The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Personel@SSR2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by IPZPREAW, 2021-11-03 04:26:16

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE

SIMPLE Personel@SSR2564

Keywords: แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามหลัก SIMPLE,SIMPLE Personel@SSR2564,SIMPLE Personel,แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของบุคลากร

แนวปฏบิ ตั ิ
เพื่อความปลอดภัยของบุคลากร

ตามหลัก SIMPLE

โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

ปี 2564

สารบัญ

หมวด เร่ือง หนา้

S Security and Privacy of Information and Social Media 2
S1 6
S2 Security and Privacy of Information
I Social Media and Communication Professionalism 9
I1 11
I2 Infection and Exposure 11
12
I2.1 Fundamental of Infection Control and Prevention for Workforce 14
I2.2 Specific Infection Control and Prevention for Workforce
I2.3 Airborne Transmission 15
M Droplet Transmission 15
M1 Contact Transmission 16
M1.1 17
M1.2 Mental Health and Mediation 19
M1.3
M2 Mental Health 22
P Mindfulness at Work 23
P1 Second Victim 23
Burnout and Mental Health Disorder 25
P2 Mediation 27
28
P2.1 Process of Work 29
P2.2 29
P2.3 Fundamental Guideline for Prevention of Work-Related Disorder 31
P2.4
P3 Specific Guideline for Prevention of Work-Related Disorder 33
P3.1 33
Physical Hazard 34
P3.2 Chemical Hazard 35
L Radiation Hazard 37
L1 Biomechanical Hazard
Fitness for Work or Duty Health Assessment
L1.1 Pre-placement and Return to Work Health Examination

L1.2 Medical Surveillance Program

L1.3 Lane (Ambulance) and Legal Issues
L2
Ambulance and Referral Safety
In-Transit Ambulance Safety

On-Site Safety

Ambulance Driving Safety
Legal Issues

หมวด เรื่อง หนา้

L2.1 Informed Consent 37
L2.2 Medical Record and Documentation 39
E
E1 Environment and Working Conditions 42
E2 43
E3 Safe Physical Environment 48
Working Conditions
Workplace Violence

1

S: Security and Privacy of Information and Social Media

S 1 Security and Privacy of Information
S 2 Social Media and Communication

Professionalism

2

S1 : Security and Privacy of Information

Definition (คำกำจัดความ)
ความมน่ั คงปลอดภยั สารสนเทศ (Information Security) หมายถงึ การคมุ้ ครองป้องกันขอ้ มูลและระบบ
สารสนเทศของบคุ คลหรอื องคก์ ร จากการถูกเขา้ ถึง ใช้ เปดิ เผย แก้ไข ทำลาย หรือระงับการใชง้ านโดยไม่ไดร้ บั
อนญุ าต และสภาพพร้อมใช้งาน (availability) ของสารสนเทศ ทง้ั นีร้ วมถึง คณุ สมบตั ใิ นด้าน ความถกู ตอ้ ง
แทจ้ รงิ (authenticity) ความรบั ผิด (accountability) การห้าม ปฏเิ สธความรบั ผดิ (non-repudiation)
และความน่าเชื่อถือ (reliability)
การเข้าถึงหรือควบคุมการใช้งานสารสนเทศ หมายถงึ การอนุญาต การกำหนดสิทธิหรือการมอบ อำนาจ
ให้ผู้ใชง้ าน เข้าถึงหรือใชง้ านเครือข่ายหรือระบบสารสนเทศ ท้ังทางอิเล็กทรอนิกส์และทาง กายภาพ
รวมท้ังการอนญุ าตสำหรับบคุ คลภายนอก
ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อให้การ
เข้าถงึ ใช้ และเปิดเผยขอ้ มลู สารสนเทศดังกล่าว เป็นไปตามความประสงคแ์ ละความยินยอมของผู้น้ัน ยกเว้น
กรณปี ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย
ข้อมลู ส่วนบุคคล (Personal Information) หมายถงึ ข้อมูลของบุคคลหรือเกี่ยวกบั บคุ คล ที่ สามารถระบุ
ตัวบุคคลนนั้ ได้ หรือเขา้ ใจไดว้ า่ หมายถงึ ข้อมูลของบคุ คลใด ทัง้ ท่อี ยใู่ นรูปแบบ เอกสารและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

