The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Personel@SSR2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IPZPREAW, 2021-11-03 04:26:16

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Personel@SSR2564

Keywords: แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE,SIMPLE Personel@SSR2564,SIMPLE Personel,แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากร

46

8. กรณีเกิดอคั คภี ัยปฏบิ ตั ิตามแผนรองรบั การเกดิ อัคคีภยั ทง้ั ในและนอกเวลาราชการ
9. หลังเกิดอคั คภี ยั ทกุ คร้ังจะตอ้ งมีการรายงานความเสย่ี งตามระเบยี บปฏิบตั ิการบริหารจดั การความ
เสยี่ ง
10. ประชมุ คณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั เพอ่ื กำหนดแนวทางการแก้ไข

2. การป้องกนั การถกู ทำรา้ ยร่างกาย

เปา้ หมาย
ปอ้ งกันการเกิดเหตุทำรา้ ยร่างกายภายในโรงพยาบาล
จุดเนน้

1. การจัดสภาพสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ กิดความปลอดภยั ต่อผ้มู าใช้บริการและต่อเจา้ หน้าท่ี
2. งานรกั ษาความปลอดภยั วางระบบและจดั อัตรากำลังเจ้าหนา้ ที่เข้าไปประจำพ้นื ท่ีของ

โรงพยาบาลเพอ่ื ตรวจตราระวังการเกิดเหตุรา้ ย ในพืน้ ที่ทก่ี ำหนดทวั่ ไปและในเขตบ้านพกั
แนวทาง

1. จัดระเบยี บไฟส่องสว่างเหมาะสมเพียงพอเพื่อความปลอดภยั การแบ่งโซนในการดูแลความ
ปลอดภยั และเดินตรวจจดุ ตา่ งๆ ทเี่ ป็นจุดเสีย่ ง

2. มรี ะบบการสอื่ สาร/ระบบการเขา้ ถงึ เกิดเหตขุ องเจ้าหน้าทรี่ ักษาความปลอดภยั ทร่ี วดเร็ว ทนั
เหตุการณ์

3. ปฏิบัติตามแนวทางปฏบิ ตั ิการกรณีเกดิ ทะเลาะวิวาท

3. การป้องกนั การฆ่าตวั ตายของเจ้าหนา้ ที่ในโรงพยาบาล

เป้าหมาย
ป้องกนั การฆา่ ตัวตายของบุคลากรในโรงพยาบาล
จุดเน้น

1. จัดสภาพแวดลอ้ มในการป้องกันเหตุ
2. จดั ทีมเยียวยาจติ ใจบคุ ลากรสังเกตอาการของผูใ้ ช้บริการและแจ้งเหตุอยา่ งทนั ท่วงที
3. ระบบส่อื สารที่รวดเร็วทันเวลาในการประสานงานขอความชว่ ยเหลือ
4. เจ้าหนา้ ทีร่ กั ษาความปลอดภัยเข้าถึงบริเวณที่เกิดเหตุทันที และดำเนนิ การก้นั พ้นื ทผ่ี ู้ไมเ่ ก่ยี วข้อง
5. ทมี ไกล่เกลี่ยหนว่ ยงานที่เกดิ เหตุเข้าไกลเ่ กลย่ี
6. การประสานงานกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการเยยี วยาอยา่ งต่อเนอ่ื ง

47

4. การปอ้ งกันการลักขโมย / โจรกรรม
เป้าหมาย
ลดและป้องกนั ทรัพยส์ ินสูญหาย
จุดเนน้

1. มาตรการป้องกันทรัพย์สินสญู หาย
2. ระบบตรวจสอบความปลอดภัย
แนวทาง
1. กำหนดมาตรการป้องกัน / ระวัง ทรัพยส์ ินสูญหาย
2. การส่อื สารและกระตนุ้ ให้ผ้ใู ช้บรกิ ารและเจ้าหนา้ ทร่ี ะมัดระวังทรพั ยส์ นิ สญู หาย
3. วางระบบการดูแลและตรวจตราความเรียบร้อยภายในอาคารของโรงพยาบาล, บ้านพกั ของ

