาน�ำ ไปปฏบิ ัต ิ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมคี ุณภาพทางการศกึ ษาตามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษาที่หลกั สตู รก�ำ หนดไว้
องค์ประกอบของหลกั สตู ร
องค์ประกอบของหลักสูตร หมายถงึ สว่ นทอ่ี ยู่ภายในและประกอบกันเข้าเป็นหลกั สตู รเปน็ สว่ นส�ำ คญั ที่จะท�ำ ใหค้ วามหมาย
ของหลักสูตรสมบรู ณ์เป็นแนวทางในการจดั การเรยี น การสอน การประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ พัฒนาหลกั สตู รองค์ประกอบของ
หลักสูตรไวด้ งั นี้
1. จุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร (curriculum aims) หมายถึง ความตงั้ ใจหรอื ความคาดหวงั ทีต่ ้องการให้เกดิ ข้ึนในตวั ผู้ที่จะ
ผา่ นหลักสูตร เปน็ ตวั กำ�หนดทศิ ทางและขอบเขตในการให้ การศกึ ษาแกเ่ ดก็ ช่วยในการเลือกเนือ้ หาและกิจกรรมตลอดจนใช้เป็น
มาตรการอยา่ งหนึง่ ในการประเมินผล
2. เนอ้ื หา (content) เป็นสง่ิ ท่ีคาดวา่ จะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาไปสจู่ ุดมงุ่ หมายทก่ี ำ�หนดไว้ โดยดำ�เนนิ การต้งั แต่การเลือก
เนอ้ื หาและประสบการณก์ ารเรียงล�ำ ดบั เน้ือหาสาระ และการกำ�หนดเวลาเรียนท่เี หมาะสม
3. การนำ�หลกั สูตรไปใช้ (curriculum implementation) เปน็ การนำ�หลกั สตู รไปสู่ การปฏบิ ัตปิ ระกอบดว้ ยกิจกรรมต่าง ๆ
เชน่ การจดั ท�ำ วสั ดุหลกั สูตร การจดั เตรียมความพรอ้ มดา้ นบคุ ลากรและส่งิ แวดล้อม การดำ�เนนิ การสอน
4. การประเมนิ ผลหลักสตู ร (evaluation) คือการหาคำ�ตอบวา่ หลกั สูตรสัมฤทธผิ ลตามทีก่ �ำ หนดไว้ในจดุ มุง่ หมายหรอื ไมม่ าก
น้อยเพยี งใดและอะไรเปน็ สาเหตุ การประเมนิ ผลหลกั สูตรเป็นงานใหญ่และมีขอบเขตกว้างขวาง ผปู้ ระเมนิ จำ�เป็นตอ้ งวางโครงการ
ประเมินผลไว้ล่วงหนา้

8

การพฒั นาหลักสตู ร
การพัฒนาหลักสตู ร คือ การพยายามวางโครงการทจี่ ะช่วยให้นักเรยี นได้เรยี นรู้ตรงตามจดุ หมายทกี่ ำ�หนดไว้ หรือการ
พฒั นาหลกั สตู รและการสอนคือ ระบบโครงสร้างของการจดั โปรแกรมการสอน กำ�หนดจดุ มุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การปรับปรุงตำ�รา
แบบเรยี น คู่มอื ครู และส่ือการเรยี นต่าง ๆ การวัดและประเมินผลการใช้หลกั สูตรการปรบั ปรุงแก้ไข และการให้ การอบรมครูผใู้ ช้
หลักสตู รใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการพัฒนาหลกั สูตรและ การสอน รวมทัง้ การบรหิ ารและบริการหลกั สตู ร
ความสำ�คัญของการพฒั นาหลกั สตู ร
การพัฒนาหลกั สูตรในทุกระดับจะมีความส�ำ คัญต่อการจัดการศึกษาท้งั สิ้น ระดับชาตกิ ระทรวง และระดบั เขตพื้นท่ี จะ
เป็นกรอบหลกั ๆ เชิงนโยบาย ส่วนระดบั สถานศกึ ษา และระดบั ห้องเรยี น/ชั้นเรียน จะเป็นระดบั การปฏบิ ตั ิจรงิ ทม่ี ีการจดั การเรยี น
รู้ทีเ่ หมอื นกัน แต่จะแตกต่างในการจดั การเรียนรสู้ าระทอ้ งถนิ่ /รายวชิ าเพม่ิ เติม ท่กี ล่าวไปข้างต้นสรปุ ได้ว่า การพฒั นาหลกั สตู รการ
ศึกษามคี วามส�ำ คญั ตอ่ การพัฒนาคนให้เป็นคนท่ีมีคุณคา่ มคี วามรคู้ วามสามารถ และอยใู่ นสงั คม
พ้ืนฐานการพฒั นาหลกั สตู ร
พื้นฐานด้านปรัชญา
ปรชั ญาการศึกษานน้ั มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งในการพฒั นาหลักสตู ร โดยใชก้ ำ�หนดจดุ มงุ่ หมาย เลอื กเนือ้ หาสาระและน�ำ มาจัด
หลักสตู รได้อยา่ งเปน็ ระบบ ทำ�ให้หลกั สูตรนนั้ มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น ปรัชญาการศึกษาต่าง ๆ มีดงั น้ี
ปรชั ญาสารัตถนิยมหรือสาระนยิ ม (essentialism) เป็นปรชั ญาท่ีได้รับอทิ ธพิ ลจากปรชั ญาทั่วไป เน้นการถ่ายทอดความรูใ้ ห้ผูเ้ รียน
รบั รู้และจํา คาํ นึงถึง เน้ือหาสาระมากกว่าความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
ปรชั ญานริ ันตรนยิ ม (parennialism) ปรัชญานี้มคี วามเชื่อว่า ส่งิ ท่มี คี วามคงทนถาวร ย่อมเป็นส่ิงท่ดี งี ามเปน็ จรงิ มากกว่าสงิ่ ที่
เปลี่ยนแปลงได้
ปรัชญาพิพฒั นาการนยิ ม (progressivism) ปรัชญาการศึกษาน้ถี อื วา่ การศึกษาเปน็ เครอ่ื งมอื ของสงั คมในการถ่ายทอด
วฒั นธรรมแก่ชนรนุ่ หลงั มคี วามเชือ่ ว่าการศึกษาเป็นชวี ติ มากกวา่ เป็นการเตรียมตัวเพ่ือชวี ิต การจัดการศึกษาตามแนวนีจ้ ะมงุ่ สง่
เสรมิ พัฒนาการเดก็ ทกุ ด้าน เนน้ การปฏบิ ตั ิจรงิ และความสมั พนั ธ์กบั สภาพจรงิ การจัดการเรียนร้ยู ดึ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง ให้ผู้เรยี น
ได้รับประสบการณ์ตรง
ปรชั ญาปฏิรูปนิยม (reconstructionism) ปรชั ญานีม้ คี วามเชือ่ วา่ การศกึ ษาควรจะเปน็ เครอ่ื งมอื ในการเปลย่ี นแปลงสงั คม
โดยตรง เน้นการจดั การศึกษาเพ่อื สร้างสงั คมให้ดี รู้จักการอย่รู ่วมกนั ในสังคม ช่วยแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ที่เกิดขึน้ ในสงั คม อนาคตเป็น
ศูนย์กลาง มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ ความสามารถและทศั นคติที่จะออกไปปฏริ ปู สงั คมใหด้ ีขน้ึ
พ้นื ฐานดา้ นเศรษฐกิจ
ในการพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คมท่มี สี ภาพเศรษฐกิจดี จะทำ�ใหส้ ามารถจดั การศกึ ษาให้กบั คนในสังคมได้อย่างทั่วถงึ และมี
ประสิทธิภาพ
ประเด็นท่คี วรพิจารณาในการพฒั นาหลักสูตรใหเ้ หมาะสมกบั พืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ
1. การเตรียมก�ำ ลงั คน การศกึ ษาผลติ กำ�ลังคนในดา้ นตา่ ง ๆ ให้เพียงพอ พอเหมาะ สอดคล้องกับความตอ้ งการในแต่ละ
สาขาอาชพี คอื มีความรู้ ทกั ษะ และคุณสมบตั ติ า่ ง ๆ ตรงตามทต่ี ้องการทง้ั ดา้ นปริมาณและคณุ ภาพ

9

2. การพัฒนาอาชพี จัดหลักสตู รเพือ่ พฒั นาอาชีพตามศกั ยภาพและท้องถนิ่
3. การขยายตัวทางดา้ นอตุ สาหกรรม พฒั นาหลกั สตู รใหส้ ามารถพัฒนาคนใหม้ คี วามพรอ้ มสำ�หรับการขยายตวั ทางดา้ น
อุตสาหกรรม
4. การใช้ทรัพยากรให้หลกั สูตรเปน็ เครอ่ื งปลูกฝงั ความส�ำ คญั ของทรพั ยากร ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด
5. การพฒั นาคณุ ลักษณะของบคุ คลในระบบเศรษฐกิจใหส้ อดคล้องกับสภาพทเี่ ปน็ จรงิ ของสงั คม
6. การลงทนุ ทางการศึกษา คำ�นงึ ถึงคุณคา่ และผลตอบแทนของการศึกษา เพอ่ื ไม่กอ่ ให้เกิดความสูญเปลา่ ระบบการนำ�
ทรพั ยากรทม่ี อี ยูม่ าใช้ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด
พน้ื ฐานดา้ นสังคม
ข้อมูลพน้ื ฐานดา้ นสงั คมทส่ี ำ�คญั ทคี่ วรศึกษาวิเคราะห์เพ่อื เป็นพ้นื ฐานในการพฒั นาหลกั สูตร คอื ขอ้ มลู ที่เก่ียวกบั สภาพ
สงั คม แนวคดิ ของพฒั นาการทางสังคม 4 ยุค คือ
ยคุ เกษตรกรรม ยุคอตุ สาหกรรม ยุคสังคมขา่ วสารข้อมลู ยุคข้อมลู ฐานความรู้ และยุคปัญญาประดษิ ฐ์ เพอ่ื นำ�ขอ้ มลู ไปใชใ้ นการจดั
ท�ำ หลักสูตรว่าจะมีแนวปฎิบตั ใิ นการจดั ทำ�หลักสตู รหรอื พัฒนาหลกั สูตรอยา่ งไรจึงจะเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี นในยุคสมัยต่างๆ ประการ
ส�ำ คญั ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดา้ นสงั คมมงุ่ การสรา้ งเครอื ขา่ ยหรือความร่วมมือของชมุ ชน ข้อมูลดงั กลา่ วจะเปน็ ประโยชนใ์ นการ
จัดท�ำ หลกั สูตร การกำ�หนดวชิ าเรียนต่างๆ เพราะบางราบวชิ าสภาพชุมชนไมส่ ่งเสรมิ เท่าทค่ี วร ก็อาจเปน็ อุปสรรคในการจดั การ
ศกึ ษา ข้อมูลเกีย่ วกับโรงเรียน ชุมชนและสงั คมท่ีโรงเรียนต่างๆ สามารถนำ�ไปใชใ้ นการบริหารและจดั การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ
พื้นฐานด้านการเมอื งการปกครอง
การเมอื งการปกครองมีความสัมพันธ์กบั การศกึ ษา หนา้ ทท่ี สี่ �ำ คญั ของการศกึ ษาคือ การสรา้ งสมาชิกท่ดี ใี หก้ บั สงั คมใหอ้ ยู่
ในระบบการเมอื งการปกครองทางสงั คมนน้ั หลักสูตรจึงตอ้ งบรรจุเนอื้ หาสาระและประสบการณ์ที่จะปลูกฝังและสรา้ งความเขา้ ใจให้
คนในสงั คมอยรู่ ว่ มกันดว้ ยความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยและสันตสิ ขุ ไม่มกี ารเอารัดเอาเปรียบซ่ึงกนั และกัน จดั การเรียนร้ทู ่สี อดคล้อง
กบั สภาพของสังคม เช่น การมงุ่ เนน้ พฤตกิ รรมด้านประชาธิปไตย เปน็ ตน้ ข้อมลู ที่เกีย่ วกบั การเมืองการปกครองทค่ี วรจะนำ�มาปรับ
พืน้ ฐานประกอบการพิจารณาในการพัฒนา หลกั สูตร เชน่ ระบบการเมือง ระบบการปกครอง นโยบายของรัฐ
พน้ื ฐานด้านจิตวิทยา
ในการจดั ท�ำ หลกั สูตรจำ�เปน็ ตอ้ ง ศึกษาขอ้ มลู พ้นื ฐานทางจิตวิทยา ซง่ึ ใหข้ อ้ มูลเกยี่ วกับผูเ้ รยี นวา่ ผเู้ รยี นเปน็ ใคร มคี วาม
ต้องการและความสนใจอะไร มีพฤตกิ รรมอย่างไร เป็นตน้ ซึ่งข้อมูลดงั กลา่ วนักพฒั นาหลกั สตู รจะนำ�มาใช้เพ่ือกำ�หนดจุดม่งุ หมาย
หลักสูตร ก�ำ หนดเน้อื หาวชิ า และการจัดการเรยี นรู้ จิตวทิ ยาการเรยี นรจู้ ะถกู น�ำ มาใช้เพอ่ื ใหไ้ ด้ความรู้ในเรอื่ งธรรมชาตกิ ารเรยี นรู้
และปัจจัยทางวิทยาทีส่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ สามารถนำ�ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรยี นได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ แนวคิดของนกั
จติ วทิ ยาทเี่ กี่ยวข้องกบั ทฤษฎกี ารเรียนร้มู ี 4 กลุ่ม ใหญๆ่ ด้วยกนั ไดแ้ ก่
1) ทฤษฎกี ารเรียนรูพ้ ฤติกรรมนยิ ม
2) ทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ลมุ่ ปัญญานิยม