Goal ( เปา้ หมาย)
เพ่ือให้ความมนั่ คงปลอดภัยและความเปน็ ส่วนตวั ของข้อมูลสารสนเทศของผูใ้ ห้บริการและ ผรู้ ับบรกิ ารไดร้ ับ
ความคุ้มครอง

Why (เหตุผลทีท่ ำเรือ่ งน)้ี
ด้วยเขม็ มุ่ง รพ.สวนสราญรมย์ ปี พ.ศ.2563 – 2565 “2PSSR” โดยเฉพาะ S ความหมาย Safety สำหรบั
บคุ ลากรและคนไข้ รวมทงั้ พระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 จึงต้อง
จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ให้เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม มีประสทิ ธภิ าพ มี
มาตรการคุ้มครองป้องกันด้านความมน่ั คงปลอดภัย (security) และความเปน็ สว่ นตวั (privacy) ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถดำเนนิ งานได้อย่างต่อเน่ือง รวมทงั้ ป้องกันปญั หาทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นจากการใชง้ าน
ระบบสารสนเทศในลักษณะท่ีไม่ถูกต้องและถูกคุกคามจากภัยตา่ งๆ ซึง่ อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์และผูร้ บั บริการเอง ไม่วา่ จะเปน็ ผลกระทบในด้านการใหบ้ ริการหรอื ผลกระทบตอ่
ตวั บคุ คล นอกจากนี้ ข้อมลู ส่วนบุคคลของผูร้ บั บรกิ าร ถือเป็น ความลบั ของผู้รบั บริการที่ผู้ให้บรกิ ารมีหนา้ ที่
ทางจรยิ ธรรมในการคมุ้ ครองปอ้ งกนั

Process (แนวทาง)
1.กำหนดนโยบายและระเบียบปฏบิ ตั ิ

1.1 นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภยั ระบบสารสนเทศ และการรักษาความมนั่ คงปลอดภยั
ไซเบอร์

3

1.2 แผนปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาจากสถานการณ์ ความไมแ่ นน่ อนและภัยพิบัติท่ีอาจจะเกิดกับระบบ
ฐานข้อมูลและสารสนเทศ (IT Contingency Plan )

1.3 แผนบรหิ ารความเสี่ยงด้านระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ (IT Risk Management Plan)
1.4 คำส่ังโรงพยาบาลสวนสราญรมยแ์ ตง่ ตั้งคณะกรรมการรักษาความม่นั คงปลอดภัยของระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. ประเมนิ จดั การ และติดตามความเส่ยี งดา้ นความม่ันคงปลอดภยั สารสนเทศและความเปน็ สว่ นตวั อย่าง
เหมาะสม
3. กำหนดมาตรการค้มุ ครองป้องกนั ด้านความมน่ั คงปลอดภัยสารสนเทศ ของระบบสารสนเทศทมี่ ีข้อมลู ส่วน
บุคคลเกย่ี วกับบุคลากรหรือผู้ปว่ ย ในดา้ นตา่ งๆ ซ่ึงรวมถึง

3.1 ความม่นั คงปลอดภยั ทางกายภาพ (Physical Security) มกี ารใช้ระบบ Access door Control
ในการสแกนลายนว้ิ มือในการเขา้ - ออก หอ้ งปฏิบตั ิการ Server ระบบบริการผู้ป่วย (HIS) , Back office และ
ระบบฐานข้อมูล และกำหนดเจ้าหน้าท่ีกลุ่มงานเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีได้รับอนุญาตเท่านนั้ เพ่ือป้องกนั ความ
เสยี หายทางกายภาพและการละเมดิ ข้อมลู จากภายนอก

3.2 ความม่นั คงปลอดภัยทางบรหิ ารจดั การ (Administrative Security) กำหนดนโยบาย โดยมีการ
กำหนดการจดั การความเส่ยี งและควบคุมการทำงานตา่ งๆ ทุกกระบวนอย่างเปน็