The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IPZPREAW, 2021-03-19 02:57:49

คู่มือการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

คู่มือการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

Keywords: คู่มือการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล,การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ,ควบคุมการติดเชื้อ

Manual

การป้องกันและควบคุม
การติดเชื้อในโรงพยาบาล

คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล

Infection Control Committee

โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ

คำนำ

การติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล (Nosocomial Infection) เป็นปัญหาสำคญั ทบี่ คุ ลากรในโรงพยาบาลตอ้ ง
ตระหนัก และใหค้ วามสำคญั โดยมเี ป้าหมายเพื่อปอ้ งกันการติดเชอื้ ของผปู้ ่วย บุคลากร และลดการปนเปอ้ื น
ของเช้อื โรคในสิง่ แวดลอ้ มนอกจากน้ีการตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลยงั เป็นดัชนชี ี้วัดดา้ นคณุ ภาพของโรงพยาบาล
ดงั นน้ั การปรับปรุงคู่มอื การปฏบิ ตั ดิ า้ นการป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ใหท้ นั สมัย และสามารถนำไปปฏิบัติ
ไดจ้ รงิ จะชว่ ยลดอบุ ตั กิ ารณ์การตดิ เชอื้ ทั้งในผปู้ ว่ ย บุคลากร และสงิ่ แวดลอ้ มลงได้

คณะกรรมการป้องกนั และควบคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาล
มนี าคม 2564

สารบัญ หน้า

คำนำ 4
สารบัญ 8
14
1. การทำความสะอาดมือ 17
2. การใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกันร่างกายส่วนบุคคล 18
3. การปอ้ งกันและการควบคุมการแพรก่ ระจายเชอ้ื 20
4. วิธีการแยกและระยะเวลาในการแยกโรคตดิ เชื้อชนิดต่างๆ ท่ีสำคญั และพบบอ่ ย 20
5. มาตรการการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชือ้ วัณโรคในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์
6. การป้องกันความเส่ียงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล 23
24
- ตารางความเสย่ี งตอ่ การแพรก่ ระจายเชอ้ื และมาตรากรลดความเสีย่ งสำหรบั บคุ ลากรสู่ 26
ผูป้ ่วย และจากผปู้ ่วยสูบ่ ุคลากร 28
29
- โรคและระยะเวลาที่สามารถกลับเขา้ ทำงานได้ในบุคลากรท่ีป่วยดว้ ยโรคติดตอ่ 30
7. การปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ระบบทางเดินหายใจสว่ นล่าง 31
8. การป้องกนั การตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ ปสั สาวะในผู้ปว่ ยทค่ี าสายสวนปัสสาวะ 33
9. การปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ท่แี ผล/ แผลผ่าตัด/ แผลเย็บ 34
10. การป้องกันการติดเชอ้ื ท่ผี ิวหนังและเนื้อเย่ือช้นั ใตผ้ วิ หนงั 34
11. การปอ้ งกนั การติดเชอ้ื จากการไดร้ บั สารนำ้ ทางหลอดเลือดดำสว่ นปลาย 35
12. การจัดการสุขาภบิ าลส่ิงแวดลอ้ มในโรงพยาบาล 36
13. การปอ้ งกันการตดิ เชอื้ ในห้องปฏิบัตกิ าร 37
14. การใชย้ าตา้ นจุลชพี 38
15. การป้องกันการติดเชื้อจากศพผูป้ ่วยตดิ เชอื้ 39
16. การป้องกนั การตดิ เช้ือและการบริหารจัดการงานหนว่ ยจา่ ยกลาง
17. การป้องกนั การตดิ เชื้อและการจัดการผา้ เป้ือน 42
18. การปอ้ งกนั และควบคุมการติดเชอื้ ดา้ นโภชนาการ
19. การป้องกันการปนเปื้อนอาหารเหลว
20. การจดั การมูลฝอยตดิ เชื้อ

เอกสารอา้ งอิง

1. การทำความสะอาดมือ

การทำความสะอาดมือถอื เปน็ การปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชือ้ ในโรงพยาบาลท่ีง่ายและดที ี่สดุ เมอื่ บคุ ลากรทีมสุขภาพ
ทำความสะอาดมอื อยา่ งถกู ต้องและครบทกุ ขัน้ ตอนสามารถลดการตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล ลดอตั ราการเจบ็ ปว่ ยท่ีรนุ แรง
ลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล และลดการเสยี ชวี ิต

จุดประสงค์ไนการลา้ งมอื
1. ลดจำนวนเชื้อทีป่ นเปือ้ นบริเวณมือของบุคลากร
2. ปอ้ งกันบคุ ลากรตดิ เชอ้ื จากการสัมผสั เชื้อโรคจากผูป้ ว่ ยและสิ่งแวดล้อม
3. ปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่กระจายเช้อื โรคจากการสมั ผสั ดว้ ยมือ

ประเภทของการล้างมอื
การล้างมอื แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี
1. Normal hand washing
ฟอกด้วยสบู่ธรรมดาอย่างนอ้ ย 20 วนิ าที ลา้ งสบูอ่ อกด้วยน้ำ เช็ดแหง้ ด้วยกระดาษสะอาด

ข้อบ่งชี้ในการล้างมอื ด้วยนำ้ กบั สบูธ่ รรมดา
1. ก่อนและหลังสมั ผัสผิวหนังผู้ป่วยปกตทิ ี่ไม่มกี ารปนเปือ้ นวสั ดสุ ่ิงของท่ีตดิ เช้ือ (Infectious material)
ที่มองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปลา่ เช่น เลอื ด และหนอง เป็นตน้
2. กอ่ นปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลทัว่ ไปท่ไี ม่ต้องใชเ้ ทคนิคปราศจากเชอื้ เชน่ การวัดความดนั โลหติ
การวดั อณุ หภูมิ การจบั ชีพจร การพลิกตัว การป้อนอาหาร การใหอ้ าหารทางสายใหอ้ าหาร
และการใหย้ ารับประทาน ให้ยาทางผวิ หนงั หรอื ใหย้ าทางเย่ือบุ เปน็ ตน้
3. หลังสมั ผสั วสั ดุส่งิ ของทไ่ี ม่ตดิ เชอื้ (Non-infectious material) เช่น น้ำดื่ม อาหาร ขวดนำ้ แก้วนำ้
ถาดอาหารที่สะอาดและไม่มกี ารปนเปอ้ื นเช้อื โรค เปน็ ตน้
4. หลงั ถอดถงุ มอื กรณที ี่ผวิ หนงั ไมม่ กี ารปนเปอ้ื นวัสดสุ งิ่ ของท่ีติดเช้อื (Infectious material) ท่มี องเห็นได้
ดว้ ยตาเปล่า เชน่ เลอื ด และหนอง เป็นต้น

2. Hygienic hand washing
ฟอกน้ำยาฆา่ เชื้อ 4 % Chlorhexidine gluconate อย่างน้อย 30 วนิ าที ลา้ งดว้ ยน้ำจากก๊อกเชด็ แห้ง

ดว้ ย กระดาษสะอาด หรือในกรณีที่มอื ไมเ่ ป้ือน ใชน้ ำ้ ยาทำลายเชอ้ื ที่มีแอลกอฮอล์ (Alcohol-based product) 3 - 5 มล.
ถูมือทง้ั สองข้างใหท้ ั่ว รอจนนำ้ ยาแหง้

ขอ้ บง่ ช้ีในการล้างมอื ดว้ ยน้ำกับนำ้ ยาฆ่าเชื้อ
1. ก่อนทำกจิ กรรมท่ีต้องใชเ้ ทคนคิ ปราศจากเชอื้ หรือกิจกรรมท่ีมีการสอดใส่อปุ กรณเ์ ข้าไปในรา่ งกายผู้ปว่ ย เช่น
การใสส่ ายสวนปัสสาวะ และการเตรยี มยาฉีด เป็นต้น
2. ก่อนการสัมผสั หรอื ทำกิจกรรมกับผปู้ ่วยท่ีมภี ูมิคมุ้ กนั ต่ำ หรอื ผวิ หนังท่มี บี าดแผล เชน่ การสมั ผัสผู้ปว่ ย
ปลูกถ่ายไขกระดูก ผู้ปว่ ยมะเร็งระยะสดุ ท้าย ผ้ปู ว่ ยเอดส์ระยะสุดท้าย เปน็ ต้น
3. หลงั สมั ผสั สง่ิ สกปรกหรอื เชอ้ื โรค เช่น เลือด หนอง เสมหะ อุจจาระ เปน็ ต้น

การถมู ือด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol-based handrub)
ใชท้ ำความสะอาดมือแทนการล้างมอื ด้วยน้ำกบั สบู่หรอื นำ้ กบั น้ำยาฆา่ เช้อื ในกรณีที่มอื ไม่เปอ้ื นสิง่ สกปรก

อย่างเห็นไดช้ ัดเจน เพ่ือชว่ ยลดระยะเวลาในการเดนิ ไปทีอ่ ่างล้างมือ อา่ งลา้ งมอื / ผ้าเชด็ มอื ไมเ่ พยี งพอ ผิวแห้งและระคายเคอื ง
จงึ เป็นการอำนวยความสะดวกใหบ้ ุคลากร โดยหวงั ผลว่าทำความสะอาดมือเพิ่มข้นึ

วิธีการถูมอื ด้วยแอลกอฮอล์
การถมู ือดว้ ยแอลกอฮอล์ มีหลักการและข้นั ตอนเช่นเดียวกับการล้างมือด้วยน้ำกบั สบูห่ รอื นำ้ ยาฆา่ เช้ือ ส่วน

ข้อแตกต่างและสงิ่ ทต่ี ้องเน้นย้ำมีดังนี้
1. ใช้ทำความสะอาดมือกรณีท่มี ือไมเ่ ป้ือนสิ่งสกปรก เลือด หรือสารคัดหล่งั อย่างเหน็ ได้ชัดเจน
2. ทำความสะอาดมอื โดยใชแ้ อลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือ 3-5 มล

4

3. ถแู อลกอฮอล์ให้ทั่วฝ่ามอื หลังมือ ง่ามนวิ้ มอื นวิ้ มอื และรอบข้อมอื เชน่ เดียวกับการล้างมอื
4. รอใหแ้ อลกอฮอลร์ ะเหยจนแหง้ โดยรวมใช้เวลาประมาณ 20-30 วนิ าที
5. ห้ามใชห้ ลังเสร็จส้นิ การตรวจรักษา หรือให้การพยาบาลผปู้ ว่ ยท้องรว่ งจากการติดเชื้อClostridium difficile

3. Surgical hand washing
การทำความสะอาดมอื เพื่อการผา่ ตดั ทำได้ 2 วิธี คือ
1.1 การล้างมอื เพอื่ การผา่ ตัดดว้ ยน้ำกบั นำ้ ยาฆา่ เช้ือ (Surgical hand scrub with a medicated soap) นำ้ ยา
ที่ใช้ทำความสะอาดมือคือ 4% Chlorhexidine gluconate
หลกั การ
1) ใช้ทำความสะอาดมือเพ่ือทำผ่าตดั หรอื ทำคลอด
2) การทำความสะอาดมอื เพอื่ ผา่ ตัดรายแรกของวนั ให้ลา้ งมือด้วยนำ้ กบั น้ำยาฆา่ เชื้อ

3) หากมือเปื้อนสง่ิ สกปรกอย่างเหน็ ไดช้ ดั เจน ตอ้ งล้างมอื ด้วยนำ้ กบั นำ้ ยาฆา่ เชอ้ื
4) ใช้น้ำยาฆ่าเชอื้ ประมาณ 3-5 มล. ถูทำความสะอาดใหท้ ัว่ ฝ่ามือ หลังมือ นิว้ มือ ง่ามนว้ิ มอื ซอกเลบ็ ข้อมือ

จนถงึ ขอ้ ศอกท้ังสองข้างใช้เวลา 2-5 นาที
5) เชด็ มือใหแ้ หง้ ด้วยผ้าหรอื กระดาษเชด็ มอื ปราศจากเชือ้ เพือ่ ป้องกนั การปนเปื้อนส่ิงสกปรกให้มากท่สี ดุ
6) เปดิ -ปิดกอ๊ กนำ้ โดยใชข้ อ้ ศอก ขา เทา้ หรือระบบอตั โนมตั ิ เพ่ือป้องกนั การปนเปอ้ื น ส่ิงสกปรก และเชือ้ โรค

มาสู่มือทีท่ ำความสะอาดเรียบรอ้ ยแล้ว
7) ลา้ งนำ้ ยาฆา่ เช้อื ออกให้หมดดว้ ยน้ำสะอาด โดยให้น้ำไหลจากปลายนว้ิ มือมาทางข้อศอกเสมอ เพราะ

ตอ้ งการใหม้ ือเป็นสว่ นทส่ี ะอาดทส่ี ุด
8) เดนิ เขา้ ห้องผา่ ตดั โดยยกมือไวส้ ูงเหนือข้อศอก

3.2 การถมู ือดว้ ยแอลกอฮอล์เพ่อื การผ่าตดั (Surgical hand scrub with all alcohol-based handrub)
วิธีการ

1) ใช้ทำความสะอาดมือกรณีที่มือไม่เปื้อนส่งิ สกปรก เลือด หรือสารคัดหล่ัง อยา่ งเหน็ ได้ชดั เจนและไม่ไดเ้ ป็น
การผ่าตัดรายแรกของวนั

2) ทำความสะอาดมือโดยใชแ้ อลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ ประมาณ 6 มล.
3) ถแู อลกอฮอล์ใหท้ ั่วฝา่ มอื หลงั มือ นิว้ มอื งา่ มนิ้วมือ ซอกเลบ็ ขอ้ มอื จนถงึ ข้อศอกท้ังสองข้าง
4) รอใหแ้ อลกอฮอลร์ ะเหยจนแห้ง ซง่ึ ใชเ้ วลาทั้งสนิ้ ประมาณ 2-3 นาที

ขอ้ บ่งชีใ้ นการทำความสะอาดมอื 5 โอกาส (5 MOMENT)
1. ก่อนสัมผสั ผู้ปว่ ย

2. ก่อนทำหัตถการ
3. หลังสัมผสั เลอื ดหรือสารคัดหลงั่ จากรา่ งกายผ้ปู ว่ ย
4. หลงั สัมผัสผูป้ ว่ ย

5. หลงั สมั ผัสอุปกรณห์ รอื สิ่งแวดล้อมรอบตวั ผู้ปว่ ย

ข้อบง่ ชใ้ี นการทำความสะอาดมอื กิจกรรม
กอ่ นสัมผัสผูป้ ่วย
- กอ่ นพลกิ ตะแคงตวั กอ่ นช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน เชน่ อาบน้ำ สระผม เชด็ ตวั
แปรงฟนั เปลีย่ นผา้ ปูทนี่ อน ปอ้ นอาหาร ป้อนยาชนิดรับประทาน

- ก่อนทำกจิ กรรมการรกั ษาพยาบาล เช่น การวัด Vital signs และทำ EKG
- กอ่ นใส่ถงุ มือทำกิจกรรมกอ่ นสัมผสั ผปู้ ่วย

กอ่ นทำหตั ถการ - ก่อนเตรียมยา หยอดตา ดูดเสมหะ ก่อนทำแผล ก่อนคาสายสวนหลอดเลอื ด

- การใส่สายให้อาหาร NG tube การใส่สายสวนปัสสาวะ Urinary catheter
การเจาะเลอื ด

- ก่อนใส่ถุงมอื ทำหตั ถการสะอาดทกุ หตั ถการ

5

ขอ้ บ่งช้ีในการทำความสะอาดมอื กจิ กรรม
หลังสัมผัสเลือดหรอื สารคัดหลัง่ จาก
รา่ งกายผู้ป่วย - หลงั สัมผัสผิวหนงั ทม่ี ีแผลของผปู้ ่วย หลงั ฉดี ยา หลงั คาสายสวนหลอดเลือด
- หลังทำหตั ถการ ตา่ งๆ เชน่ การใส่ Urinary catheter, NG tube
หลังสมั ผัสผู้ปว่ ย - หลังสัมผัสอุปกรณท์ ่อี าจปนเปอ้ื นส่ิงคัดหลง่ั หรือของเสียจากร่างกายผปู้ ่วย เช่น

หลังสมั ผสั อุปกรณห์ รือสิ่งแวดลอ้ ม หม้อนอน กระโถน กระบอกรองปสั สาวะ ฟันปลอม นำ้ ลาย
รอบตวั ผู้ปว่ ย - หลังถอดถุงมือทุกหัตถการ

- หลงั พลกิ ตะแคงตัว หลงั ชว่ ยเหลอื กิจวัตรประจำวนั เช่น อาบนำ้ สระผม เช็ดตัว
แปรงฟัน เปล่ยี นผา้ ปูท่นี อน ป้อนอาหาร ปอ้ นยาชนิดรบั ประทาน

- หลงั ทำกิจกรรมการรักษาพยาบาล เช่น การวดั Vital signs และทำ EKG
- หลงั ถอดถุงมอื ทำจกิ รรมสัมผัสผูป้ ่วย

- หลังเข้าสมั ผสั วัสดุอปุ กรณ์ หรอื เฟอรน์ ิเจอรท์ อี่ ยู่ในบรเิ วณสง่ิ แวดล้อมของผปู้ ่วย
เช่น ราวกนั้ เตียง ตู้หรอื โตะ๊ ข้างเตยี งผู้ปว่ ย ลูกบดิ ประตู เตยี ง เก้าอ้ี ผ้ามา่ น ไม่ว่า
จะสมั ผัสหรือไม่สมั ผสั ผ้ปู ่วยกต็ าม

- หลังถอดถุงมอื ท่ีสัมผัสสง่ิ แวดลอ้ มรอบตัวผู้ป่วย

ขั้นตอนการลา้ งมอื อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบดว้ ยการล้างมือ 7 ข้ันตอน ดังนี้
ใส่นำ้ ยาทำความสะอาดมือท่ีมสี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์ หรอื สบู่หรอื น้ำ ยาฆ่าเช้ือ ลงบนฝ่ามอื

1. ฟอกฝา่ มือถูกัน 2. ฟอกฝ่ามอื และง่ามนิ้วมอื ดา้ นหน้า

3. ฟอกหลงั มือ และง่ามนิว้ มือด้านหลัง 4. ฟอกนิ้วมอื และขอ้ น้วิ ด้านหลงั

5. ฟอกนว้ิ หัวแม่มือ 6. ฟอกปลายนิว้ มือและเส้นลายฝา่ มือ

7. ฟอกรอบขอ้ มือ

ทกุ ขัน้ ตอนถู 5 ครั้ง
โดยทำสลบั กนั ทงั้ 2 มือ ทกุ ข้ันตอน

6

หลักสำคญั ในการลา้ งมือ
1. เลบ็ มือควรตดั ให้สน้ั ถ้าเลบ็ ยาวจะลา้ งสิ่งสกปรกและเชือ้ โรคออกจากมือได้ยาก
2. กอ่ นล้างมอื ควรถอดแหวน นาฬิกาออก เพ่ือให้การลา้ งมืองา่ ยและสะดวก ไม่เป็นท่ีสะสมเชื้อโรค
3. อ่างทีใ่ ช้ล้างมือไม่ควรอยู่สูงหรอื ตำ่ เกินไป และควรมีความลกึ พอเพ่ือกนั การกระเด็นของน้ำ
4. ถ้าใชส้ บกู่ ้อน ควรลา้ งผา่ นน้ำก่อนใชแ้ ละก่อนเก็บ เพ่อื ปอ้ งกนั เชือ้ โรคติดคา้ งสบู่
5. กรณีมือสกปรกมาก ควรล้างมอื 2 ครัง้ โดยครัง้ แรกลา้ งเอาสิง่ สกปรกออกจากมอื และลา้ งอีกคร้งั โดยฟอกสบู่
ให้ครบท้งั 6 ขน้ั ตอน
6. เม่ือลา้ งมอื เสร็จควรตรวจดวู า่ มบี าดแผลบริเวณมือหรอื ไม่ เพือ่ จะได้แกไ้ ข
7. ภายหลังล้างมือควรเช็ดมอื ให้แหง้ จะชว่ ยขจดั เชอ้ื โรคท่ีตดิ ค้างอยบู่ นมือออก ท้งั นี้มอื ทเ่ี ปยี กจะสามารถนำพา
เชอื้ โรค ทำใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายเช้อื ได้ดีกว่ามอื ที่แหง้
8. กรณที ีก่ อ๊ กนำ้ เป็นชนดิ มือหมนุ ควรใชก้ ระดาษเช็ดมือ หรือผา้ เช็ดมอื จับก๊อกน้ำในการปดิ น้ำ เพ่อื ปอ้ งกัน
การปนเปื้อนของมือภายหลงั ล้างมอื แลว้

7

2. การใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกนั รา่ งกายสว่ นบุคคล
(Personal Protective Equipment, PPE)

การใช้อุปกรณ์ป้องกนั ร่างกายสว่ นบุคคลท่เี หมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยใช้อย่างถกู วิธี จะช่วยลดความเสี่ยง
ต่อการตดิ เช้ือจากการปฏบิ ัตงิ าน โดยพจิ ารณาตามความเส่ยี งทจี่ ะสัมผัสส่งิ ปนเปื้อน โดยพิจารณา ดงั นี้

1. Very high หมายถึง พบเชอื้ โรคจำนวนมากทส่ี ุด ซึง่ มีเพยี งอยา่ งเดียว คอื CSF
2. High หมายถึง พบเชอ้ื โรคจำนวนมาก ไดแ้ ก่ เลือด semen, synovial fluid, amniotic fluid, pericardial fluid
3. Moderate หมายถึง พบเช้อื ปานกลาง ได้แก่ vaginal fluid, cervical secretions และน้ำนม
4. Very low หมายถึง พบเชอื้ โรคน้อยมาก ไดแ้ ก่ นำ้ ตา นำ้ ลาย ปสั สาวะ อจุ จาระ ส่ิงคัดหลั่งจากจมูก เสมหะ เหงอ่ื