เจา้ หนา้ ที่
4. การส่อื สารทร่ี วดเรว็ ทนั เวลา
5. การเข้าถงึ ทเี่ กิดเหตุและค้นหา
6. การรายงานความเสย่ี งตามระเบยี บปฏบิ ัติการบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง
7. การติดตง้ั กลอ้ งวงจรปิดในจุดทมี่ คี วามเสีย่ ง

5. การปอ้ งกนั ถกู สตั วท์ เี่ ป็นตวั นำเช้ือโรคกดั
เปา้ หมาย

ปอ้ งกันสตั วก์ ัดผใู้ ช้บริการและเจา้ หน้าท่ี
จุดเน้น

กำหนดมาตรการควบคุมสตั วท์ ี่เปน็ ตวั นำเช้ือโรค
แนวทาง

1. กำหนดมาตรการ การหา้ มเล้ยี ง, ให้อาหารสัตว์บริเวณโรงพยาบาล
2. จำแนกสุนขั มเี จา้ ของ (ใส่ปลอกคอ) และจัดทำฐานขอ้ มูล
3. การคุมกำเนิดสุนัขจรจัด
4. จับสนุ ัขสง่ เขตควบคุมของเทศบาล
5. วางมาตรการ การกำจดั แมว หนู แมลงสาบ และทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลาย
6. การตรวจตราพน้ื ท่เี พอ่ื ระวงั เหตุ

6. การรองรับอทุ กภยั
เป้าหมาย
มรี ะบบน้ำ, ไฟฟา้ พร้อมในการใชบ้ รกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง
จุดเนน้

1. มีระบบไฟฟา้ สำรองที่พร้อมใช้
2. มีระบบสำรองน้ำประปาแผนสำรองน้ำขาดแคลน

48

แนวทาง
การบรกิ ารไฟฟา้
1. มเี ครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้า และมแี ผนขยายระบบไฟสำรองสำหรับอาคารผ้ปู ว่ ยนอกทุกช้ัน ในปี 25๖๕
2. ทดลองเปดิ เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้าทกุ วนั ศุกร์
3. ตรวจเชค็ นำ้ มนั สำหรบั เครือ่ งกำเนิดไฟฟ้าทุกเดือน
4. ประกนั เวลาไฟฟ้าเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ ทำงานภายใน 5 วินาที
5. มีแผนประหยัดพลังงาน เชน่ การตดิ ตัง้ ระบบโซลา่ เซลล์
การบริการประปา
1. มีถงั นำ้ สำรองในอาคารหอผปู้ ว่ ย
2. การตรวจสอบระบบป๊มั สง่ น้ำของอาคารตา่ งๆ อยา่ งน้อยเดอื นละครงั้
3. ตรวจสอบแนวทอ่ ประปา ซอ่ มแซมท่อน้ำชำรดุ
4. มีนำ้ สำรองใชใ้ นโรงพยาบาลอยา่ งน้อย 3 วนั และจัดหาแหลง่ น้ำสำรองเพิ่มเติมจากภายนอก เชน่

การใชน้ ้ำประปาจากเทศบาล
5. นำ้ ดืม่ ใชร้ ะบบฆา่ เช้ือดว้ ย RO
6. ตรวจสอบคุณภาพน้ำดืม่ ปีละ 3 ครัง้

Training (การฝกึ อบรม)
อบรมทกั ษะในการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลแก่บุคลากรในโรงพยาบาลเพ่ือสรา้ งความปลอดภยั ในการ
ทำงาน

Monitoring (ตวั ชว้ี ัดที่ใชต้ ิดตาม)
1. อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานของบคุ ลากร
2. อัตราความผูกพันของบคุ ลากรต่อองคก์ ร