10

3) ทฤษฎีการเรียนรู้กลมุ่ มนษุ ยน์ ิยม
4) ทฤษฎีการเรียนรกู้ ล่มุ สร้างสรรคน์ ยิ ม
พื้นฐานการพัฒนาหลักสตู รดา้ นจิตวิทยา นอกจากขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งกับจิตวทิ ยาการเรียนรแู้ ลว้ ในการพฒั นาหลักสตู ร
จ�ำ เป็นต้องมีขอ้ มลู เก่ยี วข้องกับพื้นฐานการพฒั นาหลักสตู รด้านผเู้ รียน ซง่ึ มปี ระเดน็ สำ�คญั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้
โดนัล คลาก (Donald Clark, 2004:1) กลา่ วว่าขั้นตอนวเิ คราะห์ ข้อมลู ประชากรกลุม่ เป้าหมายมีความจ�ำ เปน็ และมปี ระโยชนม์ าก
เม่ือต้องตัดสินใจเก่ยี วกับการเสนอโปรแกรมการเรยี นการสอน ซง่ึ ประกอบด้วยข้อมลู ต่างๆ ดังนี้
- จ�ำ นวนผู้เรียน
- ท่ตี ้ังของโรงเรียน
- การศกึ ษาและประสบการณข์ องผู้เรยี น
- ภูมิหลงั ของผู้เรยี น
- แรงจูงใจของผูเ้ รยี น
- ระดบั ความสามารถในการปฎิบัติงานที่ตอ้ งการ กับระดบั ทกั ษะในปจั จุบัน
- ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมของผู้เรยี น สิง่ เร้าของผู้เรียน
- ลกั ษณะทางกานภาพหรอื ความสามารถทางสตปิ ัญญาของผเู้ รยี น
- ความสนใจพิเศษหรืออคติของผเู้ รยี น
พน้ื ฐานด้านวทิ ยาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นปจั จัยส�ำ คญั ประการหน่ึงท่ีท�ำ ให้สังคมเกิดการเปลย่ี นแปลง
ไปอยา่ งมาก การศึกษาจึงต้องสอดคล้องไปกบั ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั พฒั นาหลักสตู รจึงตอ้ ง
ใชข้ ้อมลู ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประกอบการก�ำ หนดเนื้อหาของหลกั สูตร และวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ กล่าวคอื กำ�หนด
เนอื้ หาท่พี อเพยี ง ทันสมยั ให้ผู้เรียนได้ทราบถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ จากความเจรญิ กา้ วหน้าทางด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี ่อสังคม
และสง่ิ แวดล้อม กำ�หนดใหใ้ ช้วธิ ีการและสือ่ การเรยี นอันทนั สมยั เชน่ การสอนแบบทางไกล การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน
การใช้อินเทอรเ์ น็ต (internet) ในการจัดการเรียนรู้ เปน็ ต้น
พ้ืนฐานทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จะเกยี่ วข้องกบั การจดั ทำ�หลักสตู รใน 2 ลักษณะคอื
1. นำ�มาเป็นข้อมลู ในการพฒั นาหลกั สตู รเพอ่ื พัฒนาคนให้พรอ้ มรบั กบั ความเปลีย่ นแปลงในสงั คม
2. ใช้ในการพฒั นากระบวนการจดั การศกึ ษาให้มปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ
ดังนนั้ การศึกษาขอ้ มลู ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลท้งั ในปัจจบุ ันและแนวโน้มความเจริญในอนาคต จะท�ำ ให้สามารถ
พฒั นาหลกั สตู รที่สามารถพัฒนาคนในสังคมให้มีศกั ยภาพเหมาะสมกับการดำ�รงชีวติ อยูใ่ นสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปไดต้ ามความ
ตอ้ งการของสงั คม

11

รปู แบบของหลกั สูตร
รูปแบบของหลักสูตรแบง่ ออกมากมายตามแนวคดิ ของแต่ละคนแต่ก็มคี วามหมายใกลเ้ คียงกนั และท่ีส�ำ คญั เพือ่ จุดมุ่งหมาย
เดยี วกนั คือเพอ่ื ตวั ผู้เรยี น
1. หลกั สูตรแบบเน้นเน้ือหา(The Subject Matter Curriculum) หลกั สตู รน้ีมกั มองวา่ เกา่ และไม่ดเี พราะขาดการเช่อื มโยง
เปน็ หลกั สตู รท่แี บง่ แยกรายวิชาออกเปน็ ส่วนๆเชน่ วิชาสังคมก็แยกออกเปน็ ภูมศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตรศ์ ลี ธรรมเป็นตน้ จะเห็นไดว้ า่ ไมม่ ี
การเชอ่ื มโยงและขาดความสัมพันธ์กับวชิ าอื่นๆ ทส่ี ำ�คญั เนน้ ความรอู้ ยา่ งเดยี วผเู้ รยี นจงึ น�ำ ความรู้ไปวเิ คราะหไ์ มไ่ ดน้ ำ�มาใช้ประโยชน์
ไดน้อย
2. หลักสูตรสหสมั พนั ธ์(Correlated Curriculum) หลกั สตู รสหสมั พันธพ์ ัฒนามาจากหลักสูตรแยกรายวิชากลา่ วคอื
หลักสูตรนไ้ี ด้รวมคุณลกั ษณะคุณคา่ ความส�ำ คัญขงรายวิชาไวด้ ้วยกันเชน่ การเอาวิชาคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์มาไวด้ ้วยกนั ท�ำ ให้
ผเู้ รยี นเกดิ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลินทำ�ให้ผเู้ รยี นรจู้ กั วเิ คราะหม์ ากขน้ึ แตข่ อ้ เสยี ก็คือจะท�ำ ให้เด็กเกดิ ความสับสนได้ถา้ ผสู้ อนเตรยี ม
การสอนไม่ดี
3. หลกั สตู รแบบผสมผสาน(Fused Curriculum or Fusion Curriculum) หลักสูตรนี้จะเอาวิชาท่ีใกลเ้ คียงกนั มาหลอม
ลวมใหม่เปน็ รายวชิ าใหม่เช่นชวี ิทยาฟสิ ิกสเ์ ป็นต้นหลักสตู รแบบนท้ี �ำ ให้ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรู้อย่างกวา้ งขวางมากขึน้
4. หลักสูตรแบบหมวดวิชาแบบกว้าง(Broad Fields Curriculum) หรอื หลกั สตู รรวมวิชา เปน็ หลักสตู รที่พยายามจะแก้
ปญั หาตา่ งๆท่ีเกดิ จากหลักสตู รเน้ือหาวิชาซง่ึ ขาดการผสมผสานของความรู้ใหเ้ ป็นหลกั สูตรท่มี กี ารประสานสัมพนั ธข์ องเน้อื หาความรู้
ทก่ี วา้ งยิง่ ขนึ้
5.หลักสตู รเพอื่ ชวี ติ และสงั คม(Social Process and Life Function Curriculum) หลกั สูตรนเ้ี รียนรูจ้ ากประสบการณย์ ดึ เอาชีวิต
และสงั คมเปน็ หลกั
6. หลกั สูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์(Activity or Experience Curriculum) การเรยี นแบบการเรียนรดู้ ว้ ยการกระท�ำ (
Learning by Doing) ยึดกิจกรรมความสนใจประสบการณส์ ิ่งแวดล้อมาเป็นแนวทางในการจดั ลำ�ดบั ประสบการณก์ ารเรยี นร้เู พ่ือให้
ผู้เรียนน�ำ ความรไู้ ปใชจ้ รงิ ได้
7. หลักสตู รแบบแกน(Core Curriculum) หลักสูตรแบบนีจ้ ะกำ�หนดวชิ าใดวิชาหนึ่งเป็นศูนย์กลางหรือแกนวชิ าอ่ืนๆจะ
สนับสนนุ แกนมกี ารผสมผสานทางด้านการเรยี นรู้และเน้ือหาวชิ าสนองความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคลเปิดโอกาสผเู้ รยี น
ศกึ ษาความรู้ดว้ ยตนเอง
8. หลักสูตรบรู ณาการ(Integrated Curriculum) เปน็ หลักสตู รที่สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของผู้เรียนเนน้ ความ
สัมพันธ์ผสมผสานระหวา่ งวิชามุ่งเนน้ ประโยชน์ของผเู้ รยี นสงู สดุ

12

1. เพอื่ น�ำ หลกั สูตรดา้ นการประกนั ภัยมาใชใ้ นการเรียนการสอนโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
2. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพฒั นารูปแบบการเรยี นการสอนด้านการประกันภยั ด�ำ เนนิ งานตามกำ�หนดนโยบายวิสยั ทศั น์
พันธกิจของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
1. จัดต้งั กรรมการคณะด�ำ เนินงานรว่ มจัดทำ�หลักสูตรและแผนการสอน
2. ประชมุ ก�ำ หนดหลักสูตรและแผนการสอนท่จี ำ�เป็นท่ีควรรขู้ องโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
3. เสนอผอู้ ำ�นวยการอนุญาตการด�ำ เนินงานและลงนามเหน็ ดว้ ยการใช้หลักสตู รและแผนการสอนทจี่ ำ�เป็นทีค่ วรรู้ของ
โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
4. จดั ท�ำ คมู่ อื หลกั สูตรและแผนการสอนท่จี ำ�เปน็ ทคี่ วรรู้ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
5. ดำ�เนินกิจกรรมการเรยี นการสอนให้ตรงวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตรและแผนการสอนท่จี ำ�เป็นทค่ี วรรขู้ องโครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
6. สรปุ ประเมินความพึงพอใจผรู้ ่วมกจิ กรรม
1. โรงเรียนมีคมู่ อื หลักสตู รและแผนการสอนทจี่ �ำ เป็นทีค่ วรร้ขู องโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
2. คณะผ้ปู ฏิบตั งิ านรว่ มกันด�ำ เนินงานหลักสูตรและแผนการสอนทีจ่ �ำ เป็นท่คี วรรู้ของโครงการ SMART INSURANCE PUT-
THA MODEL
3. คณะท�ำ งานเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจทำ�งานตรงตามเปา้ หมายและมปี ระสทิ ธภิ าพตามหลกั สตู รและแผนการสอนทีจ่ �ำ เปน็ ที่
ควรร้ขู องโครงการโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
4. เกิดการเรียนการสอนวชิ าด้านการประกันภยั ตามหลักสตู รและแผนการสอนที่จ�ำ เปน็ ทีค่ วรรู้ของโครงการ SMART IN-
SURANCE PUTTHA MODEL
5. คณะครูนกั เรียนมีความรูค้ วามสามารถตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสตู รและแผนการสอนท่ีจำ�เป็นทค่ี วรรขู้ องโครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODEL

13

14

ขัน้ ตอนการสอนด้วยบันได 5 ขัน้ (QSCCS)
1)เรยี นรู้การต้งั ค�ำ ถาม สงสยั ใครร่ ู้ (Learning to Question :Q) โดยใชเ้ ทคนิค 5 w 1 H
Who ใคร (ในเร่อื งนน้ั มีใครบา้ ง)
What ท�ำ อะไร (แตล่ ะคนทำ�อะไรบา้ ง)
Where ที่ไหน (เหตกุ ารณ์หรือส่ิงท่ีท�ำ น้นั อยูท่ ีไ่ หน)
When เม่ือไหร่ (เหตกุ ารณห์ รือสงิ่ ทีท่ �ำ นัน้ ท�ำ เม่อื วนั เดอื น ปี ใด)
Why ทำ�ไม (เหตใุ ดจึงได้ท�ำ สิง่ นน้ั หรือเกิดเหตกุ ารณน์ น้ั ๆ)
How อยา่ งไร (เหตุการณห์ รือสิ่งที่ทำ�นนั้ ท�ำ เป็นอยา่ งไรบ้าง)
2) เรียนรู้การแสวงหาสารสนเทศ สบื เสาะ ค้นคว้า(Learning to Search : S)
- องคก์ รท่จี ัดใหบ้ ริการสารสนเทศแกผ่ ใู้ ช้โดยตรง เชน่ ห้องสมดุ , พิพธิ ภณั ฑ์ หอจดหมายเหตุ , และหอศิลป์
- แหล่งอ่ืนทไ่ี ม่ได้บริการโดยตรง เชน่ บุคคล สถานท่ี เหตกุ ารณ์
- แหลง่ สืบค้น Online เช่น อนิ เตอรเ์ นต็
3) เรยี นรู้เพื่อสร้างองค์ความร้ ู สรปุ (Learning to Construct : C )
3.1 แหล่งกำ�เนดิ ขององคค์ วามรู้
- ความรทู้ ี่ได้รับการถา่ ยทอดจากบุคคลอนื่
- ความรเู้ กดิ จากประสบการณ์การทำ�งาน
- ความรู้ท่ีไดจ้ ากการวิจยั ทดลอง
- ความรู้จากการประดษิ ฐค์ ิดคน้ ส่งิ ใหม่ ๆ
- ความรทู้ ี่มีปรากฏอยูใ่ นแหลง่ ความรูภ้ ายนอกโรงเรยี นและนักเรยี นไดน้ ำ�มาใช้
4) เรียนรเู้ พ่อื การสอ่ื สารส่ือสาร สมั พนั ธ์ (Learning to Communicate : C)
1. การน�ำ เสนอข้อมูลโดยรายงานวจิ ยั /บทความ ( Text Presentation)
2. การน�ำ เสนอโดยตาราง ( Tabular Presentation )
3.การนำ�เสนอดว้ ยกราฟหรือแผนภูมิ ( Graphical Presentation )
4. การน�ำ เสนอดว้ ยวาจา
5. การนำ�เสนอคลังความรู้ KM ในเวบ็ ไซต์
5). เรยี นรเู้ พือ่ ตอบแทนสังคม การใหบ้ รกิ าร (Serve : S)
1. มนษุ ยม์ รี ูปแบบการเรียนรู้ที่แตกตา่ งกัน ผสู้ อนจงึ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารสอนที่หลากหลายการพรอ้ มรับการเปล่ียนแปลงที่จะเกดิ

15

ข้ึน เพอ่ื ปรบั ตนเองในปัจจุบัน ให้พรอ้ มรบั กบั สิง่ ทีจ่ ะตามมาในอนาคตความเชือ่
2. ผเู้ รียนควรเป็นผูก้ �ำ หนดองคค์ วามรู้ของตนเอง ไมใ่ ช่น�ำ ความรไู้ ปใส่สมองผูเ้ รยี น แลว้ ใหผ้ ้เู รยี นดำ�เนินรอยตามผู้สอน
3. โลกยุคใหมต่ อ้ งการผ้เู รยี นซึง่ มวี นิ ัย มีพฤติกรรมทรี่ จู้ กั ยืดหยนุ่ หรือปรบั เปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม
4. เนอื่ งจากขอ้ มลู ข่าวสารในโลกจะทวีเพิม่ ขน้ึ เป็น 2 เท่า ทกุ ๆ 10 ปี โรงเรียนจึงต้องใชว้ ิธีสอนทห่ี ลากหลาย โดยใหผ้ ู้เรยี น
ไดเ้ รียนร้ใู นรูปแบบตา่ งๆ กัน
5. ใหใ้ ชก้ ฎเหลก็ ของการศึกษาทว่ี ่า “ระบบท่เี ข้มงวดจะผลิตคนทเ่ี ข้มงวด” และ “ระบบที่ยดื หยุน่ กจ็ ะผลิตคนท่รี ู้จกั การ
ยดื หย่นุ ”
6. สงั คม หรอื ชมุ ชนทม่ี ัง่ ค่งั ร่ำ�รวยดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสาร ท�ำ ให้การเรยี นรสู้ ามารถเกิดขึน้ ไดใ้ นหลายๆ สถานทีก่ ารพร้อมรับการ
เปลย่ี นแปลงทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ เพือ่ ปรับตนเองในปัจจบุ นั ให้พร้อมรบั กับส่งิ ที่จะตามมาในอนาคตความเชื่อ
7. การเรยี นร้แู บบเจาะลึก (deep learning) มคี วามจ�ำ เปน็ มากกวา่ การเรียนรู้แบบผิวเผนิ
8.การสอนทจี่ ัดว่ามปี ระสิทธิภาพ ตอ้ งการครูทม่ี ีคุณสมบัติมากกวา่ การเป็นผู้ท�ำ หนา้ ท่ีสอน
9. การศึกษาเล่าเรยี นในโรงเรียน (schooling) กบั การศึกษา (education) อาจไม่ใช่เรื่องเดยี วกนั
10. โลกอนาคตจะใหค้ วามส�ำ คญั กับการจดั การศึกษาทบี่ ้าน (Home – based education) มากข้นึ
การจัดการศึกษาในอนาคต
1. ผเู้ รียนเปน็ ผู้จดั การเรอ่ื งการเรยี นรขู้ องตนเอง
2. การเรียนรจู้ ะใช้ระบบเครือข่าย
3. หลักสตู รจะถูกจดั แยกเปน็ ประเภท (catalogue curriculum) (full time/รร./บ้าน) (flexi– time schooling plan)
4. มแี ผนการเรียนรูเ้ ป็นรายบุคคล (personal learning plan)
5. การเรียนรูจ้ ากคอมพวิ เตอร์จะเข้ามามีบทบาทมาก
6. ครมู ีบทบาทในฐานะเปน็ C&M
7. ระบบการประเมนิ จะหลากหลายมากขึ้น (21st Century Learning)
ทักษะเพื่อการด�ำ รงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ได้แก ่ สาระวิชาหลกั
• ภาษาแม่ และภาษาโลก
• ศลิ ปะ
• วิทยาศาสตร์
• ภูมิศาสตร์
• ประวัติศาสตร์
• คณติ ศาสตร์
• เศรษฐศาสตร์
• รฐั และความเปน็ พลเมอื งดี Them ส�ำ หรบั ศตวรรษท่ี 21
• ความรูเ้ กีย่ วกบั โลก
• ความรู้ดา้ นการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กจิ และการเปน็ ผูป้ ระกอบการ
• ความรู้ดา้ นการเป็นพลเมอื งดี