อาเจยี น โดยสิง่ คดั หลั่งเหล่านต้ี อ้ งไมม่ เี ลอื ดหรอื หนองเจือปน

หลักการเลือกอปุ กรณ์ป้องกันรา่ งกายสว่ นบคุ คล มีดังน้ี
1. ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกันรา่ งกายเทา่ ท่จี ำเปน็
2. เลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกบั งาน เช่น สวมถุงมอื สะอาดเมือ่ เจาะเลอื ด และสวมถุงมอื ยางอยา่ งหนาเมอ่ื ล้างเครื่องมือ
3. ให้ใช้เฉพาะภารกิจเดยี ว เมื่อเสรจ็ แล้วให้ถอดหรอื ปลดออกทันที
4. เลือกใชอ้ ปุ กรณป์ ้องกันร่างกายสว่ นบคุ คลทีค่ ุณภาพดแี ละประหยัด

อปุ กรณป์ อ้ งกันร่างกายส่วนบคุ คลทีใ่ ช้ในโรงพยาบาล มดี ังนี้ ถงุ มอื (Gloves) ผ้าปดิ ปาก-จมูก (Mask) เส้อื คลุม (Gown)
ผ้ากนั เป้ือน (Apron) แวน่ ป้องกันตา (goggles) หน้ากากปอ้ งกนั หนา้ (face shield)
หมวก (Cap) และรองเทา้ บทู๊ (Boots)

ถุงมอื (Gloves)

ถุงมือเปน็ อปุ กรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่ใช้มากทีส่ ุด เหตผุ ลการใช้ถงุ มอื มี 3 ประการ คอื
1. ปอ้ งกนั มือของบุคลากรไมใ่ ห้ปนเปอื้ นเชอ้ื จากการสมั ผัสเลอื ดและสิง่ คัดหลั่งตา่ งๆ ของผปู้ ่วย หรอื ผวิ หนังท่ีมีแผล
หรือเยอ่ื บผุ ิวตา่ งๆ ของผปู้ ว่ ย
2. ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชอ้ื จากมือบุคลากรสู่ผู้ป่วยขณะทำหัตถการ
3. ลดการแพรก่ ระจายเชื้อจากมือบคุ ลากรท่ีปนเปือ้ นเช้อื จาก ผูป้ ่วยแลว้ แพร่กระจายไปส่ผู ปู้ ว่ ยอ่นื และสิง่ แวดลอ้ ม

หลกั การใช้ถงุ มือสะอาดและถุงมอื ปราศจากเชอ้ื
1. ถอดถงุ มอื ทันทีหลงั ทำการพยาบาลหรอื หตั ถการผู้ป่วย (หา้ มสมั ผสั สงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั ผู้ปว่ ย) และทง้ิ เปน็ ขยะติดเชอื้
2. หลังการใช้ถงุ มอื กับผปู้ ่วยแลว้ ระมดั ระวังไม่ใหใ้ ช้ถุงมอื น้นั สัมผสั ตัวเอง สงิ่ แวดลอ้ ม บคุ คลอ่ืน และรอบตัวผ้ปู ่วย เช่น
ผา้ มา่ น ราวกัน้ เตียง ลูกปดิ ประตู เปน็ ต้น
3. ห้ามใช้ถุงมือคู่เดยี วในการให้การพยาบาลผูป้ ว่ ยหลายคนหรอื หลายกิจกรรม ให้ใชถ้ ุงมือคู่ใหม่ในการดูแลผู้ปว่ ยราย
ใหม่
4. ไมค่ วรลา้ งมอื ขณะสวมถุงมอื เพื่อใช้กบั ผู้ปว่ ยรายใหม่
5. การถอดถุงมือตอ้ งระวังไม่ใหม้ ือสมั ผสั กบั สิง่ ที่ปนเป้ือนบนถงุ มอื
6. ล้างมือทันทที ่ีถอดถุงมือ เพราะการใช้ถงุ มอื ไมไ่ ดแ้ ทนการล้างมอื

หลักการใชถ้ ุงมอื ยางหนาหรอื ถุงมอื แมบ่ า้ น
1. ถอดถงุ มือทกุ ครั้งกอ่ นท่จี ะจับผา้ ม่าน ราวกั้นเตียง ลูกบดิ เปดิ หรอื ปิดประตูห้องผปู้ ว่ ย หรือสัมผสั สง่ิ แวดล้อมอ่ืน ๆ
ทีน่ อกเหนอื จากกจิ กรรมทำความสะอาด
2. เมอ่ื เสร็จกจิ กรรมแล้วลา้ งถุงมอื ดว้ ยนำ้ และสบู่หรอื ผงซักฟอก แลว้ นำถุงมือไปตากให้แห้งทงั้ ดา้ นนอกและด้านใน
ก่อนนำมาใชใ้ หม่
3. ลา้ งมอื ทนั ทีทถี่ อดถุงมอื เพราะการใช้ถงุ มือไมไ่ ด้แทนการลา้ งมือ

ขอ้ พงึ ตระหนัก
1. การถอดถงุ มือต้องระวังไมใ่ ห้มือสัมผสั กับสง่ิ ท่ีปนเปอ้ื นบนถุงมือ
2. ลา้ งมือทนั ทีทีถ่ อดถุงมอื เพราะการใช้ถุงมอื ไม่ไดแ้ ทนการล้างมือ

8

ผ้าปิดปาก - จมกู (Mask)

วัตถุประสงค์ในการใช้ ดังน้ี
1. ป้องกนั การตดิ เชื้อโรคทีแ่ พรก่ ระจายทางระบบทางเดนิ หายใจจากจมูกและปากของผสู้ วมใสส่ ผู่ ้ปู ว่ ยหรอื คนท่ี
อยู่ใกล้เคยี ง
2. ป้องกนั การติดเชื้อโรคทแ่ี พร่กระจายทางระบบทางเดนิ หายใจจากผู้ป่วยสบู่ ุคลากร ผู้ปว่ ยอน่ื และญาติ
3. ปอ้ งกันเลือดหรอื สิง่ คดั หลั่งในรา่ งกายผูป้ ่วยกระเดน็ เข้าปากและจมกู ของบุคลากร

การเลือกใช้ผา้ ปดิ ปาก – จมกู ชนิดตา่ ง ๆ

1. ผ้าปิดปาก – จมูกชนดิ ธรรมดา (Surgical mask) มี 2 ชนดิ คือ ชนดิ ท่ีทำจากผา้ และทำจากใยสังเคราะห์

ขอ้ บง่ ชีก้ ารใช้ ดังน้ี
- ให้การพยาบาลผูป้ ว่ ยติดเช้อื ที่แพรก่ ระจายทางละอองฝอยขนาดใหญ่
- ให้การพยาบาลผู้ปว่ ยทอี่ าจมกี ารกระเด็นของเลือดและสิง่ คัดหลัง่ ของผปู้ ว่ ย
- ทำหัตถการต่างๆ เชน่ ผ่าตดั ใส่สายสวนหลอดเลอื ดดำสว่ นกลาง หรอื ใส่สายสวนปัสสาวะและเจาะไขกระดกู

เป็นตน้ กรณีที่ใช้ในหอ้ งผ่าตดั ผ้าปดิ ปากและจมูกตอ้ งปราศจากเชื้อ
- สำหรบั ผูป้ ว่ ยท่มี ภี ูมิตา้ นทานต่ำหรืออยู่ในสภาวะท่ีสามารถแพรก่ ระจายเชอื้ ทางละอองฝอยของน้ำมูกน้ำลาย

วธิ ีปฏิบตั ิ การใชผ้ า้ ปิดปากและจมูกชนดิ สะอาด
1. ล้างมือก่อนใสผ่ า้ ปิดปากและจมูก
2. การใส่ให้เลือกดา้ นที่มวี ัสดกุ นั ความชืน้ ไว้ด้านหน้า โดยใหส้ ่วนทีม่ ีขอบแขง็ ไวต้ รงสนั จมูก แล้วกดให้แนบสนทิ

กับสนั จมกู ดงึ สายรัดเส้นบนไปดา้ นหลังศรี ษะสายรัดเสน้ ลา่ งดึงไปรดั บรเิ วณตน้ คอ
3. ให้เปลยี่ นใหม่เมื่อ เป้ือน สกปรก หรอื ชนื้ แฉะ
4. ตอ้ งล้างมือภายหลังถอดผา้ ปิดปากและจมูกทุกครั้ง

2. ผา้ ปิดปาก – จมกู ชนิดกรองเชอื้ โรค หรอื Particular respirator (N95) เป็นอปุ กรณ์ป้องกนั การตดิ เชอ้ื ในระบบ
ทางเดินหายใจทำด้วยแผ่นกรองอย่างละเอียด มรี ะสทิ ธภิ าพการกรองฝุน่ ละออง ควัน อนภุ าค รวมทงั้ เช้อื จลุ ชพี ทม่ี ขี นาด ตั้งแต่
0.3 ไมครอนไดถ้ งึ ร้อยละ 99.97 เป็นอุปกรณ์เฉพาะสว่ นบุคคลทใี่ ชแ้ ลว้ ทิ้ง (Disposable) แต่สามารถใชไ้ ด้หลายครง้ั จนกว่า
รูปทรงเปลีย่ นไป หรอื เป้ือนสิ่งสกปรก หรือมีฝุ่นละอองจบั ภายในแผ่นกรองจนหายใจไมส่ ะดวกขณะสวมใส่ จึงควรเปลย่ี นใหม่

ขอ้ บง่ ชี้การใช้ ผา้ ปดิ ปากและจมูกชนดิ กรองพิเศษ
1. บคุ ลากรทตี่ ้องดูแลผ้ปู ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคหรือสงสัยวา่ เปน็ โรคทส่ี ามารถแพร่กระจายเชอ้ื ทางอากาศ ในห้องแยก

หรอื ห้องแยกที่ติดเคร่อื งปรับอากาศ
2. ถา้ ผ้ปู ว่ ยสงสยั วา่ เป็น pulmonary TB และตอ้ งตรวจวนิ จิ ฉยั ซงึ่ มโี อกาสทำให้แพร่กระจายเชื้อไปสบู่ คุ ลากร

ได้ เช่น การทำ Bronchoscope การใส่ท่อชว่ ยหายใจ การดูดเสมหะ เป็นต้น

การเลิกใช้ ผ้าปิดปากและจมกู ชนดิ กรองพเิ ศษ
1. ผา้ ปดิ ปากและจมูกชนิดกรองพิเศษ เม่อื ใหก้ ารดูแลผ้ปู ่วย pulmonary TB จนกวา่ ผลการตรวจเสมหะด้วย

การย้อม AFB เปน็ ผลลบตดิ ต่อกัน 3 วนั หรอื ผูป้ ว่ ยได้รบั การรักษาด้วยยาต้านวัณโรค ครบ 2 สปั ดาห์ และ
ไม่พบว่ามอี าการของระบบทางเดินหายใจ เชน่ ไอ เป็นต้น
2. ถา้ สงสยั วา่ ผปู้ ่วยเปน็ pulmonary TB ให้บคุ ลากรใสผ่ า้ ปดิ ปากและจมกู ชนิดกรองพิเศษ จนกวา่ ผล AFB
เปน็ ผลลบติดต่อกนั 3 วัน
3. ในกรณที ่เี ป็นโรคอื่นทต่ี อ้ งใสผ่ า้ ปดิ ปากและจมกู ชนิดกรองพเิ ศษ ให้ใส่จนกว่าผู้ปว่ ยไม่สามารถแพรก่ ระจาย
เช้อื ทางอากาศได้

9

วิธีการสวมใส่ผา้ ปดิ ปาก-จมูกชนดิ กรองพเิ ศษ N95 รนุ่ 1870

1. เมือ่ นำ Respirator ออกจากซอง ใหเ้ อาด้านทม่ี ีสาย 2. คลี่ Respirator ออกโดยดงึ ด้านบนและดา้ นลา่ งพร้อม
รัดอยดู่ า้ นบน และดงึ สายรัดเสน้ ล่างให้มาชดิ ขอบด้านล่าง กบั สายรดั ในแต่ละด้านให้แยกจากกนั จากน้ันใช้

น้วิ หัวแม่มอื ดดั กง่ึ กลางของแผน่ โลหะใหโ้ คง้ ข้ึน

2. สวม Respirator เขา้ กับใบหนา้ โดยใหก้ ง่ึ กลางของ 3. ดงึ สายรดั เสน้ ทอ่ี ยบู่ นสันจมูก ขน้ึ เหนือศรี ษะพาดเฉยี ง
แผน่ โลหะอยู่บนสันจมกู และช้นิ สว่ นด้านลา่ งคลมุ ใต้คาง เหนอื ใบหูไปทางดา้ นหลัง สว่ นเสน้ ใต้คางให้ดงึ ข้ึนเหนอื
ศีรษะ คอ่ มสายรดั เส้นบนไปวางไวใ้ ต้ใบหู

4. ปรบั Respirator ใหพ้ อดีกับใบหนา้ โดยดึงให้คลมุ สัน 5. ใชป้ ลายนวิ้ ของมือทัง้ สองขา้ งรีดแผ่นโลหะให้แนบกับ
จมกู และใตค้ าง รวมทัง้ ปรับสายรัดทศ่ี ีรษะใหเ้ หมาะกบั ผู้ สันจมกู
สวมใส่

10

วิธกี ารสวมใสผ่ า้ ปดิ ปาก-จมกู ชนดิ กรองพิเศษ N95

1. ประกบ Respirator เข้ากบั ใบหนา้ ให้แถบอลูมิเนยี ม 2. ดงึ สายรดั เสน้ บนไปทางดา้ นหลงั ศรี ษะโดยพาดเฉยี ง

อยบู่ นสันจมกู และส่วนล่างคลมุ คาง เหนอื ใบหู

3. ดงึ สายรดั เสน้ ล่างไปรัดบรเิ วณตน้ คอ จัดสายรัดให้ 4. ใช้น้ิวของมอื ทง้ั สองข้างรดี แถบอลมู เิ นยี มให้แนบกบั
เรียบรอ้ ย สนั จมูก เพ่ือความแนบสนทิ

การตรวจสอบความกระชับแนบสนทิ (Fit check)

การตรวจสอบความกระชับแนบสนทิ ตอ้ งทำทกุ ครั้งเมือ่ สามใสผ่ า้ ปิดปาก-จมูกชนดิ กรองพเิ ศษ โดยใช้มือทง้ั 2 ข้าง
กดรอบ ๆ หนา้ กาก หายใจออกแรง ๆ

▪ ถ้าสวมใสแ่ นบสนิทดจี ะไมม่ ีอากาศรวั่ ไหลออกทางขอบหน้ากาก และจะรูส้ ึกหายใจอึดอดั
▪ ถา้ มีอากาศร่วั ออกทางขอบหนา้ กากใหร้ ัดแถบอลูมิเนียม หรือปรบั ตำแหน่งของหนา้ กากใหม่ หรอื ดงึ สายรัด

ใหก้ ระชบั มากขน้ึ จากน้ันตรวจสอบความกระชบั แนบสนทิ อกี ครัง้

ข้อบง่ ใช้
- สำหรับเจา้ หน้าท่ีท่ใี ห้การดแู ลผูป้ ว่ ยโรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลันรนุ แรง ไข้หวดั นก และวัณโรคที่เสมหะมผี ลบวก
และยงั ไมไ่ ด้รักษา
- สำหรับเจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งตรวจผปู้ ่วยและห้องปฏบิ ตั ิการตรวจเชื้อวัณโรค
- สำหรับเจ้าหนา้ ที่ที่ทำหตั ถการ ท่อี าจมีการแพร่กระจายเช้อื ทส่ี ามารถติดต่อไดท้ างอากาศ (Airborne)

การปฏบิ ตั ิเม่อื ใชผ้ า้ ปดิ ปาก-จมกู ชนิดกรองพิเศษ
- เปล่ยี นผ้าปิดปาก-จมูกชนดิ กรองพิเศษใหม่ทนั ทีเมอ่ื เปื้อนหรอื ชื้นแฉะ
- ใช้เฉพาะบคุ คล
- ภายหลังการใชแ้ ละต้องการเกบ็ ไวใ้ ชใ้ หม่ต้องระวงั การปนเปอ้ื นเช้ือโรคโดยเฉพาะส่วนที่สัมผัสกบั อากาศภายนอก
รวมทั้งไมห่ กั /พบั /งอ เนอื่ งจากทำใหเ้ สียรูปทรงและเกิดรอยยับซงึ่ จะทำใหป้ ระสิทธิภาพในการกรองเชือ้ โรคลดลง
- ล้างมอื ก่อนสวมใสแ่ ละหลงั ถอดทุกคร้ัง
- การไอ จาม หรอื พุดคยุ ขณะสวมใส่ผ้าปดิ ปาก-จมูกชนดิ กรองพิเศษอาจทำให้อากาศภายนอกรวั่ เขา้ ไปได้
- การสวมใส่ผ้าปดิ ปาก-จมกู ชนิดกรองพเิ ศษที่ไม่กระชบั แนบสนทิ มผี ลต่อประสิทธิภาพการกรองเช้ือโรค

วธิ กี ารถอด
1. ใช้มือครอบบน Respirator เพ่อื ให้ Respirator คงรปู
2. ดงึ สายรดั เสน้ ลา่ งขา้ มศรี ษะมากอ่ น แล้วดึงสายเสน้ บนออก
3. ปลอ่ ย Respirator ออกจากใบหนา้ ให้วางในมอื นำไปแขวน แลว้ ลา้ งมือ

11

เสื้อคลมุ (Gown)

วัตถุประสงค์

เพ่อื ปกปอ้ งผิวหนังและปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ ิง่ สกปรกเป้ือนเส้ือผ้าระหว่างการทำหตั ถการหรือกจิ กรรมพยาบาลทอี่ าจมกี าร
ฟุง้ กระจาย หรือกระเด็นของเลอื ดและสงิ่ คัดหล่ังต่างๆ ของรา่ งกาย

เสอื้ คลุม มี 2 ชนดิ
1. ใช้ครัง้ เดียวท้งิ (disposable)
2. ใช้แลว้ นำกลบั มาใช้ซำ้ (reusable gown) คอื ชนดิ ผา้ และชนดิ ใยสังเคราะห์กนั นำ้ ได้

วธิ ีปฏิบัติ
1. ล้างมือก่อนสวมเสอ้ื คลมุ
2. หยบิ เส้อื คลุมท่ีบริเวณคอเสื้อยกขึน้ โดยปล่อยให้ชายเส้อื คล่ีหา่ งจากตวั
3. สอดมอื และแขนท้ัง 2 ขา้ งเข้าไปในเสอ้ื คลมุ พร้อมกันยกชายเส้ือใหส้ งู จากพนื้
4. ใช้มอื ข้างหนง่ึ ท่อี ย่ใู นแขนเสือ้ ดึงแขนเส้ืออกี ด้านหนงึ่ เพื่อให้มอื โผลอ่ อกมา
5. ใชม้ อื ขา้ งทีโ่ ผลอ่ อกมาแลว้ ดึงดา้ นในของเสอื้ ตรงบรเิ วณไหล่เพื่อใหม้ อื ขา้ งท่เี หลอื พน้ แขนเส้อื
6. จบั สว่ นในของคอเสื้อดา้ นหลงั ดึงเสอ้ื ใหเ้ ข้าที่
7. ผูกเชือกที่คอดา้ นหลังผกู เป็นเง่อื นกระตกุ
8. หยบิ ปลายสายคาดเอวเสอ้ื ทงั้ 2 เส้นผกู เป็นเงือ่ นกระตกุ ดา้ นขา้ ง

ข้อพงึ ตระหนกั
1. การถอดเสอ้ื คลมุ ตอ้ งถอดอย่างระมดั ระวงั โดยจับมว้ นกลับให้ดา้ นในอยูด่ ้านนอกกอ่ นนำเส้อื คลมุ ไปใสใ่ นถงั ผ้า
เปอ้ื นเพ่อื ลดการปนเป้ือนมอื ขณะถอด
2. ถอดเสอ้ื คลุมทุกคร้ังหลังการพยาบาลผู้ป่วย หรือออกจากหอ้ งแยก
3. ลา้ งมอื ให้สะอาดหลังถอดเสื้อคลมุ ทกุ ครงั้

ผ้ากนั เปอื้ น (Apron)

ใช้เพอ่ื ปอ้ งกันการปนเปอื้ นส่ิงสกปรก หรอื สิง่ ท่มี ีเชอื้ โรคมาสมั ผสั กบั เสื้อผา้ ของบุคลากร แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คือ
ชนดิ ทีเ่ ป็นผ้า และชนดิ ที่เป็นพลาสติก

วธิ ีปฏบิ ัติ
1. ลา้ งมอื ก่อนสวมผ้ากนั เปือ้ น
2. สวมใสผ่ ้ากนั เป้อื นและผูกเชือกไว้ดา้ นหลงั
3. หลงั ทำการพยาบาลผปู้ ว่ ยแล้วใหถ้ อดผา้ กันเปอื้ น โดยไม่ให้มือสมั ผัสกบั ผวิ ด้านหนา้ ผ้ากนั เปื้อน
4. ล้างมอื ใหส้ ะอาดหลงั ถอดผ้ากนั เปอื้ นทุกคร้ัง

ข้อพึงตระหนกั
1. ถ้าใชช้ นิดนำกลบั มาใช้ซ้ำได้ ตอ้ งทำความสะอาดด้วยน้ำและผงซักฟอกแลว้ ผง่ึ ใหแ้ ห้งกอ่ นที่จะนำไปใชค้ รั้งต่อไป
2. ถอดผ้ากันเปื้อนทกุ คร้งั เมื่อไม่ไดท้ ำการพยาบาลผู้ป่วย

หมวก (Cap)

ใช้เพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ให้เศษผม, รงั แค หรือสงิ่ ต่าง ๆ บนศรี ษะ ตกลงปนเปอ้ื นกับอุปกรณ์การแพทย์ ทผ่ี า่ นการทำความ
สะอาดแลว้ นอกจากนี้ยงั ชว่ ยใหท้ ำงานได้โดยสะดวก ไม่มผี มปรกหนา้ หรือไหล่อีกดว้ ย