Pitfall (ข้อผดิ พลาดท่ีผา่ นมา)
การขาดการติดตามประเมินผลและทบทวนมาตรการต่างๆ

E3 : Workplace Violence

Definition (คำกำจดั ความ)
อบุ ัตกิ ารณ์การเกิดความรุนแรงในห้องฉุกเฉนิ คือเหตุการณ์อันไม่พงึ ประสงค์ท่ีเกิดขน้ึ รุนแรงในหอ้ งฉุกเฉินท่ีมี
ผลกระทบและก่อให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ รา่ งกายและจติ ใจของบุคลากรทางการแพทย์ รวมทง้ั เครื่องมือ
อุปกรณ์ และอาคารสถานท่ี โดยการกระทำท่ีใชก้ ำลัง โดยใชส้ ิ่งของหรอื ไม่ใช้ก็ตาม รวมถึงการทำร้ายจติ ใจ
ดว้ ยการกระทำและ/หรอื คำพูด และการขม่ ข่ดู ว้ ยการกระทำและ /หรอื คำพูดทำให้กลัว

49

Goal ( เปา้ หมาย)
ปอ้ งกันความรุนแรงในห้องฉกุ เฉิน (Prevent Violence in Emergency room) และสว่ นบริการด่านหนา้

Why (เหตผุ ลทีท่ ำเรอ่ื งนี้)
ความรุนแรงในห้องฉุกเฉินเป็นปัญหาท่สี ำคญั จากการศกึ ษา Emergency Department Violence Study
ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า พยาบาลหอ้ งฉุกเฉิน 54.5% ประสบกบั เหตุการณค์ วามรนุ แรงในท่ีทำงาน
(Workplace Violence) และ 95.5% ของพยาบาลเช่ือวา่ ความรุนแรงในท่ีทำงานมีแนวโน้มเพิม่ ขน้ึ 26.6%
ของพยาบาลไม่มีความสุขและมคี วามคดิ จะ ลาออกหรือย้ายงานเนือ่ งจากความรุนแรงในทีท่ ำงาน 38.5% และ
76.9% ของเหตกุ ารณ์ความ รนุ แรงเกิดทีบ่ ริเวณจุดคดั แยก(Triage) และ เตียงผ้ปู ว่ ย (ตามลำดบั ) ความรนุ แรง
ในห้องฉุกเฉนิ มี 3 ประเภทคือ การถูกทำรา้ ยด้วยวาจา (Verbal threat) การถูกทำรา้ ยรา่ งกาย (Physical
assault) และการสะกดรอยตาม (Stalking)

Process (แนวทาง)
ระยะป้องกัน

1. จดั ทำนโยบายความปลอดภยั บุคลากรและการปอ้ งกันความรุนแรงในห้องฉุกเฉิน
2. จดั ทำนโยบายไมย่ อมรับความรุนแรง (zero tolerance) ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผู้บริการทราบถึงสิทธิ
ของผ้ใู ห้บริการและโรงพยาบาลท่ีจะดำเนนิ การตามแนวปฏบิ ัติทโ่ี รงพยาบาลกำหนดทนั ทกี รณีความรนุ แรง ทั้ง
ร่างกาย วาจา
3. Environment Control เช่น ประตู access control ในห้องฉกุ เฉนิ , กลอ้ งวงจรปิด มเี จา้ หน้าท่ี
รกั ษาความปลอดภัยประจำห้องฉุกเฉนิ 24 ชัว่ โมง มีระบบ Scan อาวุธ และมีสญั ญาณเรียกขอความช่วยเหลือ
4. จัดสถานท่ีหรือรอคอย ที่สะดวกสบาย มีส่ิงอำนวยความสะดวก เช่น โทรทัศน์ประชาสัมพันธ์
ขอ้ มูลขาวสารต่าง ๆ การบรกิ าร น้ำดื่ม และinternet WIFI เปน็ ตน้
5. จัดทำแนวปฏิบตั ิกรณีเหตุการณค์ วามรุนแรงท่ีสง่ ผลตอ่ ความปลอดภยั ของบุคลากรและ

ผรู้ บั บรกิ ารรายอืน่ เช่น กรณยี กพวกตกี นั การใช้อาวุธ ในห้องฉกุ เฉนิ เปน็ ต้น
6. ประสานงานกับตำรวจเพื่อกำหนดแนวทางร่วมกนั ในการป้องกนั และลดความเส่ียงกรณี
เกิดความรุนแรง
7. จัดทำแนวทางการประเมินความเส่ียงผู้ป่วยและญาติที่มีแนวโน้มจะก่อความรุนแรง (Behavioral

emergency screening)
8. จัดตั้ง Behavioral emergency response team (BERT) ซ่ึงควรจะประกอบไปด้วย แพทย์
พยาบาลที่ได้รับการฝึกอบรมรวมท้งั เจ้าหนา้ ที่รกั ษาความปลอดภยั

ระยะเกิดเหตุ
1. ผ้ปู ฏิบตั ิหนา้ งาน รายงานเหตกุ ารณ์ต่อผ้บู งั คบั บัญชา เพ่ือร่วมพจิ ารณาเพ่ือยุตเิ หตุการณ์ ขอความ

ชว่ ยเหลอื ด่วน (Call for help early)
2. มแี นวปฏิบัตใิ นการหลกี หนจี ากเหตกุ ารณค์ วามรุนแรง เชน่ แนวปฏบิ ตั ิ เร่อื งการจัดการภาวะ

รนุ แรงในห้องฉกุ เฉนิ ทง้ั ใน - นอกเวลาราชการ

50

3. หากสถานการณร์ นุ แรง ผ้บู งั คับบัญชารายงานตามลำดับชั้น ประสานกบั เจา้ หนา้ ที่รักษาความ
ปลอดภัย ตำรวจ เพ่อื ระงบั เหตุ

4. ประเมินความเสีย่ งที่อาจเกดิ ข้นึ ถ้าความเสย่ี งสูงพิจารณาลดบริการในส่วนที่เกย่ี วข้อง
5. บันทึกเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ และรายงานความเสย่ี งและบริหารจัดการความเสีย่ งตามระเบียบ
ปฏบิ ัตกิ ารบริหารความเสยี่ งของโรงพยาบาล

ระยะหลังเกิดเหตุหรือระยะฟื้นฟู
1. รายงานเหตุการณ์ตามแนวปฏบิ ัติทโ่ี รงพยาบาลกำหนด
2. ค้นหาสาเหตุ (Root cause analysis) และแนวทางป้องกนั
3. จดั ทำมาตรการเยยี วยาบุคลากรที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง แนวทางแจ้งความประสงคร์ บั

ความช่วยเหลือเบ้อื งต้นกรณีบุคลากรไดร้ บั ความเสียหายหรือบาดเจบ็ จากการปฏบิ ตั งิ าน

Training (การฝึกอบรม)
1. อบรมการจัดการกบั ความรุนแรงในห้องฉุกเฉนิ
2. มีการซ้อมแผนการจดั การกับความรุนแรงในหอ้ งฉุกเฉนิ

Monitoring (ตัวชี้วัดทีใ่ ช้ติดตาม)
จำนวนครั้งการเกิดอบุ ตั ิการณ์รุนแรงในห้องฉุกเฉิน

Pitfall (ขอ้ ผดิ พลาดท่ีผา่ นมา)
1. ขาดการบรหิ ารจดั การเชงิ นโยบายและเชิงระบบเพือ่ ป้องกนั ภาวะความรุนแรงในหอ้ งฉกุ เฉนิ
2. บุคลากรขาดประสบการณ์ในการจัดการกับความรุนแรงในหอ้ งฉุกเฉนิ
3. บคุ ลากรไมร่ ายงานเหตุการณ์ เพราะร้สู ึกว่ารายงานไปก็ไมม่ ีประโยชน์


Click to View FlipBook Version