16

• ความรู้ดา้ นสขุ ภาพ
• ความรดู้ ้านสง่ิ แวดล้อมทักษะดา้ นการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม
• ความรเิ รม่ิ สร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม
• การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา
• การส่อื สารและการรว่ มมือทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
• ความรู้ด้านสารสนเทศ
• ความรู้เก่ียวกับสอ่ื
• ความร้ดู ้านเทคโนโลยที ักษะชวี ิตและอาชพี
• ความยดื หยุ่นและปรับตัว
• การริเร่มิ สรา้ งสรรค์และเปน็ ตวั ของตวั เอง
• ทกั ษะสงั คมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
• การเป็นผสู้ ร้างหรือผลติ (productivity)และความรบั ผดิ รับชอบเชื่อถอื ได้ (accountability)
• ภาวะผนู้ ำ�และความรับผิดชอบ (responsibility)สถานศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21
โรงเรียนพทุ ธชนิ ราชพทิ ยาใชข้ บวนการสอน Qsccs ศึกษาแห่งศตวรรษที่ 21 มาใชใ้ นการเรียนการสอนเพ่อื ลดระยะเวลา
การเรียนใหเ้ ร็วขนึ้ จากคำ�ถามท่นี ักเรยี นอยากรูเ้ มือ่ ตอ้ งการค�ำ ตอบสามารถสบื ค้นขอ้ มูลจากส่ืออินเติรเ์ นตได้ประหยดั เวลาชวั่ โมงการ
สอนและเรยี นรู้ดา้ นการประกันภยั อยา่ งงา่ ยๆตามลักษณะขบวนการเรียนรขู้ บวนการ Qsccs

17

1. เพ่ือสรา้ งความเข้าใจและสร้างความรู้บทบาท ภารกิจส�ำ นกั งาน คปภ.
2. เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรู้การติดต่อสำ�นักงาน คปภ.
3. เพื่อสรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรู้หนา่ ยงานที่เกีย่ ขอ้ ง
4. เพื่อสรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรจู้ กั ประกนั ภัย
5. เพอ่ื สร้างความเข้าใจและสร้างความรปู้ ระโยชนแ์ ละความสำ�คญั ของการประกนั ภัย
6. เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจและสร้างความรูร้ ปู แบบการประกันภยั
7. เพื่อสร้างความเข้าใจและสรา้ งความร้กู ารประกันชวี ติ
8. เพ่ือสร้างความเขา้ ใจและสรา้ งความรกู้ ารประกันวินาศภัย
9. เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรู้ความแตกตา่ งระหวา่ งการประกนั ชีวติ แิ ละการ
10. เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจและสร้างความรู้ ประกนั ภัยกับคณุ
11. เพอ่ื การบรหิ ารจัดการความเสยี่ งแตล่ ะชว่ งวัย
12. เพ่ือการบรหิ ารความเส่ียงในชีวิตประจำ�วัน
13. ประกนั ภยั น่ารู้ใกล้ตวั คณุ กับสทิ ธิประโยชน์การค้มุ ครอง
14. เพ่ือรู้ชอ่ งทางการซ้อื กรมธรรม์ประกันภยั
15. เพือ่ ซ้ือประกันภัยอยา่ งไรใหถ้ กู วิธี
16. เพอ่ื รู้ทนั การช่อฉลประกนั ภยั
17. เพือ่ การคุ้มครองสทิ ธิประโยชน์ของประชาชนด้านการประกนั ภัย
1. ประสานคุณครูแนะแนวเพ่อื ท�ำ ความเข้าใจเกี่ยวกบั แผนการสอน
2. เตรียมส่ือการสอน
3. ด�ำ เนนิ การสอนตามแผนที่กำ�หนด
4. บันทกึ หลงั สอน
5. ประเมินผลโดยให้นักเรียนตอบแบบทดสอบ
6. สรปุ ผลการสอน

18

1. เพือ่ สร้างความเขา้ ใจและสร้างความรบู้ ทบาท ภารกิจสำ�นักงาน คปภ.
2. เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจและสร้างความร้กู ารตดิ ต่อสำ�นกั งาน คปภ.
3. เพื่อสร้างความเข้าใจและสรา้ งความรู้หนา่ ยงานท่เี กยี่ ขอ้ ง
4. เพื่อสรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรู้จกั ประกนั ภยั
5. เพื่อสรา้ งความเข้าใจและสรา้ งความรู้ประโยชนแ์ ละความสำ�คัญของการประกันภยั
6. เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจและสรา้ งความรู้รูปแบบการประกันภยั
7. เพ่ือสรา้ งความเข้าใจและสร้างความรู้การประกนั ชีวิต
8. เพือ่ สร้างความเข้าใจและสรา้ งความรกู้ ารประกนั วนิ าศภยั
9. เพ่อื สร้างความเข้าใจและสรา้ งความรคู้ วามแตกต่างระหว่างการประกันชวี ิตแิ ละการ
10. เพื่อสรา้ งความเข้าใจและสร้างความรู้ ประกันภัยกบั คณุ
11. เพอ่ื การบรหิ ารจัดการความเสี่ยงแต่ละชว่ งวัย
12. เพื่อการบรหิ ารความเสย่ี งในชีวติ ประจำ�วนั
13. ประกันภยั นา่ รใู้ กลต้ ัวคุณ กับสิทธปิ ระโยชนก์ ารคุ้มครอง
14. เพือ่ รู้ชอ่ งทางการซ้ือกรมธรรมป์ ระกันภัย
15. เพ่อื ซ้ือประกนั ภัยอยา่ งไรใหถ้ กู วิธี
16. เพื่อรทู้ นั การชอ่ ฉลประกันภยั
17. เพื่อการคมุ้ ครองสิทธปิ ระโยชน์ของประชาชนด้านการประกนั ภยั
แผนการสอน

สแกนเพื่ออ่านแผนการสอน
สรุปผล
ไดม้ กี ารทดลองสอนส�ำ หรบั ครจู ำ�นวน 5 ท่านผลปรากฏว่าสามารถใช้น�ำ ไปสอนได้นกั เรยี นไดร้ บั ความร้ตู ามแผนท่ี
กำ�หนด

19

20

เพ่อื ทกุ คนได้มขี อ้ มูลอบรมท่ีถกู ตอ้ งและเปน็ ปจั จุบันมขี อ้ มูลประกอบการประเมินผลความรู้ความเขา้ ใจดา้ นการประกัน
ภัยเปน็ ของตนเองที่ถกู ต้องและความเช่ียวชาญของบคุ ลากรนกั เรียนในสถานศึกษาโรงเรียนต้นแบด้านการประกันภัย ใหท้ กุ คนได้
รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการใช้บรกิ ารด้านการประกันภัยสามารถบริหารความเสี่ยงการใชช้ วี ติ ลดปัญหาและเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการรจู้ กั เลือกใช้บริการด้านการประกันภยั ไดด้ ียง่ิ ข้ึน
1. เพ่อื ใหค้ รแู ละบคุ ลากรนักเรียนของสถานศกึ ษาและผู้เกยี่ วข้องทกุ คนไดม้ ขี ้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ งและเป็นปจั จบุ นั มขี อ้ มูล
ประกอบการประเมนิ ผลความรคู้ วามเข้าใจด้านการประกนั ภัยเป็นของตนเอง
2. เพอ่ื ใหค้ รแู ละบคุ ลากรนกั เรียนของสถานศกึ ษาได้รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการใชบ้ ริการด้านการประกัน
ภัย
3. เพอื่ ใหค้ รแู ละบคุ ลากรนักเรียนของสถานศึกษาสามารถบรหิ ารความเสี่ยงการใช้ชีวติ ลดปัญหาและเพ่ิมประสทิ ธิภาพการ
รู้จกั เลอื กใช้บรกิ ารด้านการประกนั ภยั ได้ดีย่ิงขนึ้
1. เสนอผอู้ �ำ นวยการจดั กิจกรรมการอบรมนักเรยี นในทุกระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ช้นั มธั ยมซึกษาปีท่ี 6
จดั ตัง้ คณะกรรมการดำ�เนนิ งานการอบรม
2. จดั ท�ำ เอกสารและPOWERPOINTเพอื่ ใช้ในการอบรมใหค้ วามร้แู ก่ครู บุคลากรและนักเรียนของโรงเรยี นพทุ ธชนิ ราช
พิทยา
3. เตรยี มอุปกรณ์ท่ีเกยี่ วขอ้ ง เช่น กระดาษ ปากกา
4. เตรยี มระบบเครอ่ื งเสยี ง
5. เตรยี มกจิ กรรมเชน่ วิธีการปรบมอื ในรปู แบบ SMART INSURANCE PUTTHA MODE
6. หนดวันเวลาการจัดอบรม
7. ประสานงานผเู้ ก่ยี วข้องดำ�เนินกิจกรรม
8. สรปุ ประเมนิ ผล

21

1. ครูและบคุ ลากรนักเรียนของสถานศกึ ษาและผู้เกย่ี วขอ้ งทกุ คนไดม้ ีข้อมูลทถี่ กู ต้องและเปน็ ปัจจบุ ันมขี อ้ มูลประกอบการ
ประเมินผลความรู้ความเข้าใจดา้ นการประกันภยั เปน็ ของตนเอง
2. ครแู ละบุคลากรนกั เรียนของสถานศกึ ษาได้รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถดา้ นการใชบ้ รกิ ารด้านการประกนั ภยั
3. ครูและบุคลากรนักเรียนของสถานศึกษาสามารถบรหิ ารความเสีย่ งการใชช้ วี ิต ลดปัญหาและเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการรจู้ ัก
เลอื กใช้บริการด้านการประกนั ภยั ไดด้ ียง่ิ ข้ึน
สรุปการเขา้ ร่วมรับการอบรมโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL จากจ�ำ นวนเต็ม 1943 เขา้ รบั การอบรม
1,900 คิดเปน็ ผู้เข้าร่วมจำ�นวนรอ้ ยละ 97.98 ถือว่านกั เรยี นไดร้ ับความรู้ดา้ นการประกนั ภยั ไม่น้อยกวา่ 90 เปอร์เซน็ ต์ของจ�ำ นวน
นักเรยี นท้ังหมด
สรปุ ผล
จดั อบรมใหก้ ับนักเรียนตั้งแตร่ ะดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ผลปรากฏว่าจากนักเรียน 1943 มา
เข้ารบั การอบรม 1900 คนนักเรียนผ่านการอบรมรอ้ ยละ 97.98

22

มธั ยมศึกษาตอนตน้
23

มธั ยมศึกษาตอนปลาย
24

องค์กรหรือเครอื ข่ายทป่ี ระสบความสำ�เร็จ เพราะได้“สร้างคน” ข้ึนมารับไม้ผลัดต่อจากคนรุ่นก่อนเพ่ือสานต่อภาระกจิ ของ
เครือข่าย จำ�เป็นตอ้ งสรา้ งผู้น�ำ รุ่นใหมอ่ ย่างต่อเนื่อง เครือข่ายต้องคดั เลือกคนท่มี ีคณุ สมบัตเิ หมาะสม ท้ังด้านความรู้ความสามารถ
การมปี ระสบการณร์ ว่ มกบั เครอื ข่ายและท่สี ำ�คญั คือเปน็ ท่ยี อมรบั นับถอื และสามารถเปน็ ศนู ย์รวมใจของคนในเครือข่ายได้ ดำ�เนิน
การใหค้ นเหลา่ นีเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมเพ่อื เพิ่มประสบการณใ์ นการทำ�หนา้ ท่เี ป็นสมาชิกแกนหลกั เพอื่ สืบสานหนา้ ทีต่ อ่ ไปเม่อื สมาชิกแกน
หลักตอ้ งหมดวาระไปโรงเรยี นพทุ ธชนิ ราชพิทยาได้มองเห็นความสำ�คัญตอ่ เนื่องในการสร้างเครอื ข่าย จึงไดจ้ ดั เชิญโรงเรียนเครอื ข่าย
และชุมชนเครือข่าย 4+1 ร่วมในการดำ�เนินกิจกรรมโรงเรยี นตน้ แบบการประกันภัย SMART INSURANCE PUTTHA MODELมาร่
วมเครือข่ายในการขยายความรสู้ ู่เยาวชนในระดบั ข้นั มัธยมตน้ และมัธยมปลายจำ�นวน4โรงเรียนเครอื ขา่ ยและชุมชนเครือขายให้ยง่ั ยื
นโดยยดึ ความรู้ความเขา้ ใจในการสรา้ งเครอื ข่ายตามรปู แบบท่ีจะกลา่ วถึง ดงั น้ี

การสรา้ งเครอื ข่าย (Networking)
ความหมาย เครือขา่ ย (Network) คือ การเช่อื มโยงของกล่มุ ของคนหรือกลมุ่ องค์กรท่ีสมคั รใจ ท่ีจะแลกเปลีย่ นข่าวสารร่วม
กนั หรือทำ�กิจกรรมรว่ มกัน โดยมกี ารจดั ระเบยี บโครงสร้างของคนในเครือขา่ ยด้วยความเป็นอสิ ระ เทา่ เทียมกันภายใตพ้ นื้ ฐานของ
ความเคารพสทิ ธิ เชื่อถือ เอ้อื อาทร ซงึ่ กนั และกนั
ประเด็นส�ำ คญั ของนยิ ามข้างต้น คือ
- ความสมั พันธ์ตอ้ งเปน็ ไปโดยสมคั รใจ
- กิจกรรมทีท่ ำ�ตอ้ งมีลักษณะเท่าเทยี มหรือแลกเปลยี่ นซ่งึ กันและกัน
- การเปน็ สมาชกิ ตอ้ งไมม่ ีผลกระทบต่อความเปน็ อิสระหรอื ความเป็นตัวของตวั เองของคนหรอื องค์กรน้ัน ๆ
การเช่ือมโยงในลกั ษณะของเครือข่าย จะต้องพฒั นาไปสรู่ ะดบั ของการลงมือทำ�กจิ กรรมร่วมกันเพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายร่วม
กนั ด้วย ดังนนั้ เครือข่ายต้องมีการจดั ระบบใหก้ ลมุ่ บุคคลหรอื องค์กรที่เป็นสมาชิกด�ำ เนนิ กจิ กรรมบางอยา่ งรว่ มกนั เพือ่ นำ�ไปสจู่ ุด
หมายท่ีเห็นพอ้ งต้องกัน ซง่ึ อาจเปน็ กิจกรรมเฉพาะกิจตามความจำ�เปน็ เม่อื ภารกิจบรรลุเป้าหมายแล้ว เครอื ข่ายกอ็ าจยุบสลายไป
แต่ถา้ มีความจำ�เปน็ หรือมีภารกจิ ใหม่อาจกลบั มารวมตัวกันได้ใหม่ หรอื จะเปน็ เครอื ข่ายท่ีด�ำ เนนิ กจิ กรรมอยา่ งต่อเนื่องระยะยาวก็ได้

องคป์ ระกอบของเครอื ขา่ ย
เครอื ข่ายเทยี ม (Pseudo network) หมายถึงเครอื ข่ายชนดิ ทเี่ ราหลงผดิ คดิ วา่ เป็นเครือขา่ ย แตแ่ ท้จรงิ แล้วเป็นแคก่ าร
ชมุ นมุ พบปะสงั สรรค์ระหว่างสมาชิก โดยทตี่ า่ งคนต่างกไ็ มไ่ ด้มเี ปา้ หมายร่วมกัน และไม่ไดต้ ัง้ ใจทจี่ ะทำ�กิจกรรมร่วมกนั เป็นการรวม
กลุม่ แบบเฮโลสาระพา หรอื รวมกันตามกระแสนยิ มที่ไมม่ วี ตั ถุประสงคช์ ัดเจน ดงั นัน้ การทำ�ความเข้าใจกบั องค์ประกอบของเครอื
ข่ายจงึ มีความสำ�คญั เพือ่ ชว่ ยใหส้ มาชิกสามารถสรา้ งเครอื ขา่ ยแทแ้ ทนการสร้างเครอื ข่ายเทียม

25

เครอื ขา่ ย (แท)้ มอี งคป์ ระกอบส�ำ คญั อยูอ่ ย่างน้อย 7 อยา่ งด้วยกนั คือ
1. มกี ารรับรู้และมมุ มองที่เหมอื นกัน (common perception)
2. การมวี ิสัยทัศนร์ ว่ มกัน (common vision)
3. มคี วามสนใจหรอื มผี ลประโยชน์รว่ มกนั (mutual interests/benefits)
4. การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ทุกคนในเครือขา่ ย (stakeholders participation)
5. มกี ารเสรมิ สร้างซงึ่ กนั และกนั (complementary relationship)
6. มีการเกือ้ หนุนพงึ่ พากนั (interdependent)
7. มีปฏสิ ัมพนั ธ์กนั ในเชิงแลกเปล่ียน (interaction)
มกี ารรับรูม้ มุ มองทีเ่ หมือนกัน (common perception)
ตอ้ งมีความรูส้ ึกนกึ คิดและการรบั รเู้ หมือนกันถึงเหตผุ ลในการเข้ามาร่วมกันเปน็ เครอื ข่าย เช่น มีความเขา้ ใจในตัวปัญหาและ
มจี ิตส�ำ นกึ ในการแกไ้ ขปญั หาร่วมกนั ประสบกับปญั หาอยา่ งเดียวกันหรอื ต้องการความชว่ ยเหลอื ในลกั ษณะที่คลา้ ยคลึงกนั ซ่งึ จะสง่
ผลให้สมาชกิ ของเครือข่ายเกดิ ความรสู้ กึ ผูกพนั ในการดำ�เนนิ กจิ กรรมร่วมกนั เพอื่ แกป้ ญั หาหรือลดความเดอื ดรอ้ นท่ีเกดิ ขนึ้
การรบั รรู้ ว่ มกันถือเป็นหวั ใจของเครอื ข่ายทท่ี �ำ ให้เครือขา่ ยด�ำ เนินไปอยา่ งต่อเนื่อง เพราะถา้ เริม่ ตน้ ด้วยการรบั รู้ทต่ี ่างกนั มี
มมุ มองหรอื แนวคดิ ทไี่ ม่เหมอื นกนั แล้ว จะประสานงานและขอความรว่ มมอื ยาก เพราะแต่ละคนจะตดิ อยใู่ นกรอบความคิดของตัว
เอง มองปญั หาหรือความต้องการไปคนละทศิ ละทาง แตท่ ัง้ นม้ี ิไดห้ มายความว่าสมาชิกของเครือขา่ ยจะมีความเหน็ ที่ตา่ งกนั ไม่ได้
เพราะมุมมองท่ีแตกตา่ งช่วยใหเ้ กดิ การสร้างสรรค์ ในการท�ำ งาน แต่ความแตกต่างนั้นตอ้ งอยูใ่ นสว่ นของกระบวนการ (process)
ภายใต้การรบั รู้ถงึ ปัญหาทสี่ มาชิกทุกคนยอมรับแลว้ มิฉะนัน้ ความเห็นทีต่ ่างกนั จะน�ำ ไปสคู่ วามแตกแยกและแตกหักในทส่ี ดุ
การมวี ิสยั ทศั น์ร่วมกัน (common vision)
วสิ ัยทศั นร์ ว่ มกนั หมายถงึ การทสี่ มาชกิ มองเหน็ จุดมงุ่ หมายในอนาคตท่เี ป็นภาพเดียวกัน มกี ารรบั รแู้ ละเข้าใจไปในทศิ ทาง
เดยี วกัน และมเี ปา้ หมายท่ีจะเดินทางไปดว้ ยกนั การมวี ิสัยทัศนร์ ว่ มกนั จะทำ�ใหก้ ระบวนการขบั เคล่อื นเกิดพลัง มคี วามเปน็
เอกภาพ และชว่ ยผอ่ นคลายความขัดแย้งอันเนอ่ื งมาจากความคดิ เหน็ ท่แี ตกตา่ งกัน ในทางตรงกนั ข้าม ถ้าวิสยั ทัศนห์ รือเปา้ หมาย
ของสมาชิกบางกลุ่มขดั แยง้ กบั วิสยั ทศั นห์ รือเปา้ หมายของเครือข่าย พฤติกรรมของสมาชกิ กลมุ่ น้นั กจ็ ะเริ่มแตกตา่ งจากแนวปฎบิ ัติ
ทสี่ มาชกิ เครอื ข่ายกระท�ำ รว่ มกัน ดังนั้น แมว้ า่ จะต้องเสียเวลามากกบั ความพยายามในการสรา้ งวสิ ัยทศั นร์ ่วมกัน แตก่ จ็ ำ�เปน็ จะตอ้ ง
ท�ำ ให้เกดิ ข้ึน หรือถา้ สมาชิกมวี ิสยั ทัศนส์ ่วนตัวอยู่แลว้ ก็ตอ้ งปรับใหส้ อดคล้องกับวสิ ยั ทัศน์ของเครอื ข่ายให้มากที่สดุ แมจ้ ะไม่ซ้อนทบั
กันแนบสนทิ จนเปน็ ภาพเดียวกัน แต่อยา่ งนอ้ ยกค็ วรสอดรบั ไปในทิศทางเดียวกัน
มีความสนใจหรอื ผลประโยชน์รว่ มกนั ( mutual interests/benefits)
คำ�วา่ ผลประโยชน์ในท่ีนี้ครอบคลุมทงั้ ผลประโยชน์ที่เป็นตัวเงินและผลประโยชนไ์ ม่ใช่ตวั เงิน ถ้าการเขา้ ร่วมในเครือข่าย
สามารถตอบสนองต่อความต้องการของเขาหรอื มผี ลประโยชน์ร่วมกัน ก็จะเปน็ แรงจงู ใจใหเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในเครือขา่ ยมากขึ้น
ดังนัน้ ในการท่ีจะดงึ ใครสักคนเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำ เนนิ งานของเครือขา่ ย จำ�เป็นต้องค�ำ นงึ ถึงผลประโยชนท์ เ่ี ขาจะได้รบั จาก
การเข้าร่วม ถา้ จะใหด้ ตี อ้ งพิจารณาล่วงหนา้ กอ่ นทีเ่ ขาจะรอ้ งขอ ลักษณะของผลประโยชนท์ ส่ี มาชกิ แต่ละคนจะได้รับอาจแตกตา่ งกนั

26

แตค่ วรตอ้ งใหท้ กุ คนและตอ้ งเพียงพอทจี่ ะเป็นแรงจงู ใจใหเ้ ขาเข้ามีสว่ นรว่ มในทางปฎิบัตไิ ดจ้ ริง ไมใ่ ชเ่ ป็นเขา้ มาเปน็ เพยี งไม้ประดับ
เนอ่ื งจากมตี �ำ แหน่งในเครือขา่ ย แตไ่ ม่ได้ร่วมปฎิบัติภาระกิจ เมื่อใดกต็ ามที่สมาชกิ เหน็ วา่ เขาเสียประโยชนม์ ากกวา่ ได้ หรอื เมอื่ เขาได้
ในสงิ่ ท่ตี ้องการเพียงพอแล้ว สมาชิกเหล่าน้นั กจ็ ะออกจากเครอื ขา่ ยไปในที่สุด
การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ทกุ คนในเครือขา่ ย (stakeholders participation)
การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในเครอื ข่าย เป็นกระบวนการท่ีส�ำ คญั มากในการพฒั นาความเข้มแข็ง
ของเครือขา่ ย เปน็ เงอ่ื นไขที่ท�ำ ให้เกดิ การร่วมรบั รู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสนิ ใจ และร่วมลงมอื กระทำ�อย่างเข้มแข็ง ดังน้ัน สถานะของ
สมาชิกในเครือข่ายควรมีความเท่าเทยี มกนั ทกุ คนอย่ใู นฐานะ “หุ้นส่วน (partner)” ของเครอื ข่าย เป็นความสัมพันธ์ในแนวราบ
(horizontal relationship) คือความสมั พนั ธฉ์ ันทเ์ พ่ือน มากกว่าความสมั พนั ธใ์ นแนวดง่ิ (vertical relationship) ในลกั ษณะเจ้า
นายลูกน้อง ซง่ึ บางคร้งั กท็ ำ�ใดย้ ากในทางปฎบิ ตั เิ พราะตอ้ งเปลี่ยนกรอบความคดิ ของสมาชิกในเครือขา่ ยโดยการสรา้ งบรบิ ทแวดล้อ
มอ่ืนๆ เข้ามาประกอบ แตถ่ า้ ทำ�ไดจ้ ะสรา้ งความเขม้ แข็งให้กบั เครอื ข่ายมาก
มกี ารเสริมสร้างซง่ึ กันและกนั ( complementary relationship)
องคป์ ระกอบทจี่ ะท�ำ ให้เครอื ขา่ ยดำ�เนนิ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื ง คอื การที่สมาชกิ ของเครอื ข่ายตา่ งกส็ ร้างความเข้มแข็งใหก้ ันและ
กัน โดยนำ�จดุ แขง็ ของฝา่ ยหนึ่งไปช่วยแกไ้ ขจดุ ออ่ นของอีกฝ่ายหน่งึ แล้วทำ�ใหไ้ ด้ผลลัพธ์เพิม่ ขึ้นในลกั ษณะพลงั ทวีคูณ (1+1 > 2)
มากกว่าผลลัพธท์ ีเ่ กิดข้นึ เมื่อตา่ งคนต่างอยู่
การเกื้อหนนุ พงึ่ พากัน ( interdependence )
เปน็ องคป์ ระกอบท่ที �ำ ใหเ้ ครือข่ายดำ�เนินไปได้อย่างต่อเนือ่ งเช่นเดียวกัน การทส่ี มาชิกเครือขา่ ยตกอยใู่ นสภาวะจ�ำ กดั ทั้ง
ดา้ นทรพั ยากร ความร้ ู เงนิ ทุน กำ�ลงั คน ฯลฯ ไมส่ ามารถทำ�งานให้บรรลเุ ป้าหมายอย่างสมบรู ณไ์ ด้ดว้ ยตนเองโดยปราศจากเครือ
ขา่ ย จ�ำ เป็นต้องพึ่งพาซง่ึ กนั และกนั ระหว่างสมาชกิ ในเครือขา่ ย การทำ�ใหห้ นุ้ ส่วนของเครอื ขา่ ยยดึ โยงกนั อยา่ งเหนียวแนน่ จำ�เป็น
ตอ้ งทำ�ใหห้ นุ้ ส่วนแต่ละคนรู้สกึ วา่ หากเอาหนุ้ สว่ นคนใดคนหน่ึงออกไปจะทำ�ใหเ้ ครอื ขา่ ยล้มลงได้ การดำ�รงอยขู่ องหนุ้ สว่ นแต่ละคน
จงึ เปน็ สง่ิ จ�ำ เป็นสำ�หรับการด�ำ รงอยขู่ องเครอื ขา่ ย การเกอ้ื หนนุ พึง่ พากันในลกั ษณะน้ีจะสง่ ผลให้สมาชิกมีปฎสิ ัมพันธ์ระหว่างกันโดย
อตั โนมัติ
มีปฎิสัมพันธใ์ นเชิงแลกเปลีย่ น ( interaction )
หากสมาชกิ ในเครือขา่ ยไม่มีการปฎิสมั พนั ธก์ ันแลว้ กไ็ ม่ตา่ งอะไรกบั ก้อนหนิ แต่ละกอ้ นท่ีรวมกันอย่ใู นถุง แตล่ ะก้อนก็อยู่
ในถงุ อยา่ งเปน็ อสิ ระ ดังนัน้ สมาชกิ ในเครือข่ายตอ้ งทำ�กิจกรรมร่วมกนั เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดการปฎสิ มั พันธ์ระหวา่ งกัน เชน่ มกี ารติดตอ่ กัน
ผ่านทางการเขียน การพบปะพูดคยุ การแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ซ่งึ กนั และกัน หรือมกี ิจกรรมประชุมสมั มนารว่ มกัน โดยทผ่ี ลขอ
งการปฎิสมั พันธน์ ต้ี อ้ งก่อใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงในเครอื ขา่ ยตามมาด้วย
ลกั ษณะของปฎิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ควรเปน็ การแลกเปลีย่ นกนั (reciprocal exchange) มากกว่าทจ่ี ะเป็นผูใ้ ห้หรอื เป็นผู้รับฝา่ ย
เดียว (unilateral exchange) ยง่ิ สมาชกิ มปี ฎสิ ัมพันธก์ นั มากเท่าใดกจ็ ะเกดิ ความผูกพันระหวา่ งกนั มากข้ึนเทา่ นั้น ทำ�ใหก้ ารเชือ่ ม
โยงแนน่ แฟน้ มากขน้ึ มกี ารเรียนรูร้ ะหวา่ งกันมากขึ้น สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั เครือขา่ ย

27

องค์ประกอบขา้ งต้นไม่เพยี งแตจ่ ะเป็นประโยชน์ในการนำ�ไปช่วยจ�ำ แนกระหวา่ งเครอื ขา่ ยแท้ กับเครือขา่ ยเทยี มเทา่ น้ัน แต่
ยังแสดงให้เห็นถึงปัจจัยท่จี ะมีผลตอ่ การเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของเครอื ข่ายดว้ ย
การกอ่ เกดิ ของเครือขา่ ย
เครือข่ายแต่ละเครอื ข่าย ต่างมจี ุดเริ่มตน้ หรอื ถูกสร้างมาด้วยวิธีการต่างๆกนั แบง่ ชนิดของเครอื ขา่ ยออกเป็น 3 ลักษณะ คอื
1. เครอื ขา่ ยทีเ่ กิดโดยธรรมชาติ
เครอื ข่ายชนิดน้มี กั เกิดจากการทผ่ี ูค้ นมใี จตรงกนั ทำ�งานคล้ายคลงึ กันหรือประสบกับสภาพปัญหาเดยี วกันมาก่อน
เข้ามารวมตวั กนั เพอื่ แลกเปลี่ยนความคดิ และประสบการณ์ รว่ มกนั แสวงหาทางเลือกใหม่ท่ีดีกวา่ การดำ�รงอย่ขู องกล่มุ สมาชิกใน
เครือขา่ ยเป็นแรงกระตนุ้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในตัวสมาชิกเอง (ฉนั ทะ) เครอื ขา่ ยเช่นน้มี กั เกดิ ขึน้ ในพืน้ ที่ อาศยั ความเป็นเครือญาติ เปน็
คนในชมุ ชนหรือมาจากภมู ลิ �ำ เนาเดียวกนั ทม่ี ีวฒั นธรรมความเปน็ อยู่คลา้ ยคลึงกนั มาอยรู่ วมกนั เป็นกลุ่มโดยจัดต้งั เปน็ ชมรมท่มี ี
กิจกรรมรว่ มกนั กอ่ น เม่อื มสี มาชิกเพิ่มขึน้ จงึ ขยายพนื้ ท่ดี �ำ เนินการออกไป หรือมกี ารขยายเปา้ หมาย/วัตถุประสงค์ ของกลมุ่ มากข้ึน
ในทสี่ ุดก็พัฒนาข้นึ เป็นเครอื ขา่ ยเพือ่ ใหค้ รอบคลุมตอ่ ความต้องการของสมาชิกไดก้ ว้างขวางข้ึน
เครอื ขา่ ยประเภทนี้ มกั ใช้เวลาก่อร่างสร้างตวั ทีย่ าวนาน แต่เม่ือเกิดขึ้นแล้ว มักจะเขม้ แขง็ ยัง่ ยนื และมีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตวั เพม่ิ ขึ้น
2. เครอื ขา่ ยจดั ตงั้
เครอื ขา่ ยจดั ต้ังมักจะมคี วามเก่ยี วพนั กับนโยบายหรอื การด�ำ เนินงานของภาครฐั เปน็ ส่วนใหญ่ การจัดตงั้ อยูใ่ น
กรอบความคดิ เดิมทีใ่ ชก้ ลไกของรัฐผลักดันใหเ้ กดิ งานที่เปน็ รูปธรรมโดยเร็ว และสว่ นมากภาคีหรือสมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมเครอื ข่ายมักจะ
ไม่ได้มีพื้นฐาน ความตอ้ งการ ความคดิ ความเข้าใจ หรือมุมมองในการจดั ตงั้ เครือข่ายทต่ี รงกันมากอ่ นท่จี ะเข้ามารวมตวั กัน เปน็ การ
ทำ�งานเฉพาะกิจชั่วคราวทีไ่ มม่ ีความตอ่ เนื่อง และมกั จะจางหายไปในที่สดุ เวน้ แต่วา่ เครอื ขา่ ยจะได้รับการชีแ้ นะทดี่ ี ดำ�เนนิ งาน
เปน็ ขน้ั ตอนจนสามารถสร้างความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ ง เกดิ เปน็ ความผูกพันระหวา่ งสมาชกิ จนนำ�ไปสกู่ ารพฒั นาเปน็ เครอื ข่ายท่แี ทจ้ รงิ
อย่างไรกต็ าม แมว้ ่ากลมุ่ สมาชกิ จะยังคงรกั ษาสถานภาพของเครอื ขา่ ยไว้ได้ แตม่ ีแนวโนม้ ทจี่ ะลดขนาดของเครอื ข่ายลงเมื่อเปรียบ
เทยี บระยะกอ่ ต้งั
3. เครอื ขา่ ยวิวัฒนาการ
เป็นการถอื ก�ำ เนดิ โดยไมไ่ ดเ้ ป็นไปตามธรรมชาตติ ง้ั แต่แรก และไม่ไดเ้ กดิ จากการจัดต้ังโดยตรงแตม่ ีกระบวนการ
พัฒนาผสมผสานอยู่ โดยเรมิ่ ท่ีกลุ่มบุคคล/องค์กรมารวมกันด้วยวตั ถปุ ระสงค์กว้างๆ ในการสนบั สนนุ กนั และเรียนรไู้ ปด้วยกนั โดย
ยงั ไมไ่ ดส้ ร้างเป้าหมายหรอื วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะท่ีชัดเจนนกั หรอื อกี ลักษณะหนึ่งคอื ถูกจดุ ประกายความคดิ จากภายนอก ไม่ว่าจะ
เป็นการได้รับฟัง หรอื การไปไดเ้ ห็นการด�ำ เนนิ งานของเครอื ขา่ ยอ่ืนๆมา แลว้ เกิดความคดิ ท่จี ะรวมตวั กนั สรา้ งพนั ธสญั ญาเป็นเครือ
ขา่ ยช่วยเหลอื และพฒั นาตนเอง เครือขา่ ยท่ีว่านแี้ มจ้ ะไมไ่ ดเ้ กิดจากแรงกระตนุ้ ภายในโดยตรงต้งั แตแ่ รก แต่ถา้ สมาชิกมีความตงั้ ใจ
จริงทเี่ กดิ จากจติ ส�ำ นกึ ที่ดี เม่อื ได้รับการกระตนุ้ และสนับสนุน ก็จะสามารถพฒั นาต่อไปจนกลายเป็นเครอื ข่ายทีเ่ ขม้ แข็งท�ำ นอง
เดียวกนั กบั เครือข่ายทเ่ี กิดขึน้ โดยธรรมชาต ิ เครือข่ายในลกั ษณะนพ้ี บเหน็ อย่มู ากมาย เช่น เครือขา่ ยผสู้ งู อายุ เครือขา่ ยโรงเรียน
สรา้ งเสรมิ สุขภาพ เป็นต้น

28

การสร้างเครอื ข่าย (Networking)
การสร้างเครอื ข่าย หมายถึงการท�ำ ให้มกี ารติดตอ่ สนับสนุนใหม้ ีการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารและการร่วมมือกนั ด้วยความ
สมคั รใจ การสร้างเครอื ขา่ ยควรสนบั สนุนและอ�ำ นวยความสะดวก ใหส้ มาชิกในเครือขา่ ยมคี วามพมั พนั ธ์กนั ฉนั ทเ์ พ่อื น ทีต่ ่างก็มี
ความเปน็ อิสระมากกว่าสรา้ งการคบคา้ สมาคมแบบพ่งึ พงิ นอกจากน้กี ารสรา้ งเครือข่ายตอ้ งไม่ใชก่ ารสรา้ งระบบติดตอ่ ด้วยการเผย
แพร่ขา่ วสารแบบทางเดยี ว เช่นการส่งจดหมายขา่ วไปใหส้ มาชิกตามรายชอ่ื แต่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารระหวา่ งกัน
ดว้ ย
ความจำ�เป็นทีต่ อ้ งมเี ครือขา่ ย
การพัฒนางานหรอื การแกป้ ญั หาใดๆทใ่ี ชว้ ิธีด�ำ เนนิ งานในรปู แบบท่ีสบื ทอดกนั เปน็ วัฒนธรรมภายในกลุ่มคน หน่วยงาน หรอื
องค์กรเดียวกัน จะมีลกั ษณะไมต่ า่ งจากการปดิ ประเทศท่ีไมม่ กี ารตดิ ตอ่ ส่อื สารกับภายนอก การดำ�เนินงานภายใตก้ รอบความคิดเดมิ
อาศยั ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีไหลเวยี นอยู่ภายใน ใช้ทรพั ยากรหรือส่ิงอ�ำ นวยความสะดวกทีพ่ อจะหาได้ใกล้มือ หรอื ถา้ จะออกแบบใหม่ก็ตอ้ ง
ใชเ้ วลานานมาก จะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอยา่ งยิง่ และไมอ่ าจแก้ปัญหาทซ่ี บั ซอ้ นได้
การสรา้ ง “เครอื ขา่ ย” สามารถช่วยแก้ปัญหาข้างตน้ ได้ดว้ ยการเปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลและองค์กรได้แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารรวม
ทง้ั บทเรียนและประสบการณก์ บั บุคคลหรือองค์กรทีอ่ ย่นู อกหนว่ ยงานของตน ลดความซำ้�ซ้อนในการท�ำ งาน ใหค้ วามรว่ มมอื และ
ท�ำ งานในลักษณะทีเ่ อ้ือประโยชน์ซ่งึ กันและกัน เสมือนการเปดิ ประตสู โู่ ลกภายนอก
ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาเครอื ขา่ ย เพื่อความยัง่ ยืน
1. สมาชกิ ทีเ่ ข้ารว่ ม ต้องเขา้ ใจเปา้ หมายในการรวมตัวกนั ว่าจะก่อใหเ้ กิดความส�ำ เร็จในภาพรวม
2. สร้างการยอมรบั ในความแตกต่างระหว่างสมาชิก ยอมรบั ในรูปแบบและวฒั นธรรมองค์กรของสมาชิก
3. มีกจิ กรรมสมำ่�เสมอและมากพอที่จะท�ำ ให้สมาชกิ ได้ท�ำ งานร่วมกนั เป็นกิจกรรมท่ตี อ้ งแน่ใจวา่ ทำ�ได้ และกระจายงานได้
ทั่วถึง ควรเลือกกิจกรรมท่ีง่ายและมแี นวโนม้ ประสบผลสำ�เร็จ อยา่ ทำ�กิจกรรมที่ยากโดยเฉพาะคร้งั แรกๆ เพราะถา้ ท�ำ ไม่สำ�เรจ็ อาจ
ทำ�ใหเ้ ครือขา่ ยทเี่ ริม่ กอ่ ตัวเกดิ การแตกสลายได้
4. จัดให้มแี ละกระตุ้นใหม้ กี ารส่อื สารระหว่างกันอยา่ งทวั่ ถงึ และสม่�ำ เสมอ
5. สนบั สนุนสมาชิกทกุ กลมุ่ และทุกดา้ นทีต่ ้องการความช่วยเหลอื เนน้ การชว่ ยเหลอื กลุม่ สมาชกิ ทีย่ ังออ่ นแอให้สามารถ
ช่วยตนเองได้
6. สรา้ งความสัมพันธข์ องบุคลากรในเครือข่าย
7. สนับสนุนให้สมาชกิ ได้พฒั นางานอยา่ งเตม็ กำ�ลงั ตามศกั ยภาพและความช�ำ นาญทมี่ ีอยู่ โดยรว่ มกันตั้งเป้าหมายในการ
พฒั นางานให้กบั สมาชิกแต่ละกลมุ่ ส่งผลให้สมาชิกแต่ละกล่มุ มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้าน เป็นพืน้ ฐานในการสรา้ งความหลาก
หลายและเข้มแข็งใหก้ บั เครือข่าย
8. สร้างความสมั พันธ์ทแ่ี นน่ แฟ้น ระหวา่ งบคุ ลากรทุกระดบั ของสมาชกิ ในเครอื ขา่ ยในลกั ษณะความสมั พนั ธฉ์ นั ทเ์ พอื่ น
9. จดั กิจกรรมให้สมาชิกใหมข่ องเครอื ข่าย เพือ่ เชอ่ื มตอ่ คนรุน่ เก่ากบั คนรนุ่ ใหมใ่ นการสืบทอดความเป็นเครือขา่ ยตอ่ ไป
10. จดั ให้มเี วทีระหว่างคนท�ำ งานเพอื่ พัฒนาหรือแก้ปัญหาในการท�ำ งานด้านตา่ งๆ อยา่ งสม่�ำ เสมอ รวมทง้ั การให้กำ�ลังใจซ่ึง
กนั และกัน

29

11. จดั ให้มชี ่องทางการท�ำ งานรว่ มกนั การส่ือสารทงี่ า่ ยตอ่ การเขา้ ถึงทท่ี ันสมัยและเปน็ ปจั จุบนั
เชน่ สร้างระบบการส่งต่องาน และสรา้ งเว็บไซต์เพ่ือเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยเข้าดว้ ยกัน
ผ้จู ดั การเครือขา่ ย
มีหนา้ ท่ใี นการดูแลรกั ษาเครือขา่ ยดังตอ่ ไปน้ี
1. ช่วยสรา้ งแรงจูงใจและกระตนุ้ สมาชกิ รวมตัวกนั ทำ�งาน โดยมีกิจกรรมเปน็ สือ่ เชน่ การประชมุ ประจำ�ปี การจดั
เวทีแลกเปลยี่ นขอ้ มูล การแก้ปญั หาร่วมกนั การวางแผนและด�ำ เนินการจัดกจิ กรรมใหม่
2. สมาชกิ แกนน�ำ ต้องเปดิ โอกาสให้มกี ารสอ่ื สารระหวา่ งกัน ส่งข่าวผ่านจดหมาย ขา่ วของเครอื ขา่ ย มกี ารแลก
เปลีย่ นขอ้ มูลระหว่างกนั เก็บรวมรวมขอ้ มูลและต้งั เป็นศนู ยข์ อ้ มลู ของเครอื ขา่ ยเพอื่ ใหส้ มาชกิ เขา้ ถึง
3. สรา้ งความรักความผกู พันและความไวเ้ นอ้ื เชอื่ ใจระหว่างคนในกลมุ่ สมาชกิ เริ่มจัดกจิ กรรมง่ายๆทม่ี ีโอกาส
ประสบความสำ�เรจ็ ร่วมกันกอ่ น มีกจิ กรรมสร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคลากรในกลมุ่ สมาชิกเปน็ ประจำ� จดั เวทีให้มีการพูดคยุ กัน
อย่างตรงไปตรงมาเมือ่ เกดิ ปญั หาขดั แย้งระหวา่ งกลุ่มสมาชิก จดั กจิ กรรมส่งต่องานทเ่ี ก่ยี วข้อง
4. จัดให้มกี ระบวนการตัดสินใจโดยใหส้ มาชกิ ทกุ กลมุ่ มีสว่ นร่วม พยายามสรา้ งสภาพแวดลอ้ มใหม้ กี ารเสนอความ
คิดเหน็ อยา่ งเปน็ อิสระ ไม่รวบอ�ำ นาจ ควรแบง่ กันเปน็ ผู้นำ�ตามความถนัด ทำ�การรวบรวมข้อมูลจากสมาชิกทุกกล่มุ ก่อนการตัดสินใจ
เพ่ือท�ำ ให้เกดิ การยอมรับและเต็มใจทีจ่ ะน�ำ ผลการตดั สนิ ใจของเครอื ข่ายไปปฎบิ ัติ
5. วางแผนในการประสานงานระหวา่ งสมาชกิ และเชอื่ มตอ่ กบั เครือข่ายอ่ืนๆ จัดระบบการประสานงานให้คลอ่ ง
ตัวและทว่ั ถึง การประสานงานถอื เปน็ หนา้ ทีห่ ลักของสมาชกิ แกนนำ� เปน็ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการสนบั สนุนทกุ ระดับใหส้ ำ�เร็จลลุ ่วงดว้ ยดี
คณุ สมบัติของกลุ่มสมาชิกแกนน�ำ
การพัฒนาสมาชิกแกนนำ�ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ จะเป็นตวั อยา่ งท่ดี ใี ห้แกก่ ล่มุ สมาชกิ เครือขา่ ยอืน่ ๆ เปน็ ที่ยอมรับและเช่ือถือจาก
คนภายนอก เป็นสิง่ จูงใจท่ที �ำ ใหค้ นภายนอกอยากเขา้ มามสี ว่ นร่วมในกิจกรรมของเครือขา่ ยมากขนึ้ สมาชกิ แกนนำ�จะต้องมีการ
พัฒนากลุม่ เพอ่ื ใหม้ คี วามเข้มแข็ง มีวุฒิภาวะสงู มคี วามเป็นทีม ประสิทธภิ าพสงู มกี ารรวมตวั ของสมาชิกในกลุ่มสงู มกี ารสอ่ื สารทว่ั
ถงึ และโปรง่ ใส มีความไวเ้ น้ือเชอ่ื ใจระหว่างสมาชิก ใชก้ ระบวนการการตดั สนิ ใจแบบให้ทกุ คนมสี ่วนร่วม เคารพความคดิ เห็นซ่งึ กัน
และกนั มีการประสานงานระหวา่ งสมาชิกให้ครบถว้ นไม่ตกหล่นและเปน็ เอกภาพ ประสานงานกับองคก์ รภายนอกเครือขา่ ยไดเ้ ปน็
อยา่ งด ี
การรกั ษาเครอื ขา่ ย
ตราบใดที่ภารกิจเครือขา่ ยยังไมส่ ำ�เร็จยอ่ มมีความจ�ำ เปน็ ที่จะตอ้ งรกั ษาเครอื ข่ายไว้ ประคบั ประคองให้เครอื ข่ายสามารถ
ดำ�เนนิ การต่อไปได้ และบางกรณหี ลงั จากเครือข่ายได้บรรลผุ ลส�ำ เร็จตามเป้าหมายแล้ว กจ็ �ำ เป็นต้องรักษาความส�ำ เรจ็ ของเครอื ข่าย
ไว้ หลกั การรักษาความสำ�เร็จของเครอื ข่าย มดี ังนี้
1. มีการจดั กิจกรรมรว่ มท่ีด�ำ เนนิ อยา่ งต่อเนอื่ ง
2. มกี ารรกั ษาสมั พนั ธภาพที่ดรี ะหวา่ งสมาชกิ เครอื ขา่ ย
3. ก�ำ หนดกลไกสร้างระบบจงู ใจ

30

4. จัดหาทรัพยากรสนบั สนนุ เพยี งพอ
5. ใหค้ วามช่วยเหลอื และช่วยแกไ้ ขปญั หา
6. มีการสรา้ งผู้น�ำ รุ่นใหม่อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
1. การจัดกิจกรรมรว่ มท่ีด�ำ เนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ือง
เครือข่ายจะก้าวไปสู่ชว่ งชวี ิตทีถ่ ดถอยหากไม่มกี ิจกรรมใดๆที่สมาชกิ ของเครือข่ายสามารถกระทำ�ร่วมกัน ท้งั นเ้ี นอ่ื งจาก
เมอื่ ไมม่ กี ิจกรรมกไ็ มม่ กี ลไกท่ีจะดงึ สมาชกิ เข้าหากนั สมาชกิ ของเครือข่ายกจ็ ะไม่มีโอกาสปฎิสัมพนั ธก์ ัน เมื่อการปฎิสัมพนั ธร์ ะหว่าง
สมาชิดลดลงกส็ ง่ ผลให้เครอื ขา่ ยเริม่ อ่อนแอ สมาชิกจะเรม่ิ สงสัยในการคงอย่ขู องเครอื ข่าย บางคนอาจพาลคิดไปวา่ เครอื ขา่ ยล้มเลกิ
ไปแลว้
ความย่ังยนื ของเครอื ขา่ ยจะเกิดขน้ึ ก็ต่อเมอื่ ได้มกี ารจดั กิจกรรมทดี่ �ำ เนินการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนกระทง่ั กิจกรรมดงั กล่าวกลาย
เป็นแบบแผน (pattern) ของการกระทำ�ทีส่ มาชิกของเครือข่ายยอมรบั โดยทวั่ กัน ด้วยเหตนุ ี้ การทจี่ ะรกั ษาเครือขา่ ยไวไ้ ดต้ อ้ งมี
การกำ�หนดโครงสร้างและตารางกิจกรรมไวใ้ หช้ ัดเจน ท้ังในแงข่ องเวลา ความถ่ี และตอ้ งเปน็ กิจกรรมที่น่าสนใจเพียงพอทีจ่ ะดงึ ดดู
สมาชิกให้เขา้ รว่ มกจิ กรรมดังกลา่ ว ไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งเปน็ กิจกรรมเดยี วทใ่ี ชส้ �ำ หรบั สมาชกิ ทุกคน ในส�ำ รวจดคู วามตอ้ งการเฉพาะของ
สมาชิกในระดบั ยอ่ ยลงไปในแต่ละคนและแต่ละกลมุ่ กล่าวคอื ควรจะมีกจิ กรรมยอ่ ยทห่ี ลากหลายเพยี งพอทจี่ ะตอบสนองความสนใจ
ของสมาชิกกลุ่มย่อยในเครอื ขา่ ยดว้ ย โดยทีก่ จิ กรรมเหลา่ นีก้ ็ยังต้องอยใู่ นทศิ ทางทจ่ี ะทำ�ใหบ้ รรลุเป้าหมายของเครอื ขา่ ย กจิ กรรม
เหลา่ นอี้ าจจัดในรูปแบบท่เี ป็นทางการ เช่น การวางแผนงานรว่ มกัน การพบปะเพื่อประเมนิ ผลรว่ มกันประจ�ำ ทุกเดอื น ฯลฯ หรือ
จัดในรูปแบบท่ไี ม่เป็นทางการ เชน่ จัดกีฬาสนั ทนาการระหว่างสมาชกิ จัดงานประเพณที ้องถิน่ ร่วมกนั เป็นต้น ในกรณที ่ีเครือข่าย
ครอบคลุมพน้ื ที่ท่ีกวา้ งขวางมาก กิจกรรมไมค่ วรรวมศนู ยอ์ ยูเ่ ฉพาะส่วนกลาง ควรกระจายจุดพบปะสงั สรรคห์ มนุ เวยี นกันไปเพื่อให้
สมาชกิ เข้ารว่ มไดโ้ ดยสะดวก
2. การรกั ษาสัมพันธภาพท่ีดีระหวา่ งสมาชกิ เครือข่าย
สัมพนั ธภาพทด่ี ีเป็นองคป์ ระกอบส�ำ คัญยิ่งในการรักษาเครอื ข่ายให้ย่งั ยืนตอ่ ไป ความสมั พันธ์ท่ีดเี ปน็ เสมือนนำ้�มันท่คี อย
หลอ่ ลนื่ การทำ�งานรว่ มกนั ใหด้ ำ�เนนิ ไปอย่างราบร่นื เมอื่ ใดท่ีสมาชกิ ของเครอื ขา่ ยเกดิ ความรู้สกึ บาดหมางไม่เข้าใจกัน หรือเกดิ ความ
ขดั แย้งระหวา่ งกันโดยหาขอ้ ตกลงไม่ได้ สมั พันธ ภาพระหวา่ งสมาชกิ กจ็ ะเรม่ิ แตกร้าว ซึ่งหากไมม่ ีการแกไ้ ขอยา่ งทนั ท่วงที ก็จะน�ำ ไป
สู่ความเส่อื มถอยและความสิน้ สุดลงของเครอื ข่ายได้ ดังน้ัน ควรมีการจดั กจิ กรรมทม่ี จี ดุ ประสงคเ์ พื่อกระชบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
สมาชิกโดยเฉพาะ และควรจดั อยา่ งสม่ำ�เสมอไม่ใชจ่ ัดในชว่ งทม่ี ีปัญหาเกดิ ขนึ้ เท่านน้ั
นอกจากนี้สมาชกิ ของเครือขา่ ยพึงตระหนักถงึ ความสำ�คัญของการรกั ษาสมั พันธภาพ เพือ่ หลกี เล่ยี งความขัดแย้งหรือความไม่เขา้ ใจ
กันทอี่ าจเกดิ ข้นึ สมาชิกควรแสดงความเป็นมติ รตอ่ กนั เมื่อเกิดความขดั แย้งตอ้ งรบี แก้ไขและด�ำ เนินการไกล่เกลี่ยให้เกดิ ความเข้าใจ
กนั ใหม่ นอกจากนี้ควรมีมาตรการป้องกนั ปัญหากอ่ นทีจ่ ะเกิดความขัดแย้งระหวา่ งกนั เช่น ในการจัดโครงสรา้ งองคก์ รควรแบ่ง
อำ�นาจหนา้ ท่ใี หช้ ดั เจน และไม่ซ้�ำ ซ้อน การก�ำ หนดเปา้ หมายการท�ำ งานท่สี มาชกิ ยอมรบั รว่ มกัน การจัดสรรทรพั ยากรอยา่ งเพียงพอ
การกำ�หนดผู้นำ�ทีเ่ หมาะสม การก�ำ หนดกตกิ าอันเป็นท่ยี อมรับรว่ มกัน เปน็ ต้น
3. การกำ�หนดกลไกสร้างระบบจูงใจ
สมาชิกจะยงั เข้ารว่ มกจิ กรรมของเครอื ข่ายตราบเทา่ ท่ียังมสี ่ิงจงู ใจเพียงพอทีจ่ ะดึงดูดใหเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ดังน้ัน จึงจ�ำ เปน็
ตอ้ งก�ำ หนดกลไกบางประการท่จี ะชว่ ยจูงใจให้สมาชิกเกดิ ความสนใจอยากเข้ามีส่วนร่วม ซึ่งตามทฤษฎแี รงจงู ใจแล้ว ปจั เจกตา่ งก็มี

31

สิ่งจูงใจทตี่ ่างกัน ดังน้ันควรทำ�การวเิ คราะห์เพือ่ บ่งชี้ถึงแรงจูงใจที่แตกตา่ งหลากหลายในแตล่ ะบคุ คล แล้วท�ำ การจัดกลุม่ ของสิง่ จูงใจ
ท่ีใกลเ้ คยี งกนั ออกเป็นกลุม่ ๆ อาทิ ค่าตอบแทน เกียรติยศช่อื เสียง การยอมรับ ฯลฯ อนั จะน�ำ ไปสมู่ าตรการในการสร้างแรงจงู ใจ
สำ�หรบั บคุ คลในแต่ละกลุ่มอย่างเฉพาะเจาะจง
ถา้ จำ�เปน็ จะตอ้ งใหค้ า่ ตอบแทนเพอื่ เปน็ สิ่งจูงใจ ควรเป็นการแลกเปลย่ี นกับผลงานมากกว่าการใหผ้ ลตอบแทนในลักษณะเหมาจา่ ย
กลา่ วคอื ผทู้ ร่ี บั ค่าตอบแทนต้องสรา้ งผลงานเพ่อื เป็นการแลกเปลย่ี น โดยผลงานที่ได้ต้องสนบั สนนุ และสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ของ
การพัฒนาเครือขา่ ย และควรมีการทำ�สัญญาเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรให้ชดั เจน เพือ่ สร้างทักษะผูกพนั ระหวา่ งผรู้ บั ทนุ และผใู้ ช้ทนุ การ
ใหค้ า่ ตอบแทนก็ไม่ควรให้ท้งั หมดในงวดเดยี ว ท้งั นเ้ี พื่อให้มีการปรบั ลดคา่ ตอบแทนไดห้ ากผรู้ ับทุนไม่ด�ำ เนินการตามสัญญา
ในกรณที ี่ตอ้ งการให้เกยี รติยศและชอื่ เสียงเป็นสง่ิ จูงใจโดยเฉพาะในงานพฒั นาสงั คมทม่ี กั จะไม่มีคา่ ตอบแทนการด�ำ เนินงาน จำ�เป็น
ตอ้ งหาส่ิงจงู ใจอน่ื มาชดเชยสงิ่ ตอบแทนทีเ่ ปน็ ตัวเงิน ตามทฤษฎขี อง Maslow ความตอ้ งการการยกย่องจากผ้อู ื่น (esteem needs)
ที่อยู่ในรูปของอำ�นาจเกยี รติยศชอื่ เสยี ง หรอื สถานะทางสงั คม เปน็ สิ่งท่ีน�ำ มาใชจ้ ูงใจได้ อาจท�ำ เปน็ รปู “สัญลักษณ์” บางอย่าง ที่
สอ่ื ถงึ การไดร้ ับเกียรตยิ ศ การยกย่องและมคี ณุ ค่าทางสังคม เชน่ การประกาศเกียรติยศ เขม็ เชิดชเู กียรติ โลเ่ กยี รตยิ ศ เปน็ ต้น โดย
สญั ลักษณเ์ หลา่ นตี้ ้องมีคุณค่าเพยี งพอใหเ้ ขาปรารถนาอยากท่ีจะได้ และควรมเี กยี รติยศหลายระดบั ท่ีจูงใจสมาชกิ เครอื ข่ายให้รว่ มมอื
ลงแรงเพือ่ ไตเ่ ต้าไปสู่ระดับท่สี งู ข้ึนตอ่ ไป ซึ่งจะช่วยใหเ้ กิดความต่อเน่อื ง และควรมีการประชาสมั พันธ์เผยแพร่รายช่อื คนกล่มุ นี้อยา่ ง
กวา้ งขวาง
4. การจัดหาทรพั ยากรสนบั สนุนอยา่ งเพยี งพอ
หลายเครือข่ายต้องหยดุ ด�ำ เนนิ การไป เน่ืองจากขาดแคลนทรพั ยากรสนบั สนุนการดำ�เนนิ งานที่เพียงพอ ทง้ั ดา้ นวสั ดุ
อปุ กรณ์ เครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ และบคุ ลากร ที่ส�ำ คญั คอื เงนิ ทุนในการด�ำ เนนิ งานซง่ึ เปรียบเสมือนเลือดทีไ่ หลเวียนหลอ่ เลี้ยงเครอื ข่าย
ให้สามารถด�ำ เนินการต่อไปได้ เมื่อขาดเงินทนุ เพียงพอทีจ่ ะจนุ เจอื เครือข่ายอาจตอ้ งปดิ ตัวลงในท่ีสุด หากได้รับการสนับสนนุ จะ
ตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบการใช้จ่ายอยา่ งรดั กุม และมีการรายงานผลเปน็ ระยะ หากการด�ำ เนนิ งานไม่คบื หน้าอาจให้ระงบั ทุนได้
5. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื และชว่ ยแก้ไขปญั หา
เครอื ข่ายอาจเกดิ ปัญหาระหวา่ งการด�ำ เนินงานได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เครอื ขา่ ยที่เพิ่งเร่ิมด�ำ เนินการใหมๆ่ การมีท่ีปรึกษาทีด่ ี
คอยใหค้ �ำ แนะน�ำ และคอยชว่ ยเหลอื จะชว่ ยให้เครอื ข่ายสามารถด�ำ เนนิ การต่อไปได้ และช่วยหนุนเสรมิ ให้ครอื ข่ายเกิดความเข้มแข็ง
ยิ่งขึ้น ควรมีที่ปรึกษาเพ่อื ท�ำ หน้าที่ช่วยเหลอื ใหค้ ำ�แนะนำ� เป็นแหลง่ ข้อมูลใหศ้ ึกษาคน้ คว้า และชว่ ยอบรมภาวะการเปน็ ผนู้ �ำ ใหก้ ับ
สมาชิกเครือขา่ ย
6. การสรา้ งผนู้ �ำ รนุ่ ใหมอ่ ย่างตอ่ เนื่อง
องคก์ รหรือเครอื ขา่ ยที่เคยประสบความสำ�เรจ็ กลบั ต้องประสบกับความล้มเหลวอยา่ งรนุ แรงเมื่อเวลาผา่ นไป เพราะไมไ่ ด้
“สรา้ งคน” ข้ึนมารับไม้ผลัดตอ่ จากคนรนุ่ ก่อนเพ่อื สานตอ่ ภาระกจิ ของเครอื ข่าย จ�ำ เป็นตอ้ งสรา้ งผ้นู �ำ รนุ่ ใหม่อยา่ งต่อเนือ่ ง เครอื
ข่ายตอ้ งคัดเลือกคนทีม่ ีคณุ สมบตั เิ หมาะสม ทงั้ ด้านความร้คู วามสามารถ การมีประสบการณ์ร่วมกับเครือข่ายและที่สำ�คัญ คอื เป็น
ทย่ี อมรบั นบั ถอื และสามารถเป็นศนู ย์รวมใจของคนในเครือขา่ ยได้ ด�ำ เนนิ การใหค้ นเหลา่ น้ีเข้าร่วมกิจกรรมเพ่อื เพิม่ ประสบการณใ์ น
การท�ำ หนา้ ท่เี ป็นสมาชิกแกนหลัก เพ่ือสบื สานหน้าทตี่ อ่ ไปเมอ่ื สมาชกิ แกนหลกั ตอ้ งหมดวาระไป

32

1. เพ่ือ “สรา้ งคน” ขน้ึ มารับไม้ผลดั ตอ่ จากคนรุ่นกอ่ น
2. เพอ่ื สานต่อภาระกิจของเครือข่าย
3. เพือ่ สรา้ งผ้นู ำ�ร่นุ ใหมอ่ ยา่ งตอ่ เน่อื ง เครือขา่ ยต้องคัดเลอื กคนทม่ี คี ุณสมบัติ
เหมาะสม ทัง้ ด้านความรู้ความสามารถ การมีประสบการณร์ ่วมกบั เครือขา่ ย
4. เพือ่ เป็นทยี่ อมรบั นับถือและสามารถเป็นศูนย์รวมใจของคนในเครือข่ายได้
ดำ�เนนิ การให้คนเหลา่ น้ีเข้าร่วมกิจกรรมเพอื่ เพ่มิ ประสบการณ์ในการท�ำ หน้าที่เปน็ สมาชกิ แกนหลกั
5. เพอ่ื สบื สานหน้าท่ตี อ่ ไปเม่อื สมาชกิ แกนหลกั ตอ้ งหมดวาระไปโรงเรียนพุทธชิน
ราชพิทยาได้มองเห็นความส�ำ คญั ต่อเนอ่ื งในการสร้างเครอื ขา่ ย
6. จัดเชิญโรงเรียนเครอื ข่ายและชุมชนเครอื ขา่ ย 4+1 ร่วมในการด�ำ เนนิ กจิ กรรม
โรงเรยี นตน้ แบบการประกนั ภยั SMART INSURANCE PUTTHA MODELมารว่ มเครือข่ายในการขยายความรู้สเู่ ยาวชนในระดับข้ันมั
ธยมต้นและมัธยมปลายจ�ำ นวน4โรงเรยี นเครือขา่ ยและชุมชนเครือขายใหย้ ั่งยืน
1. ประชมุ คณะด�ำ เนินงานระหวา่ งแกนน�ำ และคปภนอ้ ย
2. คดั เลือกชุมชนและโรงเรยี นท่ีจะเข้าร่วมโรงเรียนเครือขา่ ย 4+1 ไดแ้ ก่ ชุมชนวัดนอ้ ยพัฒนา วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา
พิษณุโลก โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาภาคเหนอื พิษณุโลก โรงเรยี นผดุงราษฎร์ วิทยาลัยเทคนิคพิษณโุ ลก
3. คัดเลอื กชุมชนที่จะเข้าร่วมชุมชนเครอื ขา่ ย 1 ชุมชนโดยเลือกชมุ ชนวดั น้อยพฒั นาเขา้ รว่ ม
4. จัดท�ำ หนังสอื เพ่อื ขอใหส้ ถานที่ต่าง ๆ เข้ารว่ มกิจกรรมโรงเรยี นต้นแบบดา้ นการประกันภยั ของโครงการ โครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODEL ในหัวข้อกิจกรรมสรา้ งเครอื ข่ายประกนั ภัยสโู่ รงเรยี นและชุมชน 4+1

33

1. “สร้างคน” ขน้ึ มารับไมผ้ ลดั ตอ่ จากคนรนุ่ ก่อน
2. านตอ่ ภาระกิจของเครือขา่ ย
3. สร้างผนู้ ำ�รนุ่ ใหมอ่ ย่างตอ่ เนอ่ื ง เครือข่ายตอ้ งคดั เลือกคนท่ีมีคุณสมบตั ิ
เหมาะสม ทัง้ ด้านความรู้ความสามารถ การมปี ระสบการณ์รว่ มกับเครอื ข่าย
4. เปน็ ที่ยอมรับนบั ถือและสามารถเปน็ ศนู ยร์ วมใจของคนในเครือขา่ ยได้
ดำ�เนนิ การให้คนเหลา่ น้เี ข้ารว่ มกจิ กรรมเพื่อเพมิ่ ประสบการณใ์ นการทำ�หนา้ ที่เปน็ สมาชกิ แกนหลัก
5. สบื สานหน้าทต่ี ่อไปเมือ่ สมาชิกแกนหลกั ตอ้ งหมดวาระไปโรงเรียนพทุ ธชนิ
ราชพทิ ยาไดม้ องเห็นความสำ�คญั ตอ่ เนือ่ งในการสรา้ งเครือข่าย
6. โรงเรียนเครือข่ายและชุมชนเครอื ข่าย 4+1 รว่ มในการดำ�เนินกิจกรรม
โรงเรยี นต้นแบบการประกนั ภัย SMART INSURANCE PUTTHA MODELมารว่ มเครือขา่ ยในการขยายความรู้สเู่ ยาวชนในระดบั ขัน้ มั
ธยมตน้ และมัธยมปลายจ�ำ นวน4โรงเรยี นเครอื ขา่ ยและชมุ ชนเครือขายให้ย่ังยืน
สรปุ ผล
สร้างเครือขา่ ยประกนั ภัยโรงเรียนและชมุ ชนไดด้ �ำ เนนิ การประสานสมั พันธ์แจ้งให้โรงเรยี นกลุ่มเปา้ หมายทั้ง 4
โรงเรยี นได้รบั ทราบท�ำ หนงั สือเชญิ เขา้ รว่ มครบท้งั 4 โรงเรยี นและอีก 1 ชุมชนซ่งึ จะด�ำ เนนิ การต่อหลังจากท่เี ราชนะเลศิ และได้รับ
รางวลั

34

35

ชมุ ชนวัดน้อยพฒั นา
36

37

โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาภาคเหนือ พิษณุโลก
38

39

วิทยาลัยเทคนิคพษิ ณโุ ลก
40

41

วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาพษิ ณโุ ลก
42

43

โรงเรยี นผดุงราษฎร์
44

ผู้ชว่ ยแกนนำ� คปภ. น้อย คือ กจิ กรรมคปภ.นอ้ ยรูห้ นา้ ทีร่ ู้รักษ์บรกิ าร โดยสร้างแกนน�ำ คปภ.น้อยจ�ำ นวน 20 คน ระดับชนั้
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ร่วมทำ�งานด้านการประกันภัยตามรูปแบบโรงเรยี นตน้ แบบด้านการประกนั ภัยโครงการ SMART INSURANCE
PUTTHA MODEL โดยใหผ้ ้ชู ว่ ยแกนน�ำ คปภ. น้อย รบั การอบรมและศึกษาดูงานดา้ นการประกนั ภยั มาใชใ้ นการใหบ้ ริการความรู้
ภายในศนู ย์การเรยี นรู้ด้านการประกนั ภัยของโรงเรียนพอุทธชินราชพทิ ยา ณส�ำ นักงาน คปภ.จงั หวดั พิษณุโลก เพอ่ื เรียนรหู้ น้าทต่ี า่ งๆ
ของเจ้าหน้าทีใ่ นส�ำ นักงานแลว้ น�ำ ความรู้มาปรับใช้ใหแ้ ก่ครู บคุ ลากรและนักเรียนในศูนยก์ ารเรยี นรูข้ องโรงเรยี นพุทธชินราชพทิ ยา
1. เพอื่ ขยายผลและจัดตงั้ ทมี งานเข้ามาชว่ ยนักเรียนแกนน�ำ ดำ�เนนิ กิจกรรมทุกๆกิจกรรม
2. เพื่อให้ผชู้ ่วยแกนนำ� คปภ. น้อย รู้หนา้ ที่รูร้ กั ษ์บริการ ด้านการประกนั ภยั ตามรปู แบบโรงเรียนตน้ แบบด้านการประกัน
ภยั โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
3. เพื่อใหน้ ักเรยี นแกนนำ�และให้ผชู้ ว่ ยแกนน�ำ คปภ. นอ้ ย รับการอบรมและศึกษาดูงานดา้ นการประกนั ภัยมาใช้ในการให้
บริการความรภู้ ายในศูนย์การเรยี นรดู้ า้ นการประกนั ภัยของโรงเรยี นพทุ ธชินราชพิทยา ณ ส�ำ นักงาน คปภ.จงั หวัดพิษณโุ ลก
1. เปิดรบั สมัครนักเรยี นผชู้ ว่ ยแกนน�ำ ผ่านระบบ ONLINE
2. นำ�เสนอแตง่ ตัง้ คณะนกั เรยี นผู้ช่วยแกนน�ำ คปภ. นอ้ ย
3. ประชมุ อบรมใความรู้หน้าที่การให้บริการของนกั เรยี นผชู้ ่วยแกนน�ำ คปภ. น้อย
4. ส่งนกั เรียนเข้ารับการอบรมความรู้ด้านการประกนั ภัยโดยนักเรยี นแกนนำ�และหน้าที่ส�ำ คญั ๆ ภายในส�ำ นกั งาน คปภ.
จังหวัดพษิ ณุโลก
5. ปฏบิ ัติหนา้ ทท่ี ีไ่ ด้รบั มอบหมายในทุก ๆ กิจกรรมท่ีเกย่ี วขอ้ งจนเสร็จสนิ้ โครงการ

45

1. มีทมี งานเขา้ มาชว่ ยนกั เรยี นแกนนำ�ดำ�เนินกจิ กรรมทุกๆกจิ กรรม
2. ผู้ช่วยแกนน�ำ คปภ. น้อย ร้หู น้าทร่ี ู้รักษบ์ ริการ ด้านการประกันภัยตามรปู แบบโรงเรยี นตน้ แบบด้านการประกันภัย
โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
3. นักเรียนแกนน�ำ และผชู้ ว่ ยแกนน�ำ คปภ. น้อย รับการอบรมและศกึ ษาดงู านด้านการประกันภยั มาใชใ้ นการใหบ้ ริการ
ความรู้ภายในศนู ยก์ ารเรยี นรดู้ ้านการประกันภยั ของโรงเรยี นพุทธชนิ ราชพทิ ยา ณส�ำ นกั งาน คปภ.จงั หวัดพิษณุโลก
4. นกั เรยี นแกนน�ำ และผ้ชู ว่ ยแกนนำ� คปภ. นอ้ ย มีความรู้ความสามารถและความเขา้ ใจในการใหบ้ รกิ ารด้านการประกันภยั
ตามบทบาทหนา้ ทข่ี องส�ำ นักงานคปภ.ระดับทอ้ งถ่นิ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและการรู้จกั เลอื กใชบ้ รกิ ารดา้ นการประกนั ภัยได้ดยี ิง่ ข้ึน
สรปุ ผล
ผชู้ ่วยแกนน�ำ คปภ. นอ้ ยเราได้นักเรยี นทเี่ ป็นผ้ชู ่วยแกนน�ำ มาเข้ารบั การอบรมใหค้ วามรูด้ า้ นการประกนั ภยั ตามหนงั สือการประกันภัยฉบับประชาชนเพอ่ื

ให้นกั เรยี นมีความรู้และน�ำ ไปถา่ ยทอดให้กบั เพอ่ื นสมาชกิ ในศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบด้านการประกันภยั ซ่ึงเรม่ิ ด�ำ เนินการได้จ�ำ นวน 11 หอ้ งเรยี นในระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1
นักเรียนมีความรู้และเข้าใจในเรื่องของการทำ�ประกันภยั คดิ เป็นรอ้ ยละ 70 ของจำ�นวนผู้เขา้ เรียนมีความสามารถตอบค�ำ ถามความรเู้ กย่ี วกบั การประกันภยั เบ้อื งต้น เช่น การนง่ั
รถอยา่ งปลอดภัยด้วยรถท่มี ี พ.ร.บ. ทุกประเภท

46

Facebook เป็นส่ือโซเชยี ลมีเดียที่ไดร้ บั ความนิยมเปน็ อนั ดับหนง่ึ และเปน็ อีกหน่งึ ช่องทางท่ีสามารถสร้างความรวดเร็วใน
การตดิ ต่อสอ่ื สาร หรอื การกระจายข้อมลู ข่าวสาร แค่เพยี งกดไลค์ หรอื กดแชร์ ข้อมลู เหล่าน้ันก็จะถกู กระจายออกไปอยา่ งงา่ ยดาย
แล้วจะมีเหตุผลอะไรท่คี ณุ จะปฏเิ สธการ สรา้ งแฟนเพจ Facebook ที่เตม็ ไปด้วยกลุ่มคนท่ีพร้อมจะสนใจ และเข้ามาเป็นสมาชิกเพ่ือ
สร้างสรรค์ความรูด้ า้ นการประกนั ภยั ในรปู แบบโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
10 ข้อดขี องการสรา้ งแฟนเพจ Facebook ทคี่ วรรู้
1. แฟนเพจคอื ช่องทางโปรโมทกจิ กรรมที่ดี
การสร้างแฟนเพจในเฟสบุ๊ค สามารถท�ำ ให้บุคคลทวั่ ไป ตลอดจนสื่อท่ีสนใจในด้านการประกันภัยของคณุ มี
โอกาสเขา้ ถึงความร้ดู ้านการประกันภัยของคณุ ไดง้ ่ายข้นึ และกลมุ่ คนเหล่านจ้ี ะเปน็ สมาชคิ ในอนาคตของคณุ การสรา้ งแฟนเพจเพือ่
โปรโมทความรดู้ า้ นการประกันภัยจของคณุ ท�ำ ไดโ้ ดยการใสข่ ้อมูลด้านการประกันภยั ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม
2. มีกลมุ่ คนเข้ามาเยี่ยมชมเวบ็ ไซต์มากขึ้น
การใส่ลิงกท์ ี่สามารถเช่อื มต่อไปยังเวบ็ ไซต์ทกุ ครง้ั ทค่ี ณุ ได้ทำ�การโพสต์ จะท�ำ ให้เว็บไซตข์ องคณุ มีผู้เข้ามาเย่ยี มชม
เพิ่มมากขึ้น เนอื่ งจากหากผอู้ า่ นเกดิ ความสนใจ หรือต้องการขอ้ มลู เก่ียวดา้ นการประกนั ภยั ของคณุ มากขึน้ ลิงก์ทค่ี ณุ ไดแ้ ทรกไป
จะสามารถตอบสนองความต้องการในการรบั รขู้ อ้ มลู ข่าวสารให้กบั กลุ่มสมาชิคของคณุ นอกจากนคี้ ณุ ยังสามารถแทรก Facebook
Widget ท่ีจะทำ�ใหผ้ ูเ้ ขา้ ชมเวบ็ ไซตข์ องคุณสามารถเข้ามาชม และกดไลค์ในหน้าแฟนเพจของคณุ ไดอ้ กี ด้วย
3. เพมิ่ ความสามารถในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODELแบบ SEO
การท�ำ SEO นั้นมหี ลายความหมาย ข้ึนอย่กู ับวา่ จะถกู พดู จากมุมมองไหน แตก่ ารท�ำ SEO สำ�หรบั แฟนเพจใน
เฟสบุ๊คนัน้ กเ็ พอื่ เพมิ่ โอกาสในการคน้ หาผา่ น Search Engine อยา่ ง Google ให้มีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ขึน้ โดยท่ีเน้อื หาของเพจ หรอื
เว็บไซตโ์ ครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL จ�ำ เปน็ จะต้องถูกกระจายออกไปใหม้ ากท่ีสดุ เพราะฉะนั้นการใชแ้ ฟน
เพจจงึ สรา้ งประโยชนใ์ ห้การใหค้ วามร้ดู ้านการประกันภัยแบบ SEO ได้ดเี ลยทเี ดยี ว
4. สร้างแหลง่ รวมตวั ของกลุม่ โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODELาได้ง่ายขึน้
อย่างทใ่ี ครหลายคนเคยกล่าวไว้ว่า เฟสบคุ๊ น้ันคอื ชุมชนขนาดใหญ่ ท่ผี ้คู นมักจะมารวมตวั กัน การสรา้ งแฟนเพจนนั้
จึงสามารถท�ำ ใหก้ ลมุ่ คนท่มี ีความชอบแบบเดยี วกนั มารวมตัวกันได้ แมจ้ ะไม่รู้จักกันมากอ่ นก็สามารถที่จะแนะน�ำ พดู คุยกนั ได้ โดย
รสู้ กึ วา่ คนทีเ่ ขา้ มาพดู คยุ ด้วยน้นั เปน็ กลุ่มคนท่มี ีความชน่ื ชอบอะไรที่เหมือนกนั เม่ือคณุ ได้ทำ�การโพสตข์ ้อมูลของโครงการ SMART
INSURANCE PUTTHA MODEL
ลงบนแฟนเพจ คณุ กส็ ามารถรบั รถู้ งึ ผลตอบรบั ของสง่ิ เหลา่ นน้ั ไดเ้ ลย

47

5. เข้าถงึ โครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODELได้งา่ ยมากกวา่ การโฆษณาทั่วไป
การสรา้ งแฟนเพจเฟสบคุ๊ นนั้ ก็จะทำ�ใหค้ ณุ เขา้ ถงึ กลุม่ สมาชคิ ของคณุ ไดง้ ่ายข้นึ เพราะคณุ สามารถทจี่ ะใชเ่ พจของ
คณุ ตอบกลบั รับสง่ ขอ้ ความของคุณไดโ้ ดยตรง ไม่วา่ จะเป็นการตอบค�ำ ถามเรือ่ งของข้อมูลโครงการ SMART INSURANCE PUT-
THA MODELและคณุ ยงั สามารถเลือกข้อจ�ำ กดั ในการส่งขอ้ ความตา่ งๆ ใหก้ ับลูกเพจของคณุ ได้ โดยการเลือกขอ้ จ�ำ กดั ของคนทีจ่ ะได้
รับข้อความไมไ่ มว่ ่าจะเปน็ การเลือกช่วงอายุ เพศ ภูมิล�ำ เนาของผรู้ ับ
6. สร้างประทับใหก้ ับกล่มุ ลกู คา้
มนุษย์เม่ือได้เจอหรอื พูดคยุ ก็มักจะเกดิ ความผูกพันกัน เชน่ เดียวกันกบั การ สร้างแฟนเพจ ในเฟสบคุ๊ เมอื่ คณุ โพสต์
ขอ้ ความไมว่ ่าจะโปรโมทโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODELหรอื จะเป็นการให้ความรู้ต่างๆ แลว้ บรรดาแฟนเพจของ
คณุ น้ันได้เขา้ มาแสดงความคิดเหน็ ไมว่ ่าจะเปน็ ความคิดเหน็ เชงิ บวก หรือเชงิ ลบ การทคี่ ณุ ไปตอบรบั ความรสู้ กึ ของบุคคลเหล่านั้น
จะท�ำ ใหเ้ กิดความรู้สกึ ประทับใจ และใกลช้ ดิ ต่อเพจของคุณมากข้นึ
7. การสร้างแฟนเพจเฟสบคุ๊ ช่วยเพ่ิมโอกาสในการบอกต่อ
แม้ผู้ทก่ี ดไลค์ หรอื กดติดตามแฟนเพจของคุณบางคนอาจจะไม่ชอบป่าวประกาศถงึ ความชอบสว่ นตัวในที่
สาธารณะ แต่ก็ยงั มผี ้ใู ช้บางกล่มุ ที่ชน่ื ชอบ การบอกตอ่ เรื่องราวดๆี ประสบการณ์ดๆี ตอ่ โครงกา SMART INSURANCE PUTTHA
MODEL และบรกิ ารท่ีไดป้ ระสบพบเจอ แม้จะไมม่ ีการให้คา่ โฆษณา แตค่ นกลมุ่ นก้ี ็พร้อมจะแชร์เรอื่ งราวท่ีไดพ้ บเจอเหล่านัน้ ออกไป
ดว้ ยความเตม็ ใจ
8. แฟนเพจสามารถส่อื ถึงพฤตกิ รรมของกลมุ่ คนเหล่านนั้ ได้ดี
ในสังคมของเฟสบุค๊ ทุกคนสามารถแสดงความคดิ เห็นต่างๆ ออกมาได้ ไมว่ ่าความคดิ เหน็ เหล่านนั้ จะออกมาในเชงิ
บวก หรือเชิงลบ คุณควรจะใช้ประโยชนจ์ ากข้อนี้ เพอื่ หาข้อมูลทที่ �ำ ให้คนกลมุ่ น้เี กิดความประทบั ใจ สิง่ ท่ีคนกลุ่มน้ีสนใจไม่วา่ จะเปน็
คณุ สมบตั ขิ องสินคา้ รปู แบบของการบรกิ ารทีต่ อ้ งการ พฤตกิ รรมการคอมเมนต์แบบนี้แหละทจี่ ะทำ�ใหค้ ุณสรา้ งสินค้าและบริการที่
ถูกใจกลมุ่ ลูกค้าของคุณออกมาไดอ้ ย่าสมบูรณ์
9. พบเครอื่ งมือทดี่ ไี ด้ในเฟสบุ๊ค
เพราะในการสร้างแฟนเพจ จะมเี คร่ืองมอื รายงานผลสถิติต่างๆ ให้คุณได้เลือกดู ไม่วา่ จะเป็นจ�ำ นวนของคนที่ได้เขา้
มาคอมเมนต์ หรอื ในการโพสตแ์ ตล่ ะครง้ั ของคณุ มียอดแชรเ์ ท่าไหร่ ช่วงอายุของแฟนเพจ เพศ ภูมลิ ำ�เนา ซึง่ ข้อมูลเหล่านี้คือ
ข้อมลู ช้นั เลิศส�ำ หรบั การวางแผน การทำ�การตลาดทดี่ ีในอนาคต
10. สร้างความได้เปรยี บคู่แขง่ ขัน
คุณลองคิดวา่ คูแ่ ขง่ ขนั ของคณุ น้นั สามารถใชแ้ ฟนเพจในการครองใจกลุ่มลูกค้าจ�ำ นวนมากไดแ้ ล้ว โดยการใหข้ ้อมูล
จัดกจิ กรรม ประชาสมั พันธส์ ิง่ ตา่ งๆ ผา่ นหนา้ เพจ มกี ารพดู คยุ สอบถามความคดิ เหน็ จนเกิดความรสู้ กึ วา่ สินค้าของค่แู ข่งนัน้ ดกี วา่
สินค้าของคุณ ที่ไมว่ า่ จะหาขอ้ มลู หรอื จะติดตอ่ น้ันก็ล�ำ บากเสียเหลอื เกิน แตใ่ นทางกลบั กนั ถา้ คณุ ไดส้ ร้างแฟนเพจเป็นของตัวเอง
แลว้ คุณก็จะไดเ้ ปรียบคแู่ ข่งขันขนึ้ มาทันที

48

1. เพอ่ื ขยายผลดำ�เนนิ กิจกรรมทกุ ๆ กิจกรรมโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEL
2. เพ่ือใหโ้ ครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODELมีพนื้ ทีก่ ารน�ำ เสนอกิจกรรมในรปู แบบของโครงการสชู่ ุมชน
ONLINE
3. เพื่อใหป้ ระชาสมั พนั ธ์ และให้ความรู้รปู แบบต่างๆทีเ่ ป็นประโยชน์ของกจิ กรรมโรงเรยี นตน้ แบบด้านการประกันภัยใน
โครงการSMART INSURANCE PUTTHA MODEL
4. เพ่อื ขยายผลและร่วมปรชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมของส�ำ นกั งาน คปภ. และสมาคมประกันวนิ าศภยั ผ้ใู หก้ ารสนับสนุนกิจกรรม
โรงเรียนต้นแบบประกนั ภยั ทเ่ี ปน็ กจิ กรรมดมี ีประโยชน์ตอ่ สงั คมไทยสืบต่อไปและย่งั ยนื
1. น�ำ เสนอกจิ กรรมเพอื่ ขออนุญาตผูอ้ �ำ นวยการโรงเรยี นพทุ ธชนิ ราชเพอ่ื ด�ำ เนนิ กจิ กรรม
2. แตง่ ตง้ั คณะนักเรียนร่วมด�ำ เนนิ งานและร่วมดูแลเพจโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEl
3. ประชุมอบรมใความรหู้ น้าทกี่ ารให้บรกิ ารของนักเรยี นผู้ช่วยแกนนำ� คปภ. นอ้ ย.ในการจัดท�ำ และดูแลเพจ
4. สง่ ข้อมูลและปรบั เปลี่ยนขอ้ มลู ดา้ นการประกนั ภัยเพอ่ื ให้ความรู้แก่สมาชิคและผสู้ นใจและนำ�เสนองานของโครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODEL ที่ด�ำ เนนิ การไปแล้วรวมถึงกจิ กรรมตา่ งๆทีเ่ กยี่ วขอ้ งดา้ นการประกนั ภัย
1. มเี พจน�ำ เสนอความรู้และกิจกรรมส่ชู ุมชนONLINE
2. มคี ณะนกั เรยี นร่วมดำ�เนนิ งานและรว่ มดแู ลเพจโครงการ SMART INSURANCE PUTTHA MODEl
3. ครู บคุ ลากร นักเรียนมคี วามร้หู นา้ ท่ีการให้บริการของนกั เรยี นผชู้ ว่ ยแกนน�ำ คปภ. นอ้ ย.ในการจัดทำ�และดูแลเพจ
4. มกี ารพัฒนาปรบั เปลยี่ นข้อมลู ด้านการประกันภัยเพ่อื ใหค้ วามรแู้ ก่สมาชิกและผสู้ นใจและน�ำ เสนองานของโครงการ
SMART INSURANCE PUTTHA MODELที่ดำ�เนินการไปแลว้ รวมถงึ กิจกรรมต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งด้านการประกนั ภยั
สรปุ ผล
นกั เรยี นเปดิ เพจใน facebook และน�ำ ความรูต้ า่ ง ๆ ท่เี กีย่ วกบั การประกันภยั น�ำ เสนอในเพจไดห้ ลากหลายมีผูเ้ ขา้
ติดตามและเข้าชมไม่ต่ำ�กวา่ 300 คนตงั้ แต่เปดิ เพจมาจนถึง ณ วนั ปจั จุบนั

49


Click to View FlipBook Version