12

แวน่ ป้องกนั ตา (goggles) และหน้ากากปอ้ งกันหน้า (face shield)
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อปอ้ งกนั เลือดหรอื สง่ิ คัดหลง่ั ของผู้ปว่ ยหรือละอองฝอยกระเดน็ เข้าตาและหน้าบคุ ลากร
วิธปี ฏบิ ตั ิ การใสแ่ ว่นปอ้ งกนั ตาและการใชห้ นา้ กากปอ้ งกนั หนา้

1. ล้างมือก่อนสวมแว่นปอ้ งกันตา หรอื หน้ากากป้องกนั หน้า
2. สวมแวน่ ปอ้ งกนั ตาหรือหนา้ กากปอ้ งกันหนา้ เมอ่ื คาดวา่ การพยาบาลหรอื หัตถการนนั้ อาจมีการกระเดน็ ของ

สิง่ คดั หลงั่ ต่างๆ
3. ล้างมอื หลังถอดแวน่ ป้องกนั ตาหรือหนา้ กากปอ้ งกันหน้า
4. หลงั จากใชแ้ วน่ ปอ้ งกนั ตาแล้วใหท้ ำความสะอาดโดยการลา้ งดว้ ยน้ำสบู่ เช็ดให้แห้งแลว้ เกบ็ ในที่สะอาด หา้ มเชด็

ทำความสะอาดดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% เพราะจะทำใหแ้ ว่นขนุ่ มัว สว่ นหน้ากากปอ้ งกันหน้า ท่เี ป็นชนดิ ที่ใช้ครัง้ เดียว
(single use) เมอื่ เลิกใช้แลว้ ใหท้ ง้ิ (หรอื สิ้นสุดการดแู ลผู้ป่วยตลอดในหนง่ึ วนั ) ในถังขยะตดิ เชื้อ

รองเทา้ บูท๊ (Boots)
รองเท้ายางห้มุ ข้อ หรือรองเทา้ บู๊ท ชว่ ยปอ้ งกนั เท้าจากนำ้ หรอื สิ่งสกปรกภายนอก การทำความสะอาด ใหล้ า้ งดว้ ย
น้ำและผงซักฟอก แลว้ นำไปผงึ่ ให้แห้ง

13

3. การป้องกนั และการควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอ้ื

กระบวนการ การปฏิบตั ิ

1. การปอ้ งกนั และควบคมุ การ Isolation Precaution (IP) เปน็ หลกั การป้องกันและควบคุมการแพรก่ ระจายเช้อื
แพรก่ ระจายเช้อื จากการดแู ล ที่ใชใ้ นโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ซงึ่ ประกอบด้วย 2 มาตรการ คอื
ผูป้ ่วย
- Standard Precautions
- Transmission Base Precautions

Isolation Precaution

Standard Transmission base
Precautions Precautions
- Universal Precautions
- Body Substance Isolation - Airborne Precaution
- Droplet Precaution

- Contact Precaution

2. Standard Precautions เปน็ มาตรการพน้ื ฐานทใ่ี ชก้ บั ผปู้ ่วยทุกรายที่ประยกุ ตม์ าจาก Universal
Precautions และ Body substance Isolations

วัตถุประสงค์ เพื่อปอ้ งกนั การตดิ เชื้อจากเลอื ด (blood) สารน้ำจากรา่ งกาย
(body fluid) สารคดั หล่งั (secretions) และส่งิ ขับถ่าย (excretions) ยกเว้นเหงื่อ
โดยไมค่ ำนงึ ว่าจะมีเลือดปนหรอื ไม่รวมท้งั ผวิ หนงั และเย่อื บุผวิ ท่ีมีรอยฉีกขาด
(mucous and nonintact skin) โดยมแี นวทางการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1. สรา้ งสขุ นิสยั ในการลา้ งมือเม่ือทำกิจกรรม ดงั นี้

1.1 กอ่ นและหลงั สมั ผสั ผปู้ ่วย
1.2 หลังสมั ผัสเลือดและส่ิงคดั หลงั่ จากรา่ งกาย
1.3 หลงั สมั ผัสอปุ กรณ์/ เครอ่ื งมอื / เคร่อื งใช้ที่ปนเปื้อนเลอื ด และส่งิ คัดหลั่ง
1.4 หลงั ถอดถุงมือทนั ที
2. สวมถงุ มือเมอื่
2.1 ต้องสัมผสั หรอื เสีย่ งต่อการสัมผสั เลอื ดและสิง่ คัดหลงั่ จากร่างกายหรอื

บรเิ วณเย่ือเมอื ก บาดแผล หรือผื่นตา่ ง ๆ
2.2 ตอ้ งสมั ผสั หรอื เสย่ี งต่อการสัมผัสอุปกรณ์ เครอื่ งมอื เครื่องใช้ทีป่ นเป้อื นเลือด

และสงิ่ คดั หล่งั
2.3 เปล่ยี นถุงมอื เมอ่ื เปล่ียนการทำกิจกรรมหรือหัตถการแก่ผู้ป่วย
3. สวมผา้ ปิดปาก-จมกู แวน่ ตา/ หน้ากาก เส้อื คลมุ เพอื่ ปกป้องผิวหนงั และป้องกนั
สง่ิ สกปรกเป้ือนระหวา่ งทำ กิจกรรมทอ่ี าจมกี ารพงุ่ กระเซน็ ของเลอื ด/ สิ่งคดั หล่ัง
3.1 สวมผ้ายางกนั เปอ้ื นหรอื รองเทา้ บทู ทุกครง้ั ทค่ี าดวา่ จะมีการกระเซน็ ของ

เลือดหรอื สง่ิ คดั หล่งั ถูกลำตัวหรอื เท้า
3.2 จับเครอื่ งมอื ท่ีปนเปอ้ื นอย่างระมดั ระวังเพอื่ ปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้อื
3.3 เครอ่ื งมือเครือ่ งใช้ท่ีตอ้ งนำกลับมาใชใ้ หม่จะต้องไดร้ ับการทำความสะอาด

ทำลายเชื้อและทำใหป้ ราศจากเชื้ออย่างเหมาะสมกอ่ นใชก้ บั ผ้ปู ่วยรายอื่น ๆ
3.4 ดแู ลส่งิ แวดลอ้ มและทำความสะอาดหนว่ ยงาน ประจำวนั ตามข้อกำหนด
3.5 หลกี เลี่ยงกิจกรรมท่ีอาจสง่ ผลใหม้ ีการแพร่กระจายเช้ือโรคจากเสอ้ื ผา้

เคร่ืองนอนไปสู่ผปู้ ว่ ย บคุ ลากร และส่ิงแวดล้อม

14

กระบวนการ การปฏบิ ัติ
3. Transmission Base 3.6 หลีกเล่ยี งกจิ กรรมที่เส่ยี งต่อการถกู ของมีคมท่มิ ตำ เช่น การสวมปลอกเขม็

Precautions การปลดเขม็ ออกจาก syringe ดว้ ยมือเปลา่ เปน็ ต้น
3.1 Airborne Precautions 3.7 ใช้เครอื่ งช่วยหายใจชนิดมอื บบี แทนการ mouth to mouth

3.2 Droplet Precautions resuscitation
3.8 จัดสง่ิ แวดลอ้ มในหอผปู้ ว่ ยให้เปน็ สัดส่วน
3.3 Contact Precautions
เปน็ มาตรการข้ันพเิ ศษเพ่อื ควบคุมการแพร่กระจายเชือ้ ท่ีใชก้ ับผู้ป่วยซ่ึงไดร้ ับ
การวนิ ิจฉัยหรือสงสยั วา่ เป็นโรคใดๆ ทอ่ี าจแพร่กระจายเชื้อ โดยใช้รว่ มกบั Standard
Precautions ซ่ึง Transmission Base Precautions แบง่ ได้ 3 ระดบั ดงั น้ี

- Airborne Precautions
- Droplet Precautions
- Contact Precautions

เปน็ มาตรการทใ่ี ช้รว่ มกบั Standard Precautions สำหรับผ้ปู ่วยทไ่ี ด้รบั การวนิ ิจฉัย
หรือสงสัยว่าเป็นโรคท่สี ามารถแพรเ่ ชื้อทางอากาศ ได้แก่ Measles, Chickenpox
และ Tuberculosis
แนวทางในการปฏบิ ตั ิ
1. หอ้ งแยกผปู้ ่วยมีระบบปรับความดันในหอ้ งให้เปน็ ลบเม่ือเทียบกับความดนั

นอกหอ้ ง มีการระบายอากาศ 6-12 รอบต่อชว่ั โมง มีระบบกรองอากาศท่ี
ออกจากห้อง และประตหู ้องตอ้ งปดิ เสมอ กรณมี ีข้อจำกดั ในการปรบั ปรุง
ห้องแยกให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน ให้ดูแนวทางการปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะ
2. ใหผ้ ู้ป่วยใช้ผา้ หรือกระดาษปิดปาก–จมกู เวลาไอ จาม และให้สวมผา้ ปดิ ปาก–
จมูก ( surgical mask) เมอื่ มีบคุ คลอ่นื อยูใ่ นหอ้ ง
3. ไม่เคลอ่ื นย้ายผู้ปว่ ยโดยไม่จำเปน็ แตถ่ า้ ต้องเคลอื่ นย้ายใหผ้ ปู้ ว่ ยสวมผ้าปิดปาก
– จมกู เพอื่ ป้องกันการแพร่กระจายเช้ือ
4. บคุ ลากรทางการแพทย์หรือผ้เู ข้าเยี่ยม เม่ือเข้าในห้องผ้ปู ่วย ต้องสวมผ้า
ปิดปาก–จมูก ชนิด N 95 และล้างมือแบบ hygienic hand washing หลงั
การเยยี่ มทกุ คร้งั

เป็นมาตรการทใ่ี ชร้ ่วมกับ Standard Precautions สำหรับผปู้ ่วยท่รี ับการวินิจฉัย
หรอื สงสยั วา่ เปน็ โรคที่สามารถแพร่เช้อื ทางนำ้ มกู น้ำลาย
แนวทางในการปฏิบัติ
1. จดั หอ้ งแยกถ้าเปน็ ไปได้โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องควบคุมระบบระบายอากาศ ถา้ ไม่มี

ห้องแยกให้ผปู้ ว่ ยอยหู่ อ้ งเดยี วกับผู้ปว่ ยอน่ื ทต่ี ิดเช้อื ชนดิ เดยี วกันหรอื ถา้
ตอ้ งอยู่รว่ มกับผ้ปู ่วยโรคอ่นื ๆ ให้จดั ระยะหา่ งของเตยี ง ประมาณ 1-1.5 เมตร
2. ใหผ้ ู้ป่วยใช้ผา้ ปดิ ปาก – จมูก เวลาไอ/ จาม และเม่ืออยกู่ ับบุคคลอื่น
3. ไมเ่ คลื่อนย้ายผ้ปู ่วยโดยไมจ่ ำเป็น หากต้องเคลือ่ นยา้ ยให้ผปู้ ่วยสวมผ้าปดิ ปาก–
จมกู เพือ่ ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชอ้ื
4. บคุ ลากรตอ้ งสวมผา้ ปิดปาก – จมกู ชนิด Surgical mask เม่ือตอ้ งปฏบิ ตั งิ าน
ใกล้ผปู้ ว่ ยน้อยกว่า 3 ฟุต

เป็นมาตรการที่ใช้ร่วมกบั Standard Precautions ในผ้ปู ่วยทไี่ ดร้ ับการวนิ ิจฉยั หรอื
สงสยั วา่ เป็นโรคทสี่ ามารถแพร่เช้ือทางการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม

15

กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ

แนวทางในการปฏบิ ัติ
1. จัดห้องแยกถา้ เป็นไปได้ ถ้าไมม่ ใี ห้ผู้ปว่ ยอยู่ห้องเดยี วกับผู้ปว่ ยอื่นทตี่ ิดเชอ้ื

ชนิดเดียวกัน แตถ่ า้ จำเปน็ ตอ้ งอยรู่ ่วมกบั ผู้ป่วยโรคอืน่ ใหพ้ ิจารณาถึงระบาด
วิทยาของโรคน้ัน ๆ จากบคุ ลากรทท่ี ำหนา้ ท่ีควบคมุ การติดเช้ือในโรงพยาบาล
2. ไม่เคลือ่ นย้ายผู้ป่วยโดยไมจ่ ำเป็น แตถ่ า้ มีการเคลือ่ นยา้ ยควรระมัดระวัง
การแพรก่ ระจายเช้ือสู่บคุ คลอน่ื และสง่ิ แวดลอ้ ม

3. บุคลากรท่ใี ห้การรักษาพยาบาลสวมถงุ มอื ตามหลกั Standard Precautions
ทุกครง้ั

กำหนดให้ใชอ้ กั ษรย่อ เพือ่ แจ้งเตือนบุคลากรในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ทุกระดบั ดังนี้
A.P. = Airborne Precautions
D.P. = Droplet Precautions

C.P. = Contact Precautions

16

4. วธิ ีการแยกและระยะเวลาในการแยกโรคตดิ เช้อื ชนดิ ต่างๆ ทสี่ ำคัญและพบบ่อย

โรคติดเชือ้ วิธีการแยกโรค ระยะเวลาในการแยกโรค ขอ้ เสนอแนะ/ขอ้ คิดเห็น

แผลอักเสบตดิ เชอื้ Contact ขึ้นอยู่กับอาการแสดงของโรค จนกระท่งั แผลแหง้ และควรปิดแผล
(Abscess) ไวเ้ สมอ

โรคเอดส์ Standard เมอ่ื สมั ผัสเลือดและส่งิ คดั หลั่งตอ้ ง
ไดร้ บั ยาเพอื่ ป้องกนั การติดเชือ้

โรคไขห้ วัดใหญ่ Droplet 5 วนั ยกเวน้ ผปู้ ว่ ยภูมคิ ุ้มกนั ตำ่ ให้ ผปู้ ว่ ยทม่ี ภี มู คิ ุ้มกันตำ่ จะมเี ช้อื อยู่

แยกจนกว่าจะไม่มอี าการ ในรา่ งกายนานหลายสปั ดาห์

โรคหดั (Measles, Airborne 4 วนั หลังจากผนื่ ขึ้น ยกเว้นในผู้ป่วย ให้บุคลากรทมี่ ภี มู ิคมุ้ กนั ดูแลผู้ป่วย
rubeola) ภูมคิ มุ้ กันตำ่ ใหแ้ ยกจนกวา่ จะไมม่ ี เทา่ น้นั ส่วนบคุ ลากรท่ีไมม่ ภี มู คิ นุ้
อาการ กันและสัมผัสโรคแลว้ ให้ฉดี วคั ซนี

ภายใน 72 ชัว่ โมง ให้แยกบุคลากร
ทไ่ี ม่ไดร้ ับวคั ซนี ตง้ั แตห่ ลังสมั ผัส

โรค 5 วัน จนถึง 21 วนั

วณั โรคปอด และคอ Airborne เลกิ แยกเม่อื ผ้ปู ่วยตอบสนองตอ่
หอย (Laryngeal) การรักษามอี าการดขี ้นึ มีผลตรวจ

AFB ไม่พบเชือ้ 3 ครัง้ ติดต่อกนั

วัณโรคนอกปอดและมี Airborne, ท่ีอยูใ่ นระยะแพรเ่ ชื้อทง้ั ปอดและ
ทอ่ ระบายส่งิ คัดหลง่ั Contact แผล ใหใ้ ชห้ ลักการแยกโรคที่

แพรก่ ระจายทางการสัมผสั และ
อากาศ

โรคคางทมู (mump) Droplet 9 วัน บุคลากรท่ยี ังไมม่ ีภูมคิ มุ้ กันไม่ควร
ให้การดูแลผู้ป่วย

เหา (lice) Contact หลงั ใหก้ ารรกั ษา

24 ชว่ั โมง

โรคหัดเยอรมนั Droplet หลังมผี ื่น 7 วนั บุคลากรที่ยังไมม่ ภี มู คิ มุ้ กนั ไมค่ วร
(rubella) ใหก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยส่วนบุคลากรที่
สัมผสั โรค แนะนำ ใหว้ คั ซีนภายใน

3 วัน หรือเฝา้ ระวงั บุคลากร 5- 21
วันหลังสมั ผัสโรค

โรคสกุ ใส (Varicella Airborne, แผลแห้ง บุคลากรทยี่ งั ไมม่ ีภูมคิ ุ้มกันไม่ควร
ใหก้ ารดูแลผปู้ ่วย
Zoster) Contact ผลเพาะเชอ้ื ไมพ่ บเช้อื ทดี่ อ้ื ตอ่ ยา บุคลากรที่สัมผัสโรคควรได้รับ
ปฏชิ วี นะ วคั ซีนภายใน 72 ชัว่ โมง
โรคตดิ เช้ือทดี่ ื้อตอ่ ยา Contact เฝา้ ระวงั บุคลากร ตงั้ แต่ 8- 21 วนั
ปฏิชีวนะ หลงั สัมผัสโรค

ผลเพาะเชื้อไม่พบเชอื้ ที่ดื้อตอ่ ยา
ปฏชิ ีวนะ อย่างน้อย 3 ครัง้ หา่ งกัน
ทุก 3 วัน

17

5. มาตรการการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชอ้ื วัณโรคในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์

กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ

การดูแลผูป้ ่วยทสี่ งสัยวา่ เป็นวัณโรค งานผู้ป่วยนอกและจิตเวชฉกุ เฉนิ จดั ใหม้ ีบคุ ลากรคดั กรองผปู้ ว่ ยทมี่ ีอาการไอ
ระยะแพร่เชือ้ ในแผนกผปู้ ่วยนอก เร้อื รังนานกว่า 3 สัปดาห์ เบอ่ื อาหาร นำ้ หนักลด มีไข้ต่ำ ตอนเยน็ ไอเปน็ เลอื ด
และงานจิตเวชฉุกเฉนิ (อะเคอ้ื , 2548) ถ้าพบต้องใหผ้ ปู้ ่วยสวม surgical mask ใหก้ ระชับ และแยกผปู้ ว่ ย
(Management of Patient who ไปนงั่ รอในบริเวณท่ีไมม่ ีคนพลกุ พลา่ นหรอื พลกุ พล่านน้อยทส่ี ุด อากาศถ่ายเทดี และ

may have active TB in ซักประวัติเก่ยี วกับการป่วยด้วยวัณโรคและโรคในระบบทางเดินหายใจท่สี ำคัญ
Ambulatory - Care setting and รวมทงั้ โรคทีก่ ำลงั ระบาดในช่วงนนั้ ๆ ทั้งของผูป้ ว่ ย ผู้ดแู ล ญาติ และเพื่อนบ้าน
Psychiatry Emergency เป็นตน้ และจดั ให้ผ้ปู ว่ ยได้รับการตรวจและวนิ จิ ฉยั โรคโดยเร็วทสี่ ดุ (CDC, 1994
Department ) อา้ งใน อะเคอ้ื , 2548) กรณีทม่ี ีอาการไอแตไ่ มเ่ ขา้ ข่ายสงสยั แนะนำใหป้ ดิ ปาก-จมกู
เม่ือไอหรอื จาม

หากผู้ปว่ ยวณั โรคระยะแพร่เชื้อ หรอื ผ้ปู ว่ ยที่สงสัยวณั โรค(suspect case)
เขา้ รักษาในโรงพยาบาล งานผู้ป่วยนอกและจติ เวชฉกุ เฉนิ ตอ้ งเรง่ ดำเนินการเพอื่
สง่ ผู้ปว่ ยไปยังหอผ้ปู ่วยโดยเร็วทส่ี ดุ

หลักเกณฑก์ ารเข้าห้องแยก 1. ผล AFB +ve และยังไมไ่ ดร้ บั การรักษาด้วยยาต้านวณั โรค หรือได้รับยาต้าน
วณั โรค น้อยกว่า 2 สัปดาห์

2. ผล AFB +ve และไดร้ บั การรักษามาแล้วแต่อาการไมด่ ขี ึ้น และสงสัยวา่ น่าจะ
เป็น Multi drugs resistant TB; MDRTB

3. ผล Chest X-rays คลา้ ยวัณโรค (โดยเฉพาะอย่างยง่ิ Upper lobe infiltration
และมีอาการไอ ตอ้ งใหร้ กั ษาในห้องแยกจนกวา่ ผลการตรวจ AFB ทงั้ 3 คร้งั
ให้ผล –ve กรณีทเ่ี ก็บเสมหะไม่ได้ให้ปรึกษาแพทยเ์ จา้ ของไข้พิจารณาเพือ่
investigate อื่น ๆ หรอื ใหผ้ ปู้ ่วยออกจากห้องแยก)

4. ผู้ป่วย HIV +ve ท่มี ีอาการไอเร้อื รงั  3 สัปดาห์ โดยไมท่ ราบสาเหตุ และไมม่ ี
ผล Chest X-rays ต้องใหร้ ักษาในหอ้ งแยกจนกวา่ จะมีผล Chest X-rays
ยืนยนั แตถ่ ้า Chest X-rays ผดิ ปกตติ ้องให้รกั ษาในหอ้ งแยกต่อ จนกวา่ ผล
ตรวจ AFB ทง้ั 3 ครัง้ ให้ผล -ve กรณที เี่ กบ็ เสมหะไมไ่ ด้ใหป้ รกึ ษาแพทยเ์ จ้า
ของไข้ เพื่อพิจารณา investigate อนื่ ๆ หรือใหผ้ ปู้ ่วยออกจากห้องแยก

5. ผ้ปู ่วย TB lymph node หรอื TB Organ อืน่ ๆ (ทีไ่ ม่ใช่ปอด หรอื larynx)
ไม่จำเปน็ ต้องรกั ษาในห้องแยก

6. ผูป้ ว่ ยสงสยั TB (Suspect case) ให้พักในหอ้ งแยก 1 คน/ 1 ห้อง ห้ามให้
ผปู้ ว่ ยพกั หอ้ งละ 2 คนขนึ้ ไป ยกเวน้ กรณที ี่ถูกพิสูจนแ์ ล้วว่าเปน็ วัณโรคระยะ

แพรเ่ ชอื้ ท้งั คู่

การสง่ ตรวจวนิ จิ ฉยั 1. ผปู้ ่วยที่ไอเรอ้ื รงั  3 สัปดาห์ โดยไม่ทราบสาเหตชุ ัดเจน ควรไดร้ บั การตรวจ
chest x- ray โดยเฉพาะอย่างย่ิงผ้ปู ่วย HIV +ve

2. การสง่ ผปู้ ่วย TB หรือ Suspect case ไปห้อง x-ray หรือแผนกอ่ืน ๆ ต้อง
ให้ผู้ป่วยสวม surgical mask และแจ้งให้แผนกนัน้ ทราบกอ่ นที่จะส่งผูป้ ่วยไป

3. ผปู้ ว่ ย HIV +ve ทมี่ อี าการไอเรือ้ รัง  3 สัปดาห์ และมี chest x-ray ผิดปกติ
โดยไม่ทราบสาเหตชุ ดั เจน ต้องได้รบั การตรวจ AFB ครบ 3 ครงั้

4. งานผู้ปว่ ยนอกจะต้องจัดบรเิ วณให้ผปู้ ่วยเก็บเสมหะเพือ่ ตรวจ AFB แยกจาก
บุคคลอืน่ ไม่ควรใหผ้ ู้ป่วยเข้าไปเก็บเสมหะในหอ้ งน้ำที่ใช้ร่วมกนั

18

กระบวนการ การปฏิบตั ิ
การดูแลผู้ป่วย 5. การเกบ็ เสมหะสำหรับผูป้ ว่ ยในไม่ควรทำในหอผ้ปู ว่ ยแต่ควรใหผ้ ู้ป่วยเกบ็ เสมหะ

แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการใชห้ ้องแยก ในหอ้ งแยก หรือท่รี ะเบยี งของหอผ้ปู ่วย และหา้ มทำ sputum induction เพื่อ
วธิ ที ำความสะอาด เกบ็ เสมหะตรวจ AFB ในหอผปู้ ่วยเด็ดขาด ถา้ จำเปน็ ให้ทำในห้องแยกและ
ผู้ดแู ลตอ้ งสวมเคร่ืองป้องกัน และสวม N95 mask

1. ระยะเวลาในการแยกผูป้ ่วยวณั โรคจะต้องแยกอยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ หลังจาก
ไดร้ บั การรักษา โดยผ้ปู ่วยจะต้องมอี าการดขี นึ้ ดว้ ย

2. ผู้ปว่ ยท่สี งสยั และไดร้ ับการรกั ษาในหอ้ งแยก จะย้ายออกจากหอ้ งแยกไดก้ ็
ตอ่ เมื่อผปู้ ว่ ยไดร้ ับการรักษาดว้ ยยาต้านวณั โรคมากกว่า 2 สปั ดาห์ และผล
การตรวจ AFB ทัง้ 3 ครงั้ ไดผ้ ล -ve

3. ถ้าผูป้ ่วยเปน็ วณั โรคชนิดด้อื ยาทัง้ Isoniazid (INH) และ Rifampicin หรือกรณี
ทผี่ ปู้ ว่ ยรบั ประทานยาไม่สม่ำเสมอ และยังมีอาการหรืออาการแสดง หรือ
ผล การตรวจทบี่ ่งช้วี า่ น่าจะเปน็ วณั โรคทีด่ ้ือตอ่ ตัวยา Isoniazid (INH) และ
Rifampicin ให้แยกผู้ปว่ ยไวต้ ลอดระยะเวลาทีร่ กั ษาในโรงพยาบาล

4. การเคล่ือนย้ายผู้ปว่ ยใหเ้ คลือ่ นย้ายกรณจี ำเป็นเท่านน้ั โดยขณะเคล่ือนยา้ ย

ต้องใหผ้ ปู้ ว่ ยสวม Surgical mask ใหก้ ระชบั

1. ปดิ ประตเู มือ่ เขา้ -ออกห้องแยกทกุ ครง้ั กรณที ม่ี ีพัดลมดดู อากาศให้เปิดไว้

ตลอดเวลาท่ผี ูป้ ่วยอยู่ในหอ้ งแยก
2. หา้ มผ้ปู ่วยออกมาเดนิ เลน่ นอกหอ้ งหากจะตอ้ งออกมาเพ่อื ทำการตรวจรกั ษา

พิเศษต้องใหผ้ ูป้ ว่ ยสวม Surgical mask ทุกครัง้
3. บคุ ลากรต้องสวม N95 mask และให้ผปู้ ว่ ยสวม Surgical mask ทกุ ครงั้ เม่ือ

ต้องใหก้ ารดูแลรกั ษาพยาบาลแกผ่ ้ปู ว่ ย
3.1 เสือ้ ผา้ ผูป้ ว่ ยใหใ้ ส่ถังทีจ่ ัดไว้ในห้องแยกมีปา้ ยบอก ผ้าติดเช้ือ และ

ใหส้ ง่ ซักทงี่ านซกั ฟอกตามปกติ
3.2 จดั หากล่องพลาสตกิ ทม่ี ฝี าปดิ หรอื ซองพลาสติกทีไ่ มร่ วั่ ซมึ ใหผ้ ู้ปว่ ย

บว้ นเสมหะ น้ำมูก นำ้ ลาย แล้วทิง้ ในถังขยะติดเชือ้ โดยใหเ้ ปลย่ี นทุกวนั
เปน็ อยา่ งนอ้ ย หรอื ตามความเหมาะสม
1. การทำความสะอาดพื้นและห้องแยก ให้ทำตามปกติโดยใชน้ ำ้ และผงซักฟอก
2. การทำความสะอาดโตะ๊ และเฟอร์นิเจอร์อืน่ ให้ทำตามปกตโิ ดยใช้นำ้ และ

ผงซกั ฟอก
3. บรเิ วณทเี่ ปอ้ื นเลอื ด/ สง่ิ คัดหล่งั ของผปู้ ่วยใหท้ ำความสะอาดดว้ ย 70%

Alcohol

19

6. การปอ้ งกนั ความเสีย่ งจากการทำงานของบคุ ลากรในโรงพยาบาล

กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ

ความเสยี่ งจากการทำงานของ บคุ ลากรในโรงพยาบาลมคี วามเสีย่ งทีจ่ ะสมั ผัสโรคนานาชนดิ ซ่ึงอาจทำให้
บคุ ลากรในโรงพยาบาล และ บุคลากรเกดิ การเจบ็ ป่วย ดงั น้ันจึงตอ้ งมกี ารบรหิ ารจัดการเพอื่ ป้องกนั การติดเชื้อ
องค์ประกอบสำคญั ในการดูแล ของบคุ ลากรในโรงพยาบาลอยา่ งเหมาะสม โดยประเมินความเสี่ยงต่อการตดิ เช้ือ
สขุ ภาพบุคลากร ของบคุ ลากร และการจดั ลำดับความสำคัญในการป้องกนั ให้ความรู้เกี่ยวกับความ

ปลอดภยั และการป้องกันการติดเชื้อจากการปฏิบัตงิ านอยา่ งต่อเนอื่ ง ประเมนิ ความ
ไวรับตอ่ โรคที่ป้องกนั ได้ดว้ ยวัคซนี และกำหนดการให้วคั ซนี ทีเ่ หมาะสมแกบ่ คุ ลากร
สอบสวนสาเหตุการสมั ผัสโรคหรอื เชอ้ื รวมท้ังทบทวนแนวทางการดูแลบุคลากร
ท่สี มั ผัสโรค เฝ้าระวังการสมั ผสั เลือดและสง่ิ คัดหล่งั จากการทำงานและกำหนด
แนวทางป้องกันสำหรบั กจิ กรรมหรือหน่วยงานที่มคี วามความเสีย่ งสงู

มาตรการในการปอ้ งกนั การตดิ เช้อื 1. รวบรวมขอ้ มลู การเจ็บป่วยจากการทำงานของบคุ ลากรอย่างถกู ตอ้ ง

2. คดั กรองผทู้ ี่จะปฏบิ ัติงานใหม่ เพือ่ ทราบประวัติการเจ็บปว่ ยด้วยโรคติดต่อและ
การไดร้ ับวัคซนี

3. บนั ทกึ ขอ้ มูลจากการถูกของมีคมทมิ่ ตำและจากการบาดเจ็บอน่ื ๆ และควร
วิเคราะห์ข้อมลู เปน็ ระยะเพ่ือปรบั ปรงุ การทำงานและค้นหาความเสีย่ งทีส่ ามารถ
ป้องกนั ได้

4. ประเมนิ และกำหนดแนวทางการจำกัดการทำงานสำหรบั บคุ ลากรทมี่ ีการติดเชือ้
หรือสมั ผสั เช้ือ

5. ดูแลให้บุคลากรท่มี บี าดแผลทผ่ี วิ หนังไดร้ บั การปกปิดบาดแผลอยา่ งมดิ ชิด

ตารางความเสยี่ งต่อการแพรก่ ระจายเช้อื และมาตรากรลดความเสีย่ งสำหรบั บุคลากรสู่ผ้ปู ว่ ย และจากผ้ปู ่วยส่บู ุคลากร

การติดช้ือ วิธีการแพร่กระจายเช้อื ความเสี่ยง มาตรการเบ้อื งตน้ เพ่อื ลดความเส่ียง
ในการแพรก่ ระจาย

บุคลากร ผปู้ ่วยสู่
สูผ่ ้ปู ่วย บคุ ลากร

Chickenpox,* สมั ผัสกับตมุ่ พอง สูง สงู ให้วคั ซีนปอ้ งกนั สำหรบั บุคลากรที่มคี วามไวรับ
Disseminated- varicella immune globulin (VZIG)
zoster* (vesicle) ฝอยละออง สำหรบั ผู้ที่ภูมิคุม้ กันตำ่ ทสี่ ัมผัสผูป้ ่วยผมู้ ีความ
น้ำมกู นำ้ ลาย หรือทาง เส่ียงสงู : ผใู้ หญห่ รือผมู้ ภี มู คิ มุ้ กันตำ่ ผู้เปลย่ี น
ระบบทางเดนิ หายใจของ ไขกระดูก และผรู้ ับประทานยากดภูมิคมุ้ กนั

ผู้ป่วย และ จาก
disseminated zoster

Conjunctivitis สัมผัสส่งิ คัดหล่ังจากตา สงู สูง ค้นหาและกำจดั สงิ่ ท่เี ปน็ รังโรค จำกัดบุคลากร

viral (e.g. และอุปกรณท์ สี่ มั ผสั กับ ท่ีตดิ เชอ้ื เน้นการลา้ งมอื และการทำลายเชอ้ื
adenovirus) สิง่ คัดหลงั่ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ตรวจตา

Cytomegalovirus สมั ผัสปัสสาวะ นำ้ ลาย พบนอ้ ย พบนอ้ ย สวมถุงมอื ทเ่ี หมาะสมและล้างมอื เมื่อสมั ผัส
(CMV) นำ้ นม สารคัดหล่งั จาก ผา้ ออ้ ม นำ้ ลาย CMV พบได้งา่ ยใน ผู้ปว่ ยที่
ช่องคลอดและนำ้ อสุจิ ไดร้ บั การผา่ ตดั เปลีย่ นอวยั วะ ผู้ปว่ ยAIDS/

ของผตู้ ิดเช้ือท่อี ยรู่ ะยะ HIV มกั พบในรายท่ไี ม่ได้รับการวนิ ิจฉยั
แพร่เชื้อ มากกวา่ ผูป้ ว่ ยทีไ่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉัย

20

การตดิ ช้ือ วธิ กี ารแพรก่ ระจายเชอื้ ความเสีย่ ง มาตรการเบอ้ื งต้นเพอ่ื ลดความเสย่ี ง
ในการแพร่กระจาย
Hepatitis B virus
บคุ ลากร ผปู้ ่วยสู่
Hepatitis C virus ส่ผู ปู้ ่วย บุคลากร
Herpes simplex*
การถกู เข็มตำ การสมั ผัส ต่ำ ปานกลาง ใหว้ ัคซนี ป้องกันแกบ่ คุ ลากรท่ีเส่ยี งต่อการ
Influenza
Measles เย่อื บแุ ละผิวหนงั ทไี่ ม่ (ความ สัมผสั เลอื ด เนน้ การหยิบจบั เขม็ และของมีคม

Meningococcal ปกติ สัมผัสเลอื ด น้ำอสุจิ เส่ยี งจาก ดว้ ยความระมัดระวัง สวมถงุ มอื และอุปกรณ์
infection
Mumps สารคดั หล่ังจากชอ่ งคลอด การถกู ปอ้ งกันและลา้ งมืออย่างถูกวิธี ให้ hepatitis B
Pertussis
Respiratory และสารคดั หล่ังทม่ี เี ลือด เข็มตำ 6- immune globulin (HBIG) prophylaxis
syncytial virus
Rotavirus ปน 35 %) กรณที ี่สมั ผัสมากในบุคลากรทมี่ ีความไวรับ

เช่นเดยี วกับ Hepatitis B พบน้อย ตำ่ เนน้ การหยบิ จับเข็มและของมคี มด้วยความ
virus ระมดั ระวงั สวมถงุ มือ และอุปกรณ์ป้องกนั อ่นื

ๆ และล้างมืออย่างเหมาะสม

สมั ผัสเชอื้ ไวรัสในน้ำลาย พบนอ้ ย ต่ำ สวมถงุ มือเม่ือจะสมั ผัสน้ำลายและตุ่มพองเพ่ือ

ของผูท้ ่ีเป็นพาหะ สมั ผสั ปอ้ งกัน ส่วนบุคลากรควรปิดบาดแผลของ

กับนำ้ ภายในตุม่ พอง ตนเองหรือสวมถุงมอื กรณีมอี าการแสดงท่ีมอื

หรอื อาจจำกดั ไมใ่ หด้ แู ลผู้ป่วย

แพรก่ ระจายอากาศ การ ปาน ปานกลาง ใหว้ ัคซนี ใหญส่ ำหรบั บคุ ลากรและผปู้ ว่ ยทม่ี ี

สัมผัสโดยตรงและการ กลาง ความเส่ยี งสงู ให้ amantadine prophylaxis

สมั ผสั กับนำ้ มูกนำ้ ลาย เมื่อสมั ผสั influenza A ตามความเหมาะสม

แพร่กระจายทางอากาศ สงู สงู ได้รับภมู ิคุม้ กันตามธรรมชาตหิ รอื วัคซีน
การสัมผัสโดยตรง และ ปอ้ งกนั โรคหัด ใหว้ คั ซนี แกผ่ ู้ป่วยเม่ือมีรายงาน

การสัมผสั กับน้ำมูก การระบาดของโรคในหน่วยงานทมี่ ีการระบาย
น้ำลายของผตู้ ดิ เช้ือ อากาศไม่ดี

สมั ผัสนำ้ ลายโดยตรง ไมม่ ี พบนอ้ ย สวมถุงมือ และลา้ งมอื อย่างถกู วธิ ี การให้ยา

รายงาน ต้านจลุ ชีพเพ่ือป้องกนั บุคลากรเมอื่ สมั ผสั

น้ำมูก น้ำลาย ของผปู้ ่วยเท่าน้นั

สมั ผสั ฝอยละอองนำ้ มูก ปาน ปานกลาง วัคซีนป้องกนั โรคคางทูมใชไ้ ดผ้ ลดีทั้งกับ

น้ำลาย หรือสมั ผสั กับ กลาง บคุ ลากรและผูป้ ว่ ย แต่ในผู้ใหญ่อาจเกดิ
นำ้ ลายโดยตรง ภาวะแทรกซอ้ น

สัมผสั ฝอยละอองน้ำมูก ปาน ปานกลาง สวมอปุ กรณ์ป้องกันร่างกาย สวมถงุ มอื และ

น้ำลาย หรือการสมั ผัส กลาง ลา้ งมืออยา่ งถูกวธิ ี ใหย้ าต้านจุลชีพเพื่อป้องกนั

นำ้ มูกโดยตรง

สัมผัสฝอยละอองน้ำมูก ปาน ปานกลาง สวมอุปกรณป์ ้องกนั รา่ งกาย สวมถุงมอื และ

น้ำลาย หรือการสัมผัสกบั กลาง ลา้ งมอื อยา่ งถกู วธิ ี

น้ำมกู โดยตรง

แพร่กระจายจากคนสู่คน ปาน ปานกลาง สวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันร่างกาย สวมถุงมือและ

โดยเช้ือปนมากบั อจุ จาระ กลาง ล้างมอื อย่างถูกวิธีเชอ้ื ไวรัสนเ้ี คยมีการรายงาน

แลว้ เขา้ ส่รู ะบบทางเดนิ การระบาดในหอเดก็ และผปู้ ่วยผู้ใหญ่

อาหารโดยการกิน

21

การติดช้ือ วิธีการแพร่กระจายเชอ้ื ความเสยี่ ง มาตรการเบือ้ งต้นเพ่ือลดความเสยี่ ง
ในการแพร่กระจาย
Rubella
บุคลากร ผ้ปู ว่ ยสู่
Syphilis สู่ผ้ปู ่วย บุคลากร

Streptococcus สัมผสั ฝอยละอองนำ้ มกู ปาน ปานกลาง ได้รับภมู คิ ุ้มกันตามธรรมชาตหิ รือวัคซนี
group A
น้ำลาย หรือการสัมผัสกับ กลาง ปอ้ งกนั โรคหัดเยอรมันสำหรับบุคลากรของ
Scabies*
น้ำมกู โดยตรง ไม่พบการ โรงพยาบาล ให้วคั ซีนแก่ผ้ปู ่วยเมือ่ มรี ายงาน
Staphylococcus
aureus (includes แพรก่ ระจายทางอากาศ การระบาดของโรคตามความเหมาะสม
wound and skin
infection) สถานพยาบาลหลายแห่งใหว้ คั ซีนแกบ่ ุคลากร
Salmonella /
Shigella เพื่อป้องกันโรค

สมั ผัสแผลของผู้ปว่ ยท้งั ไมม่ ี พบน้อย สวมถุงมือและสวมอปุ กรณป์ ้องกนั ร่างกาย
primary และ ข้อมูล ตามความเหมาะสม และล้างมืออย่างถกู วิธี

secondary syphilis

สมั ผสั ฝอยละอองน้ำมกู พบน้อย ไม่มขี อ้ มลู สวมอุปกรณป์ ้องกันรา่ งกาย สวมถุงมือและ
น้ำลายหรือสมั ผัสโดยตรง ล้างมืออยา่ งถูกวิธี ใหย้ าต้านจลุ ชพี แกผ่ ้มู ี
อาการหรือผทู้ ี่แพร่เชอื้
กบั น้ำลายหรือหนองจาก
แผลที่ตดิ เชื้อ

สมั ผัสผิวหนังของผู้ป่วย ตำ่ ต่ำ ค้นหาผู้ทีส่ งสัยวา่ เป็นหิด การใชย้ าทำลายตัว
โดยตรง
หิด สวมถงุ มอื และอุปกรณ์ปอ้ งกันและการลา้ ง
มือ การระบาดของโรคมักเกีย่ วข้องกบั ผ้ปู ่วย
บุคลากร และบคุ คลในครอบครวั

สัมผัสทางตรงและ พบน้อย พบนอ้ ย สวมอุปกรณ์ป้องกนั ร่างกาย สวมถุงมอื และ
ทางอ้อม ลา้ งมืออย่างถกู วธิ ี
เช้ือ S.aureus พบเจริญตามผิวหนังและโพรง

ในจมกู 2-30 % ของประชากร มักพบการ
แพร่กระจายจากผ้ปู ว่ ยสผู่ ู้ป่วย

แพร่กระจายจากคนสคู่ น ตำ่ ต่ำ ล้างมอื โดยเฉพาะอย่างย่งิ เม่อื ออกจากห้องน้ำ
โดยเชือ้ ปะปนมากบั และก่อนเตรียมอาหาร การสวมถุงมือและล้าง

อจุ จาระแล้วปนเปื้อนเขา้ มืออย่างเหมาะสมเมื่อให้การดแู ลผปู้ ว่ ยท่ีกลั้น
ปากจากการรับประทาน อจุ จาระไม่ได้
อาหาร หรอื น้ำ การไดร้ บั เชอ้ื Shigella เพียง 10-100 ตวั ก็
ผปู้ ระกอบอาหารที่มกี าร ป่วยไดแ้ ละเชอ้ื แพรก่ ระจายได้ง่าย
ติดเชื้อซึ่งมีสุขวทิ ยาส่วน ส่วนเชือ้ Salmonella ต้องได้รบั จำนวนเชื้อ
บคุ คลไมด่ ี มากกว่า และมักพบเชื้อในไข่ และสตั ว์ปีก

Tuberculosis (TB) แพรก่ ระจายเช้ือทาง ต่ำถงึ สูง ต่ำถึงสงู คน้ หาผทู้ ่สี งสยั ว่าเป็นวัณโรค จัดใหม้ กี าร
อากาศจากผู้ป่วยวัณโรค ระบายอากาศท่ีดีในบริเวณที่ให้การดูแลผู้ปว่ ย
ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชอื้ ทางอากาศ
ปอด หรือกลอ่ งเสียงท่ีอยู่ บคุ ลากรต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันระบบ
ในระยะแพรเ่ ชื้อ
ทางเดนิ หายใจ ดูแลและให้ยาผู้ติดเชอื้ รายใหม่

22

โรคและระยะเวลาทสี่ ามารถกลบั เขา้ ทำงานได้ในบุคลากรท่ปี ว่ ยดว้ ยโรคติดตอ่
โรค ระยะเวลาทกี่ ลับเขา้ ทำงานได้

สุกใส จนกว่าตมุ่ แหง้

หดั เยอรมัน จนกวา่ ผ่ืนจะหาย (อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ 5 วนั )

ไวรัสตบั อักเสบ เอ อยา่ งนอ้ ย 7 วันหลงั จากอาการตวั เหลือง ตาเหลืองหายไป

ไวรสั ตบั อกั เสบ บี เมื่ออาการดีขึน้ แต่ควรสวมถงุ มอื หากต้องปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่อาจทำใหเ้ กิด tissue trauma หรือ
ตอ้ งสมั ผัสเยื่อบขุ องร่างกาย

หัด เมือ่ ผื่นหาย (อย่างนอ้ ยทสี่ ดุ 4 วนั )

หดิ หลงั ไดร้ ับการรกั ษาแล้ว 24 ช่วั โมง

เจบ็ คอจากเชื้อ หลังได้รับการรักษาแล้ว 24 ช่วั โมง และ/ หรือ ไมม่ อี าการแลว้

Streptococcus gr.A

วณั โรค (ระยะ Active) จนกว่าจะไดร้ ับการรกั ษาทเ่ี หมาะสมเปน็ ระยะเวลานาน 2 สปั ดาห์ และอาการดีข้ึน และผล
การตรวจเสมหะเป็นลบ ตดิ ตอ่ กัน 3 ครง้ั

เอดส์ ขน้ึ อยูก่ ับการพิจารณาของหน่วยบรกิ ารสขุ ภาพและคณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมการ
ตดิ เช้ือในโรงพยาบาล

ฝมี หี นอง จนกวา่ จะหาย ถ้าบคุ ลากรตอ้ งสัมผัสกับผปู้ ว่ ย

อุจจาระร่วง จากเช้อื แล้วแตบ่ ุคคล ขึ้นอย่กู ับอาการและอาการแสดง และผลการตรวจเพาะเชื้อรวมท้ังการประเมนิ
- Salmonella ของหน่วยบริการสขุ ภาพ
- Shigella

Herpes simplex ทหี่ นา้ ข้นึ อย่กู บั การพจิ ารณาของหน่วยบริการสขุ ภาพ แต่ไม่ควรปฏบิ ัตงิ านในหน่วยทมี่ ีความเส่ียงสูง
และริมฝปี าก

Herpes zoster หากทำงานได้อนุญาตใหท้ ำงานได้ แต่ต้องไมส่ ัมผสั ผู้ปว่ ยและไมป่ ฏบิ ัตใิ นหนว่ ยทมี่ คี วามเสยี่ งสงู

23

7. การป้องกันการติดเช้ือระบบทางเดนิ หายใจสว่ นล่าง

กระบวนการ การปฏิบัติ

1. การใสท่ อ่ หลอดลมคอ 1. ลา้ งมือแบบ hygienic hand washing กอ่ นและหลังการใสท่ อ่
และเจาะคอ 2. ยดึ หลัก Aseptic technique

2. การดแู ลผปู้ ่วยใสท่ อ่ หลอดลม 1. ลา้ งมอื ทุกคร้งั ก่อนและหลังดแู ลผูป้ ่วย
คอ หรือท่อเจาะคอ 2. ในผู้ปว่ ยรายเดยี วกันต้องล้างมือทกุ ครง้ั กอ่ นและหลงั สัมผัสตำแหน่งอนื่

ของรา่ งกาย และกอ่ นทีจ่ ะดูแลระบบทางเดนิ หายใจ
3. ทำความสะอาดชอ่ งปากและฟนั อยา่ งน้อย วนั ละ 2 ครั้ง
4. กรณีใสท่ อ่ เจาะคอให้ทำความสะอาดอย่างนอ้ ย 3 ครงั้ / วัน หรือเมอื่ เปอ้ื น

เสมหะ

5. ทำความสะอาดท่อชั้นในอยา่ ง นอ้ ยวันละ 3 คร้ัง หรือเมื่อสกปรก
6. พลกิ ตะแคงตวั ทุก 2 ชัว่ โมง หากไม่มขี อ้ หา้ ม
7. กรณมี ีเครอื่ งตรวจ pressure cuff ใหต้ รวจอย่างนอ้ ยทกุ 8 ช่ัวโมง โดยใหม้ ี

pressure 20-30 mmHg

3. การดูดเสมหะ 1. ดดู เมอ่ื มีข้อบง่ ช้ี
1.1 หลงั เจาะคอใหม่ ๆ
1.2 ผู้ป่วยทีข่ อใหด้ ดู เสมหะ
1.3 ก่อนเอาท่อชว่ ยหายใจออก (กอ่ น deflation of cuff)
1.4 กอ่ นใหอ้ าหารทางสายยาง

2. เตรียมเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้
2.1 เครอื่ งดูดเสมหะใหต้ ้ังแรงดดู (1 ทอรร์ = 1 mmHg.)
- 90-120 ทอรร์ สำหรบั เดก็ โต
- 160-180 ทอรร์ สำหรบั ผใู้ หญ่

2.2 ขวดรองรับเสมหะให้รองรับได้ไมเ่ กินขีดที่กำหนดแล้วเททง้ิ ในชักโครก
ล้างขวดด้วยผงซักฟอกและนำ้ ให้สะอาดกอ่ นนำไปใช้ครั้งตอ่ ไป กรณมี ี
สารนำ้ จากการดูดเสมหะน้อย ใหท้ ำความสะอาดทุก 8 ชัว่ โมง

2.3 สายดูดเสมหะขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางภายนอกไม่ควรเกนิ ½ ของ
ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางของทอ่ หลอดลม และให้ใช้ครั้งเดยี วทง้ิ

3 การดดู เสมหะ
3.1 ผดู้ ดู เสมหะควรสวมผา้ ปดิ ปาก-จมูก และแวน่ ปอ้ งกนั ตา
3.2 ผดู้ ูดเสมหะควรสวมถงุ มือปราศจากเชอื้ ขา้ งทีถ่ นัด อีกมือหนง่ึ จับสาย
ท่ตี อ่ จากเครอ่ื งท่บี รเิ วณ Y connector มอื ขา้ งท่สี วมถุงมอื จบั สายดูด

เสมหะไว้
3.3 เช็ดข้อตอ่ ตา่ ง ๆ ด้วย 70% Alcohol กอ่ นถอดและกอ่ นสวมข้อตอ่ ของ

สายเคร่ืองช่วยหายใจ
3.4 เปิดเครื่องดดู เสมหะดว้ ยมือขา้ งที่ไมใ่ ส่ถงุ มือ บอกให้ผปู้ ว่ ยไอก่อนดดู

เสมหะ
3.5 สอดสายดดู เสมหะเข้าในหลอดลมคอจนผ้ปู ว่ ยเรม่ิ ไอ (ในผูใ้ หญ่ไมเ่ กิน 15-

20 cm. จากทอ่ หลอดลมคอ) ปดิ รูที่ Y connector เพอื่ ให้เกิดแรงดดู
3.6 ดงึ สายออกดว้ ยมอื ข้างที่ถนดั พร้อมกับหมนุ สายไปทางซา้ ยและขวา
3.7 ระยะเวลาทสี่ อดสายเข้า-ออกไม่ควรเกิน 10 วนิ าทใี นผู้ใหญ่ และ 5 วนิ าที

ในเดก็ ถา้ ต้องดูดเสมหะซำ้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยพกั 2-3 นาที ก่อนทจ่ี ะดูดครงั้ ตอ่ ไป

24

กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ
3.8 หลังดดู เสมหะแล้วหากมนี ำ้ ลายหรือเสมหะอยรู่ อบ ๆ ทอ่ หลอดลมให้
4. การปอ้ งกนั การสูดสำลักของ
ผปู้ ่วย ใช้สายดดู เสมหะท่ีใช้แลว้ นั้นดดู ได้
3.9 ดดู นำ้ ประปาเพ่อื ล้างสายดูดเสมหะปดิ เครือ่ งแลว้ ถอดสายดดู เสมหะท้ิง
5. การดูแลอปุ กรณเ์ ก่ยี วกบั การ
หายใจ ในถังขยะตดิ เช้อื
3.10 ถอดถุงมือทง้ิ ในถงั ขยะตดิ เช้ือ
3.11 ลา้ งมือแบบ hygienic hand washing

1. จดั ทา่ ใหน้ อนหัวสงู 30-45 องศา ถา้ ไม่มขี ้อห้าม
2. ควรเลือกใช้ยาทไ่ี ม่ลดกรดในกระเพาะอาหาร สำหรับปอ้ งกัน stress ulcer
3. ในผปู้ ่วยท่ีใส่ท่อใหอ้ าหาร (feeding tube) ควรตรวจใหแ้ นใ่ จว่าอยใู่ นตำแหน่ง

ที่ถกู ตอ้ งก่อนการใหอ้ าหารทกุ ครัง้

1. ชดุ เครอ่ื งมอื ต้องได้รบั การทำลายเชอ้ื หรอื ทำใหป้ ราศจากเชื้อกอ่ นนำไปใช้แก่
ผู้ปว่ ยใหม่ทกุ ราย

2. เตมิ น้ำปราศจากเชื้อในเครือ่ งสร้างความชืน้ (humidifier) หรือเคร่อื งทำละออง
ฝอย (nebulizer) ทกุ 8 ชว่ั โมง สว่ นน้ำปราศจากเช้อื หลงั เปดิ ใช้แล้วใหก้ ำหนด
วนั หมดอายภุ ายใน 24 ชั่วโมง

3. เคร่อื งทำละอองฝอยทจี่ ะนำกลับมาใช้ซ้ำต้องทำให้ปราศจากเชอ้ื
4. ยาพน่ ละอองฝอยต้องปราศจากเช้ือเปน็ ผลติ ภัณฑท์ ี่ใช้ครงั้ เดยี ว กรณที ่ีใช้

หลายคร้งั ให้เก็บได้ไม่เกิน 24 ชวั่ โมง
5. อุปกรณเ์ กย่ี วกับการหายใจอ่นื ๆ เช่น

5.1 ใช้ Ambu bag 1 ตัว/ ผู้ป่วย 1 ราย หลงั ใชแ้ ล้วให้สง่ ไปทำลายเช้ือ หรอื
ทำใหป้ ราศจากเชอื้ ทีห่ นว่ ยจ่ายกลาง

5.2 สายออกซเิ จน (oxygen canular) หน้ากากออกซเิ จน (oxygen mask)
ให้ทำความสะอาดและทำให้แหง้ กอ่ นใชก้ ับผู้ป่วยรายเดิม ถา้ จะใช้กับ
ผปู้ ่วยรายอ่ืนตอ้ งไดร้ บั การทำลายเชือ้ กอ่ น

25

8. การปอ้ งกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผ้ปู ่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

กระบวนการ การปฏิบัติ

การป้องกันการติดเชอ้ื ในระบบ ปัจจัยสำคญั ของการตดิ เช้ือในระบบทางเดนิ ปัสสาวะจากการคาสายสวน
ทางเดินปสั สาวะ ในผูป้ ่วยทคี่ าสาย ปัสสาวะ (Catheter Associated Urinary Tract Infection: CAUTI) คือแบคทีเรีย
สวนปัสสาวะ เข้าสทู่ างเดนิ ปสั สาวะโดยผา่ นทางรู (lumen) หรือชอ่ งว่างระหว่างสายสวนกับผนัง
ของทอ่ ปสั สาวะ อัตราการตดิ เช้ือในระบบทางเดนิ ปสั สาวะจากการคาสายสวนมี

ความสมั พันธก์ บั ระยะเวลาท่ใี สส่ ายสวนปสั สาวะ ดงั นัน้ จึงควรนำสายสวนออก
โดยเร็วเทา่ ทจ่ี ะทำได้

หลกั การปอ้ งกนั การติดเชือ้ ในระบบ 1. หลกี เล่ยี งการสวนคาสายสวนปัสสาวะโดยไมจ่ ำเป็น
ทางเดินปสั สาวะ 2. ขณะใส่สายสวนต้องใสอ่ ยา่ งถูกตอ้ งตามหลัก Aseptic technique โดยผ้มู ี

ความรคู้ วามชำนาญ
3. รีบถอดสายสวนออกโดยเร็วทส่ี ดุ เมือ่ หมดความจำเปน็
4. ดูแลสายสวนไม่ใหอ้ ุดตันและการระบายปสั สาวะใหเ้ ปน็ ระบบปิดตลอดเวลา
5. จัดเตียงผูป้ ่วยทีค่ าสายสวนให้อยู่ห่างกัน เพ่ือลดการ Cross infection
6. ควรใส่สายสวนปัสสาวะเม่อื มขี ้อบง่ ชี้ ได้แก่

6.1 ผู้ป่วยทม่ี ปี ัญหาทางกายวภิ าคทที่ ำใหม้ กี ารอดุ กัน้ ของทางเดินปสั สาวะ
6.2 เพือ่ บนั ทึกปรมิ าณปัสสาวะในรายทตี่ ้องประเมินสภาวะการไหลเวียน
6.3 มีการผา่ ตัดในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
6.4 เพือ่ การวินิจฉยั โรค หรือเพอื่ ใหย้ ารกั ษา

ข้นั ตอนและวิธกี ารสวนปัสสาวะ 1. อธิบายให้ผูป้ ่วยและญาตทิ ราบถึงความจำเปน็ ภาวะแทรกซอ้ น และการปอ้ งกัน
2. ล้างมือใหส้ ะอาด จัดเตรยี มอปุ กรณใ์ หพ้ ร้อม ดว้ ยหลัก Aseptic technique

เตรียม 0.9% NSS และ K-Y jelly (บีบส่วนแรกทิ้งก่อน)
3. ปดิ ม่าน จัดทา่ โดยให้ผ้หู ญงิ นอนหงายชันเข่า สว่ นผู้ชายนอนหงาย เทา้ ราบ
4. ลา้ งมอื ดว้ ยสบู่ทีม่ สี ่วนผสมของน้ำยาฆา่ เชอื้ (Hand hygiene washing)

5. เปดิ ชดุ สวนปสั สาวะด้วยเทคนิคปลอดเชอื้ คล่ีผา้ หอ่ ชุดสวนใหช้ ดิ กน้ ผปู้ ่วย
6. สวมถงุ มอื ปลอดเช้อื ปผู า้ ส่เี หล่ยี มเจาะกลาง และหลอ่ ล่นื สายด้วย K-Y jelly
7. สำหรับผ้ปู ่วยหญิง

7.1 ใชม้ อื ข้างท่ีไมถ่ นัดแหวกและทำความสะอาด labia รูทอ่ ปสั สาวะ และ
รอบ ๆ meatus ดว้ ย 0.9% NSS โดยระวังไมใ่ หม้ ือสมั ผสั กับรา่ งกาย
ผ้ปู ว่ ยหรือส่วนอืน่

7.2 ใช้มือขา้ งท่ถี นดั จับสายสวนที่หล่อล่ืนแลว้ สอดเข้าในทอ่ ปสั สาวะชา้ ๆ
และนุม่ นวลเพอ่ื ป้องกันการระคายเคืองท่อปสั สาวะจนกระท่ังน้ำปัสสาวะ
ไหลออกมา (ประมาณ 3-4 นิ้ว)

8. สำหรบั ผ้ปู ว่ ยชาย
8.1 จับองคชาตยกขน้ึ ทำมมุ ประมาณ 60-90 องศา แลว้ ร่นหนังหุม้ ปลาย

องคชาตลงให้เห็นรูเปดิ ท่อปัสสาวะ
8.2 ทำความสะอาดรูเปิดท่อปัสสาวะดว้ ยสำลชี ุบ 0.9% NSS เชด็ วนเป็น

วงกลมออกไปรอบปลายองคชาต ระวงั มือสมั ผัสส่วนอื่นของร่างกาย
8.3 ใช้มือข้างท่ีถนัดจับสายสวนที่หล่อลน่ื แล้วสอดเข้าในท่อปัสสาวะช้า ๆ

และนุม่ นวลเพอื่ ป้องกนั การระคายเคืองท่อปัสสาวะจนกระท่งั นำ้ ปัสสาวะ
ไหลออกมา (ประมาณ 7-8 น้ิว)
8.4 รน่ ปลายหนังหุม้ องคชาตขึ้น

26

กระบวนการ การปฏิบตั ิ
การดแู ลผูป้ ว่ ยทคี่ าสายสวน
ปสั สาวะ ▪ กรณีการคาสายสวนไวใ้ หใ้ ส่ Sterile water ประมาณ 8-10 cc. เขา้ ในกระเปาะ
แลว้ ตอ่ สายสวนเข้าถงุ รองรบั ปสั สาวะที่ปลอดเช้ือแบบ closed system ทนั ที
การเปล่ยี นสายสวนปัสสาวะ
▪ ตรึงสายสวนปัสสาวะด้วยพลาสเตอรเ์ พื่อป้องกันการเล่ือนเข้า-ออกของสาย
▪ ถอดถงุ มือและล้างมอื ด้วยสบู่ท่มี ีสว่ นผสมของน้ำยาฆ่าเชื้อ
▪ กรณีท่ผี ู้ปว่ ย Poor hygiene ใหฟ้ อกอวัยวะเพศของผปู้ ่วย ดว้ ยน้ำและสบู่ใน

ห้องน้ำ หรือทีเ่ ตียงแลว้ ซับใหแ้ หง้ กอ่ นสวนปัสสาวะ

1. ทำความสะอาดสายสวนที่อย่ภู ายนอกทีต่ ่อกับรเู ปิดของท่อปสั สาวะดว้ ยสบู่และ
น้ำอยา่ งน้อย วนั ละ 2 คร้งั

2. ตรวจดใู ห้ปัสสาวะไหลลงถุงรองรับได้สะดวก สายไม่พับงอหรืออดุ ตัน
3. ดูแลใหถ้ งุ รองรับปสั สาวะอย่ใู นระดบั ต่ำกว่ากระเพาะปสั สาวะในทศิ ทางท่ีตั้ง

ฉากกับพ้ืน และไมใ่ หถ้ ุงอยู่ติดกบั พ้ืน
4. การเกบ็ ปัสสาวะสง่ ตรวจหรอื เพาะเชอ้ื ใหห้ นบี สายถงุ ปัสสาวะสว่ นตน้

ประมาณ 5-10 นาที เช็ดสว่ นทเ่ี ป็นยางด้วย 70% Alcohol แลว้ ดดู ปัสสาวะ
ตำแหน่งเหนือที่หนบี สายดว้ ย Sterile syringe พรอ้ มเข็มเบอร์ 23
5. การตวงหรือเทปัสสาวะ

5.1 ทำอย่างนอ้ ยเวรละ 1 ครง้ั หรอื ตามความเหมาะสมของผูป้ ่วยแต่ละราย
5.2 เชด็ รูเปิดของถุงรองปสั สาวะด้วย 70% Alcohol ทกุ ครง้ั และควรทำ

ด้วยเทคนิคการปลอดเชอื้
5.3 ก่อนและหลังการตวงปสั สาวะผู้ปว่ ยแต่ละราย ต้องลา้ งมอื ให้สะอาด

ดว้ ยสบผู่ สมนำ้ ยาฆ่าเชือ้
6. หลีกเล่ยี งการ irrigate ท่อปัสสาวะ หากจำเปน็ ต้องทำใหเ้ ช็ดบริเวณขอ้ ต่อของ

สายสวนกอ่ นถอดและกอ่ นสวมเขา้ หากัน ดว้ ย 70% Alcohol ทุกครัง้ และ
ทำดว้ ยเทคนคิ การปลอดเช้อื โดยผูม้ คี วามรู้ความชำนาญเทา่ นน้ั
7. เมื่อต้องเคลอื่ นย้ายหรอื พลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วยให้หนีบสายสวนไวเ้ พอื่ ป้องกัน
การไหลยอ้ นกลับของปัสสาวะและปลดที่หนบี ออกทนั ทที ี่ปฏบิ ตั ิกิจกรรมนนั้
เสร็จ

8. การเกบ็ ปัสสาวะสง่ ตรวจ
8.1 ควรเก็บตอนเช้า
8.2 ภาชนะที่ใช้เก็บต้องปราศจากเชือ้
8.3 หลงั เก็บปสั สาวะแล้วใหส้ ่งตรวจให้เรว็ ทีส่ ดุ ระบุวันที่ และเวลาท่ีเกบ็ ลง
ในใบ request ทุกครงั้

การเปลี่ยนสายสวนปสั สาวะ ควรเปลยี่ นเมอื่ รวั่ อุดตัน หรือปสั สาวะมตี ะกอน
สำหรับผู้ป่วยท่ีตอ้ งคาสายสวนไวน้ าน ๆ ต้องกำหนดเวลาเปลี่ยนของแตล่ ะคน โดย
การทดสอบซำ้ ๆ จากการคาสายสวนไว้คร้ังแรก 2 สปั ดาห์ แลว้ เปลีย่ นใหม่
(ศัลยแพทยบ์ างท่านอาจจะกำหนด 3 สัปดาห์) ถ้าไม่พบการเกาะของหินปนู ใหย้ ืด
ระยะเวลาออกไปเป็น 4 สัปดาห์

ระยะเวลาการเปลยี่ นสายสวนทถี่ ูกตอ้ งในผปู้ ่วยแต่ละราย คอื ระยะเวลานาน
ท่ีสุด ทไี่ มม่ ีหินปูนเกาะมาก จนเปน็ อุปสรรคตอ่ การดึงสายสวนออก

27

9. การป้องกนั การตดิ เชื้อที่แผล/ แผลผ่าตดั / แผลเยบ็

กระบวนการ การปฏิบตั ิ

การป้องกันการติดเชือ้ ทีแ่ ผล/ แผล ในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์อาจจะมีการทำหัตการหรือผา่ ตดั เลก็ เช่น
ผา่ ตัด/ แผลเย็บ suture, หรอื cut down เป็นต้น สว่ นการผ่าตดั ทต่ี ้องทำในหอ้ งผา่ ตดั จะส่งผู้ปว่ ย
ไปรักษาที่โรงพยาบาลท่เี กยี่ วข้อง เมื่อตอ้ งสง่ ผู้ปว่ ยไปรบั การผา่ ตดั ท่โี รงพยาบาลที่
เกี่ยวข้องให้พจิ ารณา เรื่องระยะเวลาก่อนการผ่าตัด โดยยึดหลักวา่ ให้ผู้ป่วยอยใู่ น
โรงพยาบาลทจี่ ะทำผา่ ตดั ในระยะเวลากอ่ นผ่าตัดสัน้ ทสี่ ุดถา้ ทำได้ และถ้ามโี รคอืน่ ๆ

ควรรกั ษาใหด้ ขี ึน้ หรอื ให้หายก่อนผ่าตัด

การเตรียมผปู้ ว่ ยกอ่ นผ่าตัด การ 1. ไมโ่ กนขนผู้ป่วย ถา้ จำเปน็ ต้องกำจัดขนใหข้ ลิบด้วยกรรไกร หรอื ปัตตาเลีย่ น
กำจดั ขน/ ทำความสะอาดร่างกาย 2. กรณที ่ีต้องกำจดั ขนให้กำจดั ทันทีก่อนเข้าหอ้ งผ่าตัด เย็บแผล หรอื ทำหตั การ

การเตรยี มผิวหนงั 3. ดูแลให้ผู้ปว่ ยอาบนำ้ สระผมใหส้ ะอาดคืนวนั ก่อนผ่าตดั
4. นำ้ ยาทำลายเชื้อสำหรับการทำหตั ถการท่ีใชใ้ นโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ คอื

10% Povidone Iodine

การเตรยี มตวั ของบคุ ลากร 1. ล้างมือแบบ Hand hygiene washing
2. ไม่ไวเ้ ล็บยาว ไมใ่ ส่เล็บปลอม
3. ไมใ่ ส่เคร่ืองประดับทีม่ ือและแขน
4. เคร่อื งมือ/ อุปกรณ์ และผา้ ส่ีเหล่ียมเจาะกลางทำใหป้ ราศจากเชื้อตามมาตรฐาน

การใช้ยาปฏิชีวนะเพ่ือป้องกันการ ยาปฏิชวี นะทีใ่ ชป้ อ้ งกนั การตดิ เชื้อที่แผลให้ใช้ในรายทมี่ ีขอ้ บง่ ชหี้ รอื ตามการ

ติดเชอ้ื ทแ่ี ผลผ่าตัด/ แผลเยบ็ พิจารณาของแพทย์ ซึง่ จะตอ้ งระบุเหตผุ ลของการใช้ยาใหช้ ดั เจน

ขอ้ ปฏบิ ัติระหว่างผ่าตดั / ทำ 1. สวมอุปกรณป์ ้องกันร่างกายอย่างถกู ต้องและเหมาะสม
หัตถการ 2. ปดิ ประตหู อ้ ง และห้ามเปดิ พดั ลมบรเิ วณท่ที ำหตั ถการ
3. จำกดั จำนวนบุคลากรในหอ้ ง/ บรเิ วณท่ที ำหัตถการ

ข้อปฏิบตั ิหลงั ผา่ ตัด 1. ไมเ่ ปดิ แผลผ่าตัดกอ่ น 24-48 ช่ัวโมง ยกเวน้ กรณีแผลมเี ลือด/discharge มาก
2. ล้างมือแบบ Hand hygiene washing ก่อนและหลังทำแผลผา่ ตดั
3. ยดึ หลัก Aseptic technique ในการทำแผล และใหท้ ำแผลสะอาดกอ่ นแผล

ติดเช้อื

การทำความสะอาดห้อง/ บริเวณทำ 1. ทำความสะอาดพ้ืนดว้ ยน้ำและผงซักฟอก

หัตถการ 2. กรณมี กี ารปนเป้อื นของเลือดหรอื สงิ่ คัดหล่ังบนพน้ื ผิวทตี่ ้องสัมผัส หลงั ทำ

ความสะอาดด้วยนำ้ และผงซักฟอกแล้วให้เช็ดตามดว้ ย 70% Alcohol

28

10. การป้องกนั การติดเชอื้ ท่ีผิวหนงั และเนื้อเย่อื ชน้ั ใตผ้ วิ หนัง

กระบวนการ การปฏิบตั ิ
การป้องกันการแพร่กระจายเช้อื
1. ทำความสะอาด ทำลายเชอื้ และทำให้ปราศจากเช้อื อปุ กรณ์ทางการแพทย์ และ
สิง่ แวดลอ้ มอย่างถูกต้องเหมาะสม

2. ล้างมอื แบบ Hand hygiene washing กอ่ นและหลงั ทำแผล

การลดความร้อน/ ความชน้ื 1. ดแู ลให้มีการระบายอากาศท่ดี ี
2. ตดิ ตั้งพัดลม หรือเครอ่ื งปรบั อากาศ
3. ลดความรอ้ นและความเปียกชืน้ ของรา่ งกาย โดยเลอื กใชผ้ า้ ท่ีระบายความร้อน

ไดด้ ี เปลยี่ นเสอ้ื ผ้าเมื่อสกปรกหรอื เปียกช้นื ทกุ คร้ัง

การจัดการเก่ยี วกับสารเคมีทร่ี ะคาย 1. ดูแลไม่ให้สงิ่ ขบั ถ่ายสมั ผสั ผิวหนังนาน
เคอื ง 2. เลอื กใช้สบู่อ่อนทำความสะอาดผิวหนัง
3. หลีกเลย่ี งสารเคมีท่ีทำให้เหงื่อระเหยยาก ระคายเคืองหรือทำให้ผิวแห้งแตก

การลดภยันตรายตอ่ ผวิ หนงั 1. ปอ้ งกันการเกา ขดี ขว่ นผิวหนังของผปู้ ว่ ย
2. ระมดั ระวังไมใ่ หเ้ กิดรอยแผลถลอก หรือแผลจากการดูแลที่ไมถ่ กู ต้อง

การปอ้ งกนั การเกิดแผลกดทับ 1. แก้ไขปัจจยั เส่ยี ง เช่น
1.1 แก้ไขภาวะทุพโภชนาการ
1.2 รักษาโรคทจ่ี ำกัดการเคล่อื นไหวของผปู้ ่วย
1.3 เพม่ิ การไหลเวยี นของเลือด เชน่ แก้ไขภาวะขาดน้ำ/ โลหติ จาง

2. ดูแลผู้ปว่ ยอยา่ งถกู ตอ้ งโดยเฉพาะผ้ปู ่วยทเ่ี คลื่อนไหวไม่ได้ โดย
1.1 เปลีย่ นทา่ นอนอย่างน้อยทุก 2 ชัว่ โมง
1.2 ยกตัวแทนการลากหรือผลักตัวผปู้ ว่ ย

1.3 จัดทา่ นอนที่ลดการกดทบั ปุม่ กระดกู
1.4 ใช้ท่ีนอนลมหรอื อุปกรณร์ องรบั ป่มุ กระดูก
1.5 ปรับเตยี งเพือ่ ปอ้ งกนั การลื่นไหลเม่อื จัดท่านัง่
1.6 เพ่มิ การไหลเวียนของเลอื ดโดยการนวด
1.7 ดแู ลผิวหนังให้สะอาด ไมเ่ ปยี กชืน้
1.8 ดูแลเคร่ืองนอนใหแ้ ห้งและเรียบ
1.9 ดแู ลเสอื้ ผ้าให้แหง้ สะอาด

29

11. การปอ้ งกนั การตดิ เช้อื จากการไดร้ บั สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย

กระบวนการ การปฏิบตั ิ

แนวทางปฏบิ ัติ และการดแู ล 1. ต้องปฏบิ ัตดิ ว้ ยเทคนคิ ปลอดเชอื้ ทกุ ข้นั ตอน
บรเิ วณทแี่ ทงเขม็ หรอื บรเิ วณทีใ่ ห้ 2. ล้างมอื อย่างถกู ต้องแบบ hygiene hand washing หรอื ล้างมอื ด้วยนำ้ ยา
สารน้ำ
ทำลายเช้อื อย่างถกู วธิ ี

3. ถุงมือ ตอ้ งสวมถุงมอื สะอาดเมือ่ ใสส่ ายสวนหลอดเลือดส่วนปลาย และสวม
ถงุ มอื ปราศจากเชือ้ เม่อื ทำ cut down

4. การแทงเขม็ หรือการใส่สายสวน
4.1 การเลอื กตำแหน่งการแทงเขม็ ควรเลือกหลอดเลอื ดหลังมือ หลีกเล่ียง
บริเวณข้อพบั ตา่ ง ๆ และการทำ Cut down
4.2 เลีย่ งบริเวณทม่ี พี ยาธสิ ภาพ เชน่ ผิวหนังอักเสบ ถูกไฟไหม้ นำ้ ร้อนลวก

5. การทำความสะอาดกอ่ นแทงเข็ม หรอื ใสส่ ายสวน
5.1 หา้ มโกนขนที่ผิวหนัง หากขนยาวให้ใช้วิธขี ลิบแทน
5.2 เชด็ บริเวณทแี่ ทงเข็มดว้ ยน้ำยาฆา่ เชอ้ื ซ่ึงในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์
กำหนดใหใ้ ช้ 70% Alcohol สำหรับการใส่สายสวนหลอดเลอื ดดำ
สว่ นปลาย และใช้ 10% Povidone Iodine สำหรับการทำ cut down

5.3 หลังเชด็ ดว้ ยน้ำยาฆ่าเชอ้ื แล้วไม่ควรสมั ผัสหรือคลำบริเวณท่ีจะแทงเข็ม
ตรึงแขนหรือสายสวนใหแ้ นน่ เพื่อป้องกันการขยับเขา้ ออกของสาย และ
ปิดบรเิ วณทใ่ี สส่ ายสวนด้วยพลาสเตอร์ปราศจากเช้อื

การบริหารจดั การยา หรอื สาร หากมยี าหรือสารท่ีสำหรบั ผสมสารนำ้ ซ่ึงต้องใช้หลายครัง้ ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี
สำหรบั ผสมสารน้ำทต่ี อ้ งใชห้ ลาย 1. เกบ็ ขวดยาท่เี ปดิ แล้วไว้ในตู้เยน็ ตามคำแนะนำของบรษิ ัทผู้ผลิต
คร้งั 2. ทำลายเชอื้ บรเิ วณจุกยางด้วย 70% Alcohol กอ่ นดูดยาออกมา
3. ก่อนดดู ยาจากขวดต้องใช้อปุ กรณท์ ี่ปราศจากเช้ือและระมัดระวงั การ

Contaminate บริเวณจกุ ยางทีข่ วดยา

4. ทงิ้ ขวดยาเมอ่ื หมด หรอื เมื่อสงสัยว่า Contaminate หรอื หมดอายุ

การเปล่ียนบริเวณทใ่ี ห้สารน้ำ ชุดให้ 1. เปล่ียนสารน้ำ ทกุ 24 ช่ัวโมง ถา้ เปน็ ประเภทไขมนั ใหเ้ ปลยี่ นทกุ 12 ชัว่ โมง
สารน้ำ และ sterile plaster
2. เปลย่ี นเขม็ ตำแหน่งท่ใี หส้ ารนำ้ และชุดใหส้ ารน้ำ ทุก 72 ชัว่ โมง สว่ นชุด
ให้เลอื ดหรอื ชดุ ให้ผลติ ภณั ฑ์จากเลือดใหเ้ ปลีย่ นหลังเสร็จทันที

3. เปล่ียน sterile plaster ทปี่ ดิ บรเิ วณท่ใี หส้ ารนำ้ เม่ือ หลดุ สกปรก เปยี กช้ืน
หรือเปล่ียนเขม็ ทุกครัง้

การเฝ้าระวัง ( Surveillance for 1. ตดิ ตามเฝา้ ระวงั ดแู นวโน้มของอตั ราการตดิ เชอื้ ท่สี ัมพนั ธก์ บั การใสส่ ายสวน
catheter ) และคน้ หาข้อบกพรอ่ งในการปฏบิ ตั ิการควบคุมการติดเช้อื

2. ควรมกี ารตรวจบริเวณที่ใสส่ ายสวนทุกวัน วา่ มอี าการกดเจบ็ หรอื ไม่
3. ตรวจวดั สัญญาณชีพ หากมไี ขไ้ มท่ ราบสาเหตหุ รือมกี ารตดิ เชื้อเฉพาะท่ีหรือ

กระแสเลือดใหส้ งสัยภาวะแทรกซอ้ นจากการใหส้ ารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ
4. บันทกึ วันและเวลาทใี่ ส่สายสวนท่สี ายของชดุ ใหส้ ารนำ้

กรณที ผ่ี ู้ปว่ ยไดร้ ับสารน้ำจากสถานพยาบาลอน่ื หรือไดร้ บั สารน้ำแบบฉุกเฉนิ
ให้เปลยี่ นสารน้ำ ชุดใหส้ ารน้ำ และบริเวณท่แี ทงเข็มทนั ทที ่ีทำได้ ณ หอผ้ปู ่วยทีร่ ับ Admit

30

กระบวนการ 12. การจดั การสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมในโรงพยาบาล
จดุ ม่งุ หมายของการจัดการ
สุขาภบิ าลสง่ิ แวดล้อมใน การปฏิบัติ
โรงพยาบาล 1. เพอ่ื ใหส้ ิง่ แวดล้อมในโรงพยาบาลปลอดภัยต่อผใู้ ช้บริการและบคุ ลากร และ
สาเหตุการปนเปือ้ นเชือ้ ใน
สิ่งแวดล้อม ไม่ส่งเสรมิ ให้การเจรญิ และการแบง่ ตวั ของเชือ้ จุลชีพ
2. เพอ่ื ปอ้ งกนั ผู้ป่วยและบคุ ลากรจากการปนเป้ือนของเช้ือทม่ี ใี นสิ่งแวดล้อม
หลักการทำความสะอาด 3. เพอ่ื ป้องกันการแพรก่ ระจายเช้อื จากผูป้ ่วยและบคุ ลากรสูส่ งิ่ แวดล้อม

ข้อควรปฏบิ ัติ การปนเปื้อนเชือ้ ในสิ่งแวดล้อม เกิดจาก
1. เลือดหรือสารคดั หลั่งทป่ี นเปื้อนส่งิ แวดลอ้ ม แลว้ ทำความสะอาดไม่เหมาะสม
นำ้ ยาท่ใี ช้ทำความสะอาด 2. อุปกรณ์เครื่องมอื ทางการแพทย์ รวมถึงส่งิ ของเคร่อื งใช้ เสื้อผ้า เคร่อื งนุ่งหม่ ที่

การจดั หอผู้ป่วย ใช้กับผู้ป่วยแลว้ ทำความสะอาดไม่เหมาะสม
3. เศษวัสดแุ ละมูลฝอยตา่ ง ๆท่เี กดิ จากการใหก้ ารรกั ษาพยาบาลผูป้ ว่ ยติดเช้ือ
4. หอ้ งน้ำ หอ้ งสว้ มท่ีชืน้ แฉะ และการระบายอากาศไมด่ พี อ

1. ทำความสะอาดพนื้ ท่สี ะอาดก่อนพืน้ ทีส่ กปรก
2. หากเป็นไปไดใ้ ห้ถูพ้นื แทนการกวาดพ้นื เพราะจะทำใหเ้ ชอ้ื โรคฟุง้ กระจาย
3. หา้ มกวาดพื้นหรอื ปัดฝุ่นในบริเวณท่ใี กล้กบั บรเิ วณที่ทำหตั การ เช่น การให้

สารน้ำ การใสส่ ายสวนปสั สาวะ
4. หอ้ งแยกและบรเิ วณสะอาด เช่นหอ้ งเตรียมยาใหท้ ำความสะอาดโดยการถู

เทา่ น้ัน
5. เมอ่ื มเี ลอื ดหรือสารคดั หลัง่ หกเรี่ยราดให้ปฏบิ ัตติ ามแนวทางการทำความสะอาด

ทก่ี ำหนด

1. บคุ ลากรทีท่ ำความสะอาดไมส่ วมแหวนหรือสร้อยข้อมือ ขณะปฏิบัติงาน
2. ลา้ งมอื ก่อนและหลงั สวมถงุ มือยางอย่างหนาทกุ ครงั้
3. ห้ามสวมถงุ มอื ทีผ่ ่านการจบั สง่ิ สกปรกมาแล้ว สมั ผัสสิ่งอ่ืนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง

ลูกบดิ ประตู หรือโทรศพั ท์ เป็นตน้ เพราะจะให้แพร่กระจายเชื้อ
4. ถูพื้นในหอผู้ป่วยทุกเชา้ โดยใชน้ ้ำ 2 ถัง

4.1 ถังแรกใสน่ ้ำผสมผงซักฟอก บิดใหห้ มาดๆ เพอ่ื ใชถ้ ูพ้นื คร้งั แรก
4.2 ถงั ท่ีสองใสน่ ำ้ สะอาด เพือ่ ใชถ้ ูพน้ื หลังถูดว้ ยนำ้ ผสมผงซกั ฟอกแลว้
5. เปลย่ี นนำ้ ทุกคร้งั เม่อื สกปรก
6. การทำความสะอาดห้องแยกโรคตดิ เช้ือหรอื ห้องแยกโรคผู้ปว่ ยมีเชือ้ ดื้อยา ใช้
น้ำยาอปุ กรณแ์ ละถุงมือทำความสะอาดในสว่ นของผู้ปว่ ยแตล่ ะรายแยกจากกัน
โดยทำความสะอาดเป็นส่วนหลงั สดุ

1. การทำความสะอาดทวั่ ไป เช่น พน้ื ต้เู ส้ือผา้ โตะ๊ ข้างเตยี ง ห้องน้ำหรอื unit
ผู้ปว่ ย ใหใ้ ช้น้ำผสมผงซักฟอก

2. การทำความสะอาดเม่อื มสี ิง่ คัดหล่ังหกเรอื่ ราดใหใ้ ชน้ ำ้ ผสมผงซกั ฟอก สว่ น
ในห้องปฏบิ ัติการใหใ้ ช้ 70% Alcohol เช็ดซำ้ อกี ครง้ั เพอ่ื ทำลายเช้ือการทำ
ความสะอาดผนัง และฝา้ เพดานที่มีเชอ้ื รา ใหใ้ ช้นำ้ ยากันเช้อื รา

การจัดหอผูป้ ่วยเป็นเร่ืองจำเปน็ สำหรบั การควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอื้
ผ้ปู ว่ ยทีม่ ีความเส่ียงต่อการแพร่กระจายเชือ้ สงู ให้อยู่ห้องเด่ยี ว ท่ีมคี วามพรอ้ มใน
เร่ืองการระบายอากาศอยา่ งเหมาะสม หากไม่สามารถทำได้เนื่องจากโครงสร้างทาง
กายภาพใหพ้ จิ ารณาโดยคำนึงถึงลักษณะทางระบาดวทิ ยาของโรค และหนทางการ
แพร่กระจายเช้ือ และผ้ปู ว่ ยส่วนใหญ่ในหอผ้ปู ว่ ยนั้น

31

กระบวนการ การปฏบิ ัติ

หลกั ในการจดั หอผปู้ ว่ ย
1. จัดบริเวณสะอาดทีใ่ ชเ้ กบ็ เครือ่ งมือปลอดเชอ้ื และเตรียมยา ใหแ้ ยกจากบรเิ วณ

ท่ีมีการปนเปอื้ นของส่งิ สกปรก
2. หลกี เลย่ี งการตกแตง่ หอผ้ปู ว่ ยดว้ ยวัสดทุ ่ที ำความสะอาดยาก ควรใช้วสั ดผุ วิ

เรยี บเช็ดถไู ด้ง่าย
3. จดั ให้มอี ่างล้างมือทท่ี ำมาจากวสั ดุผวิ เรยี บขนาดใหญ่เพ่อื ป้องกนั การกระเซน็

ของน้ำ และใช้ก๊อกนำ้ ชนดิ ท่ีมที ่ีปดิ เปิดดว้ ยแขนหรือเท้า
4. จดั ใหม้ ีหอ้ งแยก Respiratory Isolation สำหรับ Air borne disease เพื่อ

ป้องกันมิให้อากาศซง่ึ มีเชอื้ โรคภายในหอ้ งแพรก่ ระจายไปส่ภู ายนอก
5. จัดเตยี งผปู้ ว่ ยใหห้ า่ งกนั ไมน่ อ้ ยกว่า 1-1.5 เมตร สำหรับหอผปู้ ว่ ยโรคแทรกซ้อน
6. จัดเตยี งใหผ้ ้ปู ว่ ยทมี่ กี ารใช้ Instrumentation อยา่ งเดียวกันให้ห่างกนั มากที่สุด

เทา่ ทีจ่ ะทำได้เพือ่ ป้องกนั ความเส่ียงต่อการตดิ เชอ้ื ชนดิ เดยี วกันที่อาจแพรถ่ งึ กัน
7. หลีกเล่ียงการนำของใช้ท่ีทำความสะอาดยากมาใชก้ ับผปู้ ว่ ย เช่น ชอ้ น หรอื

แก้วน้ำที่มรี อยยบั หรือแกะสลัก เปน็ ต้น
หอ้ งแยกผู้ป่วยตดิ เชอื้ ทำความสะอาดเช่นเดียวกบั หอผู้ปว่ ยแต่ใหท้ ำเปน็ ส่วน
สดุ ท้าย และมขี อ้ ปฏิบตั ิเพมิ่ เติม คือ
1. บคุ ลากรท่ที ำความสะอาดตอ้ งเขา้ ใจถงึ ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในคร้งั นัน้ ๆ

โดยปรกึ ษากบั พยาบาลควบคุมการติดเชอื้ ประจำหอผูป้ ่วย หรือพยาบาลควบคมุ
การติดเช้ือ
2. สวมอุปกรณป์ ้องกนั ร่างกายตามหลัก standard precautions ภายใตก้ ารดแู ล
ของพยาบาลควบคมุ การติดเช้อื ประจำหอผู้ป่วยหรือพยาบาลควบคมุ การติดเชื้อ

32

13. การป้องกนั การติดเชอ้ื ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร

กระบวนการ การปฏิบตั ิ

การปฏบิ ตั ติ อ่ สิ่งส่งตรวจ สงิ่ สง่ ตรวจต้องบรรจุอยใู่ นภาชนะทป่ี ดิ ฝาผนกึ แนน่ วางให้ตงั้ ตรงได้ตลอดเวลาขณะ
1. หน่วยงานที่ส่ง นำส่ง

2. หอ้ งปฏบิ ัติการ 1. เตรยี มอปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เคร่ืองใชใ้ นการเกบ็ และตรวจส่ิงส่งตรวจให้พรอ้ ม
2. สวมถุงมอื ชนดิ ใช้คร้งั เดียวทกุ ครง้ั ท่ีปฏิบตั ติ ่อสงิ่ สง่ ตรวจ
3. สวมเครื่องปอ้ งกันอื่น ๆ เชน่ แว่นตา เสื้อคลมุ และผ้าปิดปาก-จมกู กรณีที่อาจ

มีการกระเด็น หรอื สมั ผัสโดยตรงต่อส่ิงส่งตรวจ
4. ขณะสวมถุงมอื ปฏิบตั ิงานห้ามสมั ผสั กับวสั ดุอปุ กรณ์อ่ืนนอกเหนอื จากท่ี

เกี่ยวขอ้ งกบั การเก็บสิ่งส่งตรวจ และเปลย่ี นถงุ มือทกุ คร้ังเมื่อเป้ือนสง่ิ ส่งตรวจ
5. ตรวจดูภาชนะบรรจสุ ่ิงส่งตรวจว่าไม่มีการร่วั หรือแตกฝาปดิ สนิท
6. ถา้ พบวา่ มขี ้อบกพรอ่ งในข้อ 5. ให้เก็บสงิ่ ส่งตรวจใหม่ กรณีที่เกบ็ ใหมไ่ ม่ได้และ

ภาชนะภายนอกเปอ้ื นสิง่ สง่ ตรวจใหท้ ำความสะอาดด้วยนำ้ ยาทำลายเชอื้ ทนั ที
โดยเชด็ ด้วย 70% Alcohol
7. เปิด/ ปิด ภาชนะบรรจุสิง่ ส่งตรวจด้วยความระมัดระวังอยา่ ใหห้ กหรือกระเด็น
8. ทำความสะอาดโตะ๊ ทำงาน และ safety cabinet หลงั เสร็จส้นิ งานในแต่วัน
โดยทำลายเช้ือด้วยนำ้ ยาทเี่ หมาะสม เชน่ 70% Alcohol
9. เมอ่ื ถงุ มอื เปื้อนตวั อย่างสงิ่ ส่งตรวจ หรอื ถุงมอื ขาดตอ้ งถอดถงุ มือออกลา้ งมอื
ใหส้ ะอาดแลว้ เปลีย่ นถงุ มอื ใหม่ ถอดเสือ้ คลมุ ถงุ มอื และล้างมอื ด้วยสบู่ทุกครั้ง
กอ่ นออกจากห้องปฏบิ ตั ิการ หรือเม่ือเสร็จสน้ิ การปฏบิ ตั งิ าน

การปฏบิ ัตเิ มื่อส่ิงส่งตรวจหกเรี่ยราด 1. สวมถงุ มือ
2. เคลอ่ื นยา้ ยเครอื่ งมอื เครอ่ื งใชแ้ ละส่ิงของทอ่ี ยู่รอบ ๆ ท่ไี ม่ปนเป้อื นออก
- กรณสี ิ่งส่งตรวจทอี่ าจจะมเี ช้อื โรค 3. ใช้ปากคบี คีบหรอื เชด็ ส่งิ ท่ีหกราดน้นั ออก แล้วทง้ิ ในถังมลู ฝอยติดเชอ้ื
แตไ่ ม่ร้ายแรง
4. เชด็ บรเิ วณน้ันดว้ ยนำ้ ยา 70% Alcohol

- กรณีส่ิงสง่ ตรวจหรือตัวอยา่ งสง่ 1. กลั้นหายใจแล้วรีบออกจากหอ้ งปฏบิ ัติการ พร้อมทัง้ ปดิ ประตู
ตรวจมีเช้อื โรคอันตราย เช่น 2. แจง้ ผ้ทู อี่ ยูใ่ กลเ้ คยี งทราบเพือ่ ใหร้ ะวงั
ZARS 3. ถา้ สิง่ สง่ ตรวจหกรดเครือ่ งปอ้ งกนั รา่ งกายให้รบี ถอดออกและกำจัดแบบ

มลู ฝอยตดิ เชอ้ื
4. ล้างผิวหนังทเี่ ปื้อนดว้ ยนำ้ สบทู่ ีม่ ีสว่ นผสมของน้ำยาทำลายเชอ้ื โดยเร็วทส่ี ดุ
5. แจ้งหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยของหอ้ งปฏบิ ัติการเพ่ือ

ดำเนินการ
6. ผู้ทมี่ หี นา้ ทีจ่ ัดการกับอบุ ัตเิ หตตุ ้องสวมหมวก เสือ้ คลุมแขนยาว ผ้าปดิ ปาก-จมกู

ถงุ มือ และรองเทา้ หมุ้ ข้อกอ่ นเขา้ ดำเนินการ
7. เชด็ บรเิ วณท่ีมสี ่ิงส่งตรวจหกด้วยน้ำยาทำลายเชอื้ 70% Alcohol
8. เม่ือปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ใหถ้ อดเคร่อื งป้องกนั ร่างกาย แลว้ กำจดั แบบมูลฝอยติดเชื้อ

การปฏบิ ัติต่อบคุ ลากรหลงั สัมผสั - ปฏบิ ัติตามวิธปี ฏิบัตเิ มือ่ ไดร้ บั อุบัติเหตุจากของมีคม/ สงิ่ คัดหลง่ั
เชื้อ
1. กอ่ นกำจัดสงิ่ สง่ ตรวจ ให้แยกประเภทว่าเป็นมลู ฝอยตดิ เชือ้ หรอื ไมต่ ดิ เช้ือ
การทำลายส่งิ ส่งตรวจหลงั การ ตามเกณฑก์ ารแยกขยะและแนวปฏบิ ัติของหอ้ งปฏิบัตกิ าร
ตรวจวิเคราะห์แลว้
2. ภาชนะทป่ี นเปอื้ นหากต้องนำกลบั มาใชใ้ หม่ใหท้ ำลายเชอ้ื โดย autoclave

33

กระบวนการ 14. การใช้ยาตา้ นจลุ ชพี
นโยบายการใชย้ าต้านจุลชีพ
(Principles of Antibiotic Policy) การปฏิบตั ิ
1. การใช้ยาตา้ นจุลชีพในโรงพยาบาลแมจ้ ะอย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของ
การปฏิบัติท่เี หมาะสม
ผู้เชยี่ วชาญ แต่ถ้ายังมีการใชเ้ กนิ ความจำเปน็ ก็อาจทำให้เกิดการแพรก่ ระจาย
และการเพิ่มจำนวนของเชอ้ื แบคทเี รียดอ้ื ยาในโรงพยาบาลได้ เช้ือดื้อยาใน
โรงพยาบาลสามารถแพร่กระจายไดโ้ ดยการ cross-infection และเม่ือการด้อื
ยาน้นั แพรเ่ ข้าสู่ plasmid จะทำให้เกดิ การแพร่ระหวา่ งแบคทเี รยี หลายสาย
พนั ธุ์ ดังนั้นโรงพยาบาลจงึ ตอ้ งกำหนดแนวทางการใช้ยาต้านจุลชพี ไว้อย่าง
เหมาะสม

1. พิจารณาว่าผู้ปว่ ยจำเปน็ ต้องได้รบั ยาตา้ นจลุ ชีพหรอื ไม่
2. ใหย้ าตา้ นจุลชีพในระยะเวลาสัน้ ทสี่ ุดและมีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
3. หลกี เลี่ยงการใช้ยาตา้ นจุลชีพในผูป้ ว่ ยท่มี ีเช้อื เจริญ (colonize) แตไ่ ม่มกี ารติด

เชอื้
4. โดยทวั่ ไปไมค่ วรเปลย่ี นยาตา้ นจลุ ชีพทใี่ ชร้ ักษาหากอาการของผูป้ ่วยดีข้นึ
5. หากพบวา่ หลงั การใชย้ าต้านจลุ ชพี 72 ชั่วโมง แล้วอาการผปู้ ่วยไมเ่ ปล่ยี นแปลง

ควรทบทวนการวินิจฉัยโรค การใชย้ า และ/ หรอื การเกดิ การติดเช้ือแบบทตุ ยิ
ภูมิ
6. กลุ่มงานเภสัชกรรมควรมนี โยบายงดจ่ายยาได้ หากมีการระบุระยะเวลาที่ใช้
ไมแ่ นน่ อน และอาจใช้ยาเมอ่ื มีคำสั่งยาใหม่

กระบวนการ 15.การป้องกนั การติดเชอ้ื จากศพผูป้ ่วย
การทำความสะอาดศพทวั่ ไป
การปฏิบัติ
การปอ้ งกันการติดเชื้อจากศพทีเ่ ปน็ 1. พยาบาลที่ตกแต่งศพสวมเครอ่ื งปอ้ งกนั รา่ งกายตามหลกั Isolation
โรคติดตอ่ ร้ายแรง
Precaution
2. สวมถุงมือสะอาดและผ้าปดิ ปาก-จมูกขณะทำความสะอาด
3. ทำความสะอาดศพเช่นเดียวกบั เช็ดตัวผปู้ ว่ ย
4. ใช้สำลีอดุ จมกู และทวารเพื่อปอ้ งกันการไหลของสารคัดหล่งั จากศพ
5. ระบชุ อ่ื สกุล และทรัพยส์ ินของศพ ติดกับศพกอ่ นเคลอื่ นยา้ ย
6. กรณที ี่มีเลอื ด สารน้ำจากศพ หกเปอื้ นสิง่ แวดล้อมเชน่ ไมก้ ้ันเตยี ง ฯลฯ ให้

เชด็ ออกมากทสี่ ุด และทำความสะอาดดว้ ยนำ้ และผงซักฟอก
7. เมอื่ ทำความสะอาดเสรจ็ ใหล้ า้ งมอื ทุกครง้ั ภายหลังจากถอดถุงมือ
8. ตามพนกั งานเคลอ่ื นยา้ ยศพมารบั ศพ

1. พยาบาลทท่ี ำหนา้ ทีจ่ ัดการตกแตง่ ศพต้องสวมเคร่ืองปอ้ งกันรา่ งกายพยาบาล
ตามหลัก Isolation Precaution ได้แก่ N 95 mask, disposable gloves,
เสอ้ื คลุม,ผา้ กันเปอ้ื นพลาสติก,แว่นป้องกนั ตา,หมวกคลุม

2. ตกแต่งศพตามปกติห่อหมุ้ ศพด้วยผ้าพลาสติก 2 ชน้ั และปดิ ผนกึ ดว้ ยแถบกาว
3. กรณีทมี่ ีเลือด สารน้ำจากศพ หกเปอื้ นสิ่งแวดลอ้ มเชน่ ไม้ก้นั เตยี ง ฯลฯ ให้

เชด็ ออกมากทส่ี ดุ และเช็ดพน้ื ผวิ ดว้ ย 70% Alcohol
4. ตามพนกั งานเคล่อื นย้ายศพมาทห่ี อผูป้ ว่ ย

34

16. การป้องกนั การตดิ เช้ือและการบริหารจัดการงานหน่วยจา่ ยกลาง

กระบวนการ การปฏิบัติ
การรับอปุ กรณป์ นเป้อื น
1. หน่วยงานท่ใี ชอ้ ปุ กรณ์ตอ้ งส่งอุปกรณ์ไปทำความสะอาด ทำลายเชือ้ และทำให้
ปราศจากเชอ้ื ท่ีหนว่ ยจ่ายกลาง

2. บรรจุอุปกรณ์ในภาชนะทม่ี ฝี าปดิ มิดชดิ ตามข้อกำหนดของหนว่ ยจา่ ยกลาง
3. อุปกรณห์ รือเครอ่ื งมือแพทยท์ ่แี หลมคมใหแ้ ยกใสภ่ าชนะทมี่ ิดชิดอีกชน้ั หนึง่

4. จดั พ้ืนทีส่ ำหรบั รับอุปกรณท์ ปี่ นเป้ือน
5. ผ้รู ับอุปกรณ์ต้องสวมเคร่อื งปอ้ งกนั รา่ งกายตามขอ้ กำหนดของงานจ่ายกลาง

อย่างเคร่งครัด
6. จัดทำระบบเส้นทางสัญจรเปน็ ทางเดยี ว

การล้างทำความสะอาด 1. ผปู้ ฏบิ ัติงานตอ้ งสวมเคร่ืองปอ้ งกันร่างกายตามข้อกำหนดของงานจ่ายกลาง
2. ตรวจสอบและคัดแยกอุปกรณท์ างการแพทยท์ ีม่ ีการชำรดุ แตกร้าว

3. นำอปุ กรณท์ ลี่ า้ งทำความสะอาดแลว้ ไปทำให้แห้ง

การบรรจหุ ีบหอ่ 1. ตรวจสอบอุปกรณ์และคดั แยกอุปกรณท์ างการแพทย์ท่มี กี ารชำรุดแตกรา้ วออก

2. จัดประเภทของอุปกรณ์ตามชุดเคร่อื งมือใหค้ รบถว้ นถูกตอ้ ง
3. เลือกวสั ดใุ นการบรรจุหีบหอ่ ให้เหมาะสมตามประเภทขอบเคร่อื งมือ
4. แสดงปา้ ยวนั ผลติ วนั หมดอายุ และ External indicator ทกุ หีบหอ่

การทำลายเชื้อและการทำให้ 1. ตรวจสอบความพร้อมใช้ทางกายภาพของเครอ่ื งทำให้ปราศจากเชื้อ
ปราศจากเช้อื
2. จดั เรยี งอปุ กรณ์เขา้ เครอ่ื งทำให้ปราศจากเชอื้ ตามข้อกำหนดของงานจา่ ยกลาง
3. ตรวจประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งทำให้ปราศจากเชื้อตามข้อกำหนดของเคร่ืองทำให้

ปราศจากเชื้อ

การจัดเก็บอุปกรณป์ ราศจากเช้ือ 1. จดั เก็บตามลำดับทีไ่ ด้ผ่านกระบวนการทำให้ปราศจากเชอื้ (first in first
out)

2. จัดเกบ็ ชุดเครอื่ งมอื ในต้หู รอื ช้ันทีม่ ีฝาปิดมดิ ชดิ ในหอ้ งทีไ่ มม่ คี นพลกุ พลา่ น และ
มกี ารติดตัง้ เคร่อื งปรบั อากาศใหม้ ีอุณหภูมิ 18-22๐C ความชืน้ สมั พัทธ์ 30-60

3. หลีกเลย่ี งการสมั ผัสอปุ กรณท์ ปี่ ราศจากเชอ้ื โดยไมจ่ ำเปน็
4. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านในห้องเก็บอปุ กรณต์ ้องสวมใส่เสอื้ ผา้ เฉพาะภายในห้อง

การนำจา่ ย 1. ตรวจสอบสภาพหีบหอ่ external indicator และวันหมดอายุก่อนนำจา่ ย

2. ผู้มารับเคร่ืองมือหรือชุดอุปกรณต์ ้องใชภ้ าชนะที่สะอาดมฝี าปิดมิดชดิ
3. เมอ่ื รบั เคร่ืองมือหรือชดุ อปุ กรณ์ต้องตรวจสอบสภาพหบี ห่อ external

indicator และวนั หมดอายซุ ำ้
4. นำชุดเครอ่ื งมอื ไปจัดเกบ็ ภายในหนว่ ยงาน ตามระบบการจัดเกบ็ เครื่องมอื

ปราศจากเช้อื ของหนว่ ยจ่ายกลาง

35

17. การป้องกันการติดเชื้อและการจัดการผ้าเป้ือน

กระบวนการ การปฏิบัติ
1. การแยกประเภทของผ้าเป้อื น
1. แยกประเภทของผา้ เป้อื นทีแ่ หลง่ กำเนดิ ของผา้ ทใ่ี ชแ้ ล้ว โดยแยกเปน็ ผา้ เป้อื น
และผา้ ติดเชือ้

2. ห้ามตรวจนบั ผา้ เป้ือนนั้น หากต้องการสง่ ยอดเบิกผา้ ตามระบบการควบคุมผ้า
ของหนว่ ยงานให้ตรวจนับจากผา้ ในตู้รวมกบั จำนวนทใ่ี ชอ้ ยแู่ ลว้ หักลบจากจำนวน

ผา้ ท่หี น่วยงานตอ้ งควบคุม
3. บรรจุผา้ เปอื้ นแตล่ ะประเภทใสถ่ งุ ตามทกี่ ำหนด กรณีทีม่ ีก้อนอจุ จาระ ก้อนเลอื ด

หรอื อาเจยี น ใหข้ จดั ออกใหม้ ากทส่ี ดุ กอ่ นใส่ถุงโดยไมต่ อ้ งซกั ล้าง
4. ตรวจสอบวา่ ไม่มสี ง่ิ แหลมคมหรือวตั ถุแปลกปลอมอนื่ ติดไปกับผา้ เปอื้ นกอ่ นรวบ

ผ้าเปือ้ นใสใ่ นภาชนะทก่ี ำหนดให้

2. การขนสง่ ผ้าเป้ือน 1. ผู้รบั และสง่ ผ้าเปื้อน สวมเครื่องป้องกันร่างกายท่ถี ูกต้องเหมาะสม

2. ผา้ เปอื้ นและผ้าตดิ เชอ้ื ให้ขนส่งโดยแยกจากกนั
3. ขนย้ายผ้าเปื้อนตามเวลาและเส้นทางท่ีกำหนด

3. การจดั เก็บผ้าสะอาด 1. พืน้ ท่ีพบั ผา้ ควรยกพนื้ สงู หรอื อยู่บนโต๊ะท่ีสะอาดและแห้ง
2. ผา้ ทผ่ี า่ นการซัก และทำให้แห้งแลว้ ใหเ้ กบ็ ในตูห้ รอื ชนั้ ผา้ ทสี่ ะอาดและปดิ มิดชิด

4. การขนสง่ ผ้าสะอาด - ขนสง่ ผ้าสะอาดโดยการหบี ห่อและ/ หรือรถขนส่งที่ปิดมดิ ชดิ ตามความเหมาะสม

สิ่งท่ไี ม่ควรปฏิบตั ิ

1. ตรวจนบั ผ้าเปอ้ื นในหอผู้ป่วย
2. แชผ่ ้าเปือ้ นดว้ ยน้ำยาฆ่าเชอ้ื บนหอผู้ปว่ ย
3. เพาะหาเชือ้ ทผ่ี า้ แบบ routine

36

18. การปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เชือ้ ดา้ นโภชนาการ

กระบวนการ การปฏิบัติ

การปฏบิ ัติตนของบคุ ลากรทป่ี รงุ และ 1. แต่งกายสะอาด สวมหมวกหรือผ้าคลุมผมและผ้ากนั เป้ือน ใสร่ องเทา้ หุ้มส้น
จดั จา่ ยอาหารในแผนกโภชนาการ 2. ตัดเล็บสน้ั ไม่สวมแหวน ลา้ งมือและเล็บใหส้ ะอาดด้วยสบู่ก่อนเตรยี มอาหาร และ

ภายหลงั สมั ผัสสิง่ ของท่ีไมส่ ะอาดและเมื่อออกจากห้องนำ้
3. ไม่ไอจามรดอาหาร กรณีเป็นหวัดใหส้ วมผา้ ปดิ ปากและจมูก ไมส่ ูบบหุ ร่ี

4. บุคลากรทม่ี อี าการอจุ จาระรว่ ง หรอื เปน็ บดิ หรอื มีแผลเปดิ หรอื มีตุ่มหนองทม่ี อื
ควรละเวน้ การปฏิบัตงิ าน

การจัดการสงิ่ แวดล้อมและการกำจดั 1. บรเิ วณพื้นควรสะอาดและแห้ง ท่อระบายน้ำมีฝาปิด

มลู ฝอย 2. ระบบการสญั จรของอาหารดบิ และอาหารพรอ้ มบรโิ ภคควรแยกออกจากกัน

3. มที ่รี องรบั มูลฝอยในทเี่ ตรยี มหรือปรุงอาหารและบรเิ วณที่ล้างภาชนะอุปกรณ์

4. การกำจัดมลู ฝอย ปฏิบตั ิตามขอ้ กำหนดของโรงพยาบาล

5. เศษอาหารที่เหลอื แตล่ ะม้ือหา้ มนำไปเลีย้ งสตั ว์

การเก็บรกั ษาอาหาร 1. ตู้เยน็ เกบ็ อาหารต้องทำความสะอาดสม่ำเสมอ ขอบยางไมม่ เี ชอื้ ราและตรวจสอบ

อุณหภูมขิ องตเู้ ยน็ ตามข้อกำหนดที่สามารถตรวจสอบไดม้ สี ถานท่ีเก็บวัสดดุ บิ
อาหารและเครอ่ื งดื่มทเี่ ป็นสดั สว่ น แยกส่วนอาหารดบิ และอาหารท่ปี รุงสกุ แล้ว
2. รกั ษาความสะอาดของสถานท่ีเก็บรักษาอาหาร
3. ชน้ั วางอาหารควรสงู จากพ้นื อย่างน้อย 60 เซนตเิ มตร และไม่อยตู่ ดิ ผนงั เพ่อื
ความสะดวกในการทำความสะอาด และไม่เป็นที่อยู่ของสัตว์พาหะนำโรคตา่ ง ๆ
4. มภี าชนะใส่และปกปิดอาหาร มีหอ้ งเยน็ / ตู้เยน็ ปรบั อณุ หภมู เิ หมาะสมกับอาหาร
แต่ละชนิด และวตั ถุดิบท่เี ก็บสำรองไว้
5. มรี ะบบการหมนุ เวยี นนำของเกา่ ออกมาใชก้ อ่ น

การประกอบอาหาร 1. ลา้ งผกั และผลไมใ้ หส้ ะอาดก่อน
2. ลา้ งอาหารสดกอ่ นนำไปประกอบอาหาร
3. ประกอบอาหารใหไ้ ดอ้ ณุ หภูมิเพยี งพอและเวลาที่เหมาะสมตามประเภทอาหาร
4. ใสถ่ งุ มือหรือใช้ชอ้ นหรอื ทพั พีเม่ือตอ้ งสัมผัสภาชนะตรงส่วนทสี่ ัมผสั อาหาร

อาหารทปี่ รุงสกุ แลว้ หรอื อาหารที่พรอ้ มบรกิ าร
5. ชิมอาหารโดยการตกั ใสถ่ ้วยแบง่

6. บคุ ลากรทีไ่ มเ่ กย่ี วข้องไมค่ วรเขา้ ไปในบริเวณทีเ่ ตรยี มหรอื ประกอบอาหาร

การเกบ็ รกั ษาอาหารกอ่ นนำส่งและ - ถา้ ไมส่ ามารถนำจา่ ยอาหารทปี่ รงุ เสร็จไดท้ นั ทใี หเ้ ก็บรกั ษาไวใ้ นอณุ หภมู ทิ ่ี
การตกั แบง่ อาหาร
เหมาะสมสำหรับอาหารแตล่ ะประเภท และมฝี าปิดมิดชดิ

การนำจ่ายอาหาร - อาหารท่ีปรงุ เสร็จใหน้ ำจา่ ยทนั ที ถา้ ไมส่ ามารถทำไดใ้ ห้เกบ็ รักษาไวใ้ นภาชนะทีม่ ี
ฝาปิดมิดชดิ

การเก็บและทำความสะอาดภาชนะ - ขจัดเศษอาหารออกก่อนล้าง
บรรจุอาหารและเคร่อื งใช้
รบั ประทานอาหาร - ไมม่ ีความจำเปน็ ต้องแยกภาชนะท่ีใชก้ บั ผูป้ ว่ ยติดเชื้อ
- การล้างด้วยมือให้บุคลากรสวมถุงมือยางหนา ใชน้ ้ำและน้ำยาลา้ งจาน ล้างให้
การตรวจสอบการปนเปื้อนของ
อาหารเมือ่ มีการระบาดของโรค สะอาดและผึ่งใหแ้ ห้งในหอ้ งมุ้งลวดที่มีแดดส่องถงึ

ใหค้ วามรว่ มมือกบั คณะกรรมการปอ้ งกันและควบคมุ การตดิ เชื้อในโรงพยาบาลเพือ่
สอบสวนโรคกรณีเกิดการเจ็บปว่ ยในระบบทางเดนิ อาหารของผปู้ ่วยและบคุ ลากร
หลายคนพร้อมกนั และ/ หรอื สงสัยวา่ จะมีการปนเป้ือนของอาหาร

37

สิง่ ทีไ่ ม่ควรปฏบิ ตั ิ วางอาหารบนพนื้ / นำสตั ว์เลยี้ งเขา้ มาในบรเิ วณอาคารโภชนาการ/ ฉดี ยาฆ่าแมลงบรเิ วณอาคารและบริเวณ
ใกล้เคียง/ บคุ ลากรท่มี ีการตดิ เช้ือหรือเปน็ พาหะของเช้ือในระบบทางเดนิ อาหารปฏิบัติงานเกยี่ วขอ้ งกบั การประกอบอาหาร

19. การป้องกันการปนเปอ้ื นอาหารเหลว

กระบวนการ การปฏิบัติ
การจัดสถานที่ - ห้องเตรียมอาหารและประกอบอาหารควรเป็นปรับอากาศ หรือห้องแยกเฉพาะ

การปฏิบัติ ตนของเจ้าหน้าท่ีผลิ ต 1. เปลย่ี นรองเทา้ ก่อนเข้าหอ้ งเตรียมและประกอบอาหาร
อาหารเหลว 2. สวมเสอื้ คลุม หมวกคลุมผม ผา้ ปดิ ปาก–จมูก เมอ่ื เขา้ ห้องเตรียมและประกอบ

อาหาร

3. เคร่งครดั ต่อการล้างมือดว้ ยสบผู่ สมนำ้ ยาทำลายเช้ือนาน 30 วนิ าที กอ่ นเตรียม
และประกอบอาหารทุกคร้ัง

4. สวมถงุ มอื สะอาดขณะเตรยี มประกอบและบรรจุอาหารเหลว

การทำความสะอาดอปุ กรณ์และ อปุ กรณ์และภาชนะให้ล้างทำความสะอาดหลงั ใชง้ าน และตม้ ในนำ้ เดือดนาน 30
ภาชนะ นาที

การเตรียมส่วนประกอบอาหาร 1. ล้างอาหารสดและไข่ให้สะอาดก่อนนำมาประกอบอาหาร
2. สว่ นประกอบอาหารตา่ งๆ เช่น เกลือ น้ำมนั นำ้ เชื่อม ใหเ้ ตรียมใช้เฉพาะม้ือ

3. สว่ นประกอบทีเ่ ตรยี มเรียบรอ้ ย เช่น ไข่ลวก นำ้ เช่อื ม นำ้ ต้ม ใหบ้ รรจใุ นภาชนะ
มีฝาปดิ ตลอดเวลา

การดูแลอาหารทผี่ ลิตแลว้ 1. บรรจุอาหารเหลวลงในถุงบรรจุอาหาร สำหรับ 1 มือ้ / ถงุ / ผปู้ ว่ ย 1 คนเท่านั้น

2. นำจา่ ยอาหารไปยังหอผู้ปว่ ยทนั ทภี ายหลงั ผลิต
3. ในกรณไี ม่สามารถนำจ่ายได้ทันที ตอ้ งเกบ็ ไว้ตู้เย็นท่มี ีอณุ หภมู ิ 2-80C
4. เม่อื อาหารเหลวมาถงึ หอผู้ป่วย ควรให้อาหารแก่ผปู้ ว่ ยทนั ที สำหรบั ม้อื กลางคืน

ให้เกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ ทม่ี ีอุณหภมู ิ 2-8๐C ตลอดเวลาจนกว่าจะให้ผปู้ ว่ ย

การขนสง่ บรรจุถงุ อาหารเหลวในภาชนะแขง็ แรงมดิ ชิดและทำความสะอาดง่ายขณะนำส่ง

การตรวจสอบคณุ ภาพอาหารเหลว - สมุ่ เกบ็ ตัวอย่างอาหารเหลวเพาะเชื้อเป็นระยะ ๆ

การประเมินผล 1. ฝ่ายโภชนาการตรวจสอบการปฏิบัติงานทุก 2 เดอื น
2. คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลรว่ มประเมินผลการ

ปฏิบัตงิ านทกุ 6 เดือน

ส่งิ ทไ่ี ม่ควรปฏิบตั ิ บคุ ลากรปฏบิ ตั งิ านในขณะทีม่ ีอุจจาระรว่ ง อาเจยี น มแี ผล หรือมไี ข/้ อนุญาตใหบ้ ุคคลทีไ่ ม่มีสว่ นเกีย่ วขอ้ ง
เข้าไปในบริเวณเตรยี มและประกอบอาหารเหลว

38

กระบวนการ 20. การจดั การมูลฝอยตดิ เชือ้
การจดั เตรียมอปุ กรณ์
การปฏบิ ัติ
การเกบ็ และแยกมูลฝอยตดิ เช้อื
1. มรี ะบบจดั หาภาชนะรองรับมูลฝอยแตล่ ะประเภทให้เพยี งพอและเหมาะสม
2. หัวหนา้ หอผปู้ ่วย/ หน่วยงาน จดั หาภาชนะรองรับมูลฝอยแตล่ ะประเภทให้

เพยี งพอและวางในตำแหน่งท่เี หมาะสม

การเก็บและแยกมลู ฝอยตดิ เชอ้ื ให้ปฏบิ ตั ิดังนี้
1. แยกมลู ฝอยติดเชอ้ื ออกจากมูลฝอยชนดิ อืน่ ทีแ่ หล่งเกดิ ของมลู ฝอย ห้ามเกบ็ รวม

แล้วนำมาแยกภายหลังเพราะอาจทำใหเ้ ชือ้ แพร่กระจายได้
2. มภี าชนะที่ใชร้ องรบั มลู ฝอยตดิ เช้อื ทม่ี ลี กั ษณะเหมาะสมดงั น้ี

a. ถงุ ใส่มลู ฝอยตดิ เชอื้ เปน็ ถุงพลาสติกสีแดง ทบึ แสง มคี วามเหนยี ว

ทนทานตอ่ สารเคมี กนั นำ้ ได้ และมคี ำเตอื นเฉพาะ ตามกฎกระทรวงว่า
ด้วยการกำจดั มลู ฝอยตดิ เชอื้ พ.ศ. 2545 คอื “มลู ฝอยติดเช้อื ” อยูภ่ ายใต้
รปู หวั กะโหลกไขว้ คกู่ บั ตราหรือสญั ลักษณ์ท่ใี ช้ระหวา่ งประเทศ ตามท่ี
กระทรวงสาธารณสุขกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา และต้องมี
ข้อความวา่ “หา้ มนำกลบั มาใช้อกี ” และ “หา้ มเปิด” พร้อมระบชุ อ่ื
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ ไว้ใหช้ ัดเจน
b. กล่องหรอื ภาชนะท่ใี ชบ้ รรจมุ ลู ฝอยติดเชอื้ ประเภทของมีคม เช่น เขม็
มดี เศษแกว้ ฯลฯ จะตอ้ งทำด้วยวสั ดุที่แข็งทนทานต่อการแทงทะลุ
เช่น พลาสตกิ แข็งหรือกระดาษแขง็ กันนำ้ ได้ ฝ่ากลอ่ งหรอื ถังสามารถปดิ
ได้มิดชดิ และปอ้ งกนั การร่วั ไหลของของเหลวภายในถงั และสามารถยก
หรอื หว้ิ ได้สะดวกโดยไม่สัมผัสกบั มูลฝอยตดิ เช้ือทอี่ ยู่ภายใน สขี องภาชนะ

ดังกล่าวจะต้องมลี กั ษณะเด่นชดั และมีคำเตือนเฉพาะ
ภาชนะสำหรบั ทง้ิ เขม็ และของมีคมในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ กำหนดให้
ใชภ้ าชนะพลาสติกชนดิ ปากแคบที่มีฝาปิด และสามารถท้ิงเข็มหรือของมคี มได้
สะดวกเทา่ นัน้ ห้ามใช้ขวดบรรจุนำ้ ด่ืม นำ้ อดั ลม หรอื ขวดพลาสติกอ่อนอ่นื ๆ ที่
เสย่ี งต่อการแทงทะลุโดยเดด็ ขาด ขนาดของภาชนะตอ้ งไมใ่ หญเ่ กนิ ไป เพราะ
นอกจากจะเปลืองพนื้ ทแ่ี ล้วยงั เปน็ แหล่งของเช้อื จลุ นิ ทรียอ์ ีกดว้ ย
c. การเก็บมลู ฝอยในถุงไมค่ วรใหม้ ีปรมิ าณ หรือน้ำหนักมากจนทำใหถ้ ุงขาด

ทะลุ หรือมัดปากถุงไม่ได้
3. เมอ่ื บรรจมุ ลู ฝอยได้ประมาณสามในสขี่ องถงุ แลว้ ใหม้ ดั ปากถุงใหแ้ นน่ ดว้ ยเชอื ก

แลว้ วางไว้ที่มุมใดมมุ หนึง่ ของหอผูป้ ว่ ยเพื่อรอการขนย้าย

4. มลู ฝอยติดเชอ้ื ท่เี ปน็ ของเหลวหรอื สารคัดหลัง่ ตา่ ง ๆ เทสว่ นทีเ่ ปน็ ของเหลวทิ้ง
ในอ่างที่หน่วยงานกำหนดซงึ่ มที ่อระบายไหลไปสูโ่ รงบำบดั น้ำเสยี หรือเทลงถงั
เกรอะหรอื ชกั โครก แล้วราดนำ้ ตามให้สะอาดมลู ฝอยทเ่ี ปน็ อวัยวะหรือชน้ิ สว่ น
ของอวัยวะใหท้ ้ิงในภาชนะรองรบั ท่ที ำจากวัสดแุ ขง็ แรงมีฝาปดิ มดิ ชิด หากเปน็
ช้ินส่วนทมี่ ีขนาดใหญ่ หรืออวยั วะได้แก่ แขน ขา ซึ่งไม่ตอ้ งสง่ ตรวจทางพยาธิ
วทิ ยา ให้หอ่ ให้มดิ ชดิ ก่อนแลว้ ใส่หรอื ห่อด้วยถงุ มลู ฝอยตดิ เชอื้ เขียนชอื่ ผู้ป่วย
“ติดปา้ ยฝากทิ้ง” สง่ ใหก้ ับเจา้ หน้าที่ (เกบ็ ศพ) ควรนำสง่ ทันทเี พื่อไม่ใหช้ น้ิ เนื้อ
หรืออวัยวะเนา่

5. มูลฝอยจากกระบวนการเก็บและเพาะเชื้อท้ิงในภาชนะรองรับที่ทำจากวัสดุ
แขง็ แรงมีฝาปดิ มดิ ชดิ ชนดิ ใช้เท้าเหยียบสำหรบั ปดิ เปดิ กรณมี ลู ฝอยที่ผ่าน
กระบวนการทำลายเชอ้ื ดว้ ยความร้อนแล้วสามารถท้ิงในมูลฝอยทวั่ ไปได้

39

กระบวนการ การปฏบิ ตั ิ

การเคลอ่ื นยา้ ยและการรวบรวม มี 1. ชี้แจงและอบรมบุคลากรทีท่ ำหนา้ ที่นี้ ตลอดจนระบบการกำกับดแู ล
แนวทางดงั นี้ 2. ใหบ้ คุ ลากรสวมถงุ มอื ยางหนา หมวกหรือผ้าคลมุ ผม ผ้าปดิ ปาก–จมกู ผ้ายาง

กันเป้ือน และรองเทา้ บู๊ททำด้วยยาง ตลอดเวลาท่ีปฏิบัตงิ าน
3. ปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนอยา่ งถูกวธิ ี เชน่ ตรวจดูถุงมลู ฝอยก่อนเคลื่อนยา้ ยวา่ ถุงไมร่ ่ัว

ผกู เชือกเรียบรอ้ ย ยกและวางอยา่ งนุ่มนวลโดยจับตรงคอถงุ หา้ มอุ้มถุง เมอื่ มีมลู
ฝอยตกหลน่ ใหใ้ ชค้ ีมเหลก็ คบี คีบใส่ถงุ มูลฝอยตดิ เชือ้ อกี ใบ หากมสี ารน้ำใหซ้ บั

ดว้ ยกระดาษแล้วทิง้ กระดาษลงถงุ มลู ฝอยติดเชอื้ แล้วจึงราดดว้ ยนำ้ ยาทำลายเชื้อ
ก่อนเช็ดถูตามปกติ
4. เม่ือเสรจ็ สิ้นภารกจิ ให้ถอดถงุ มือและชดุ ปฏบิ ัติการและนำไปทำลายเชือ้ อยา่ งถกู
วิธี และอาบน้ำทันทีหลงั เสรจ็ ภารกิจประจำวนั
5. รถเข็นสำหรับขนเคลอ่ื นยา้ ยมูลฝอย ควรมีข้อกำหนดคอื เป็นรถทใ่ี ช้ขนมลู ฝอยติด
เช้อื เท่านน้ั ห้ามนำไปใชใ้ นกจิ กรรมอื่น รถเข็นควรทำด้วยวัสดทุ ี่ทำความสะอาด
ง่าย ผวิ เรยี บไมม่ ีแง่มุม มชี อ่ งระบายนำ้ ผนงั ทึบ และมีฝาปิดเพ่อื ปอ้ งกนั สัตวแ์ ละ
แมลงเขา้ ไปในรถ กรณไี ม่มีรถเข็นตามที่กำหนดใหใ้ สถ่ งุ มูลฝอยในภาชนะมฝี า
ปิดมิดชิดกอ่ นวางบนรถเข็น

เรือนพักมูลฝอยติดเชื้อ มลี ักษณะ 1. แยกจากอาคารอน่ื มขี นาดเพยี งพอทจ่ี ะรวบรวมมูลฝอยได้อยา่ งนอ้ ย 2 วนั กรณี
ดงั น้ี จำเป็นต้องเก็บนานเกนิ 7 วนั ต้องเป็นเรอื นพักท่มี เี คร่อื งปรับอากาศและควบคุม

อุณหภูมใิ หต้ ่ำกว่า 10๐C

2. ตดิ คำเตอื นสำหรับสถานที่เกบ็ กักมลู ฝอย
3. โปรง่ โลง่ ไมอ่ ับช้ืนหรอื รอ้ นจนเกินไป ประตเู ขา้ และออกแยกจากกัน ชอ่ งใต้

หลงั คา มีมุ้งลวดกนั แมลงเข้า ประตกู ว้างพอให้สะดวกสำหรบั การปฏิบัติงาน
และปิดอยูเ่ สมอและมกี ญุ แจล๊อคเมื่อปฏบิ ัตงิ านเสร็จ
4. ผนัง พน้ื เรียบระบายน้ำได้ดี และลงสู่ระบบบำบดั น้ำเสยี มีลานสำหรับลา้ งรถเขน็
อยู่ติดกบั ประตอู อก

การเคลอื่ นยา้ ยมลู ฝอยติดเชอ้ื 1. ขนตามเวลาท่ีกำหนด โดยมเี ส้นทางทแี่ น่นอน
2. ดำเนนิ การดว้ ยความระมัดระวงั และนุ่มนวล ห้ามโยน ลากถุงมูลฝอย
3. ระหวา่ งเดนิ ทางไปยงั สถานทเี่ ก็บกักห้ามแวะหรือพักทีใ่ ด
4. เมื่อมมี ูลฝอยตกหลน่ ใหป้ ฏิบัติตามขอ้ 1.2

5. เมือ่ เสร็จภารกิจในแต่ละวนั ใหล้ ้างรถขนขยะใหส้ ะอาด และผ่ึงใหแ้ ห้ง

การกำจัดมูลฝอยติดเช้อื มูลฝอยตดิ เชอ้ื ของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์สง่ ไปเผาทำลายโดยบรษิ ทั เอกชน

แนวทางการบริหารจัดการขยะติด 1. พจิ ารณา และแยกขยะกอ่ นทิ้ง
เช้ื อส ำหรั บหอผู้ ป่วยแล ะหน่วย 2. ถงุ ขยะติดเชอ้ื ต้องเปน็ ถงุ แดงมปี า้ ยเตือนชดั เจน
บริการทางคลินิก ในโรงพยาบาล 3. ขยะในหอ้ งแยกผ้ปู ว่ ยติดเชือ้ ใหถ้ อื เปน็ ขยะติดเชื้อ
4. ขยะตดิ เชอื้ ให้เกบ็ ท่หี น่วยงาน ไดไ้ ม่เกนิ 24 ช่ัวโมง
สวนสราญรมย์ 5. ถังขยะตดิ เชื้อต้องเปน็ ถงั ทีม่ ฝี าปิดเปดิ โดยใชเ้ ท้าเหยยี บ
6. ขยะตดิ เชอ้ื ทง้ิ ไดไ้ ม่เกิน 3/4 ของถงุ เพอ่ื ให้สามารถรวบปากถุงได้
7. ขยะติดเช้ือทเ่ี ปน็ ของเหลวให้เทลงระบบบำบดั น้ำเสยี แลว้ ราดนำ้ ตามมากๆ
8. ขยะตดิ เชอ้ื ท่เี ปน็ ของมคี มให้ใส่ในภาชนะทกี่ นั การทม่ิ ตำกอ่ นท้ิงลงถังขยะติดเชื้อ
9. หน่วยงานจดั ให้มีจดุ พักขยะตดิ เชอ้ื ของหน่วยงานและมีถังขยะที่มฝี าปิดเพ่ือ

รองรับ และอยู่ในบรเิ วณทพ่ี นกั งานเกบ็ ขยะตดิ เชื้อสามารถเก็บไดส้ ะดวกโดยไม่
ตอ้ งเข้ามาในหน่วยงานและเป็นบรเิ วณที่ฝนสาดไม่ถงึ ไมม่ ีสตั วเ์ ขา้ มาค้ยุ เข่ียได้

40

กระบวนการ การปฏิบัติ

10.ตอนเชา้ ของทกุ วนั กำหนดให้เจ้าหน้าท่ปี ระจำหน่วยงานสวมเครอ่ื งป้องกนั อย่าง
นอ้ ย คอื ถุงมือ และ Surgical mask แลว้ รวบและผกู ปากถุงดว้ ยเชอื กใหแ้ นน่
กอ่ นนำไปใส่ถังที่จดุ พกั ขยะตดิ เชือ้ ของหนว่ ยงาน เพ่ือใหพ้ นักงานฯ มาเก็บไป
รวบรวมไว้ที่โรงพกั ขยะตดิ เช้อื ต่อไป

11.หากขยะตดิ เชื้อท่ีเปน็ ของเหลวหกเร่ียราด ใหป้ ฏิบตั ิ ดงั น้ี
11.1 เจ้าหน้าทีต่ อ้ งสวมอุปกรณป์ อ้ งกันอยา่ งนอ้ ย คอื ถุงมอื และ Surgical

mask
11.2 ซับของเหลวติดเชอ้ื นั้นดว้ ยกระดาษให้แห้งทส่ี ุดแลว้ ทิง้ ลงในถังขยะติดเช้ือ
11.3 ถพู ืน้ ด้วยวธิ ถี ูเปยี กตามปกตแิ ละทำความสะอาดไม้ถูพน้ื แล้วผง่ึ แดดให้แหง้

41

เอกสารอ้างองิ
1. อะเคื้อ อณุ หเลขกะ. ระบาดวทิ ยาและแนวปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกันการติดเช้อื ในโรงพยาบาล. เชียงใหม่. โรง

พิมพ์มง่ิ เมือง. 2556.
2. ผศ.นพ.กำธร มาลาธรรม, นพ.สุสัณห์ อาศนะเสน. (บรรณาธกิ าร). คมู่ ือปฏิบตั ิการป้องกนั และควบคมุ การ

ตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. 2556.
3. สมหวัง ด่านชัยวิจติ ร. วิธีปฏบิ ตั ิเพ่อื ปูองกันและควบคุมโรคติดเช้ือในโรงพยาบาล. สมหวงั ดา่ นชยั วจิ ิตร.

บรรณาธิการ. พมิ พ์ครั้งท1่ี กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ กั ษรสมัย.2548.

42


Click to View FlipBook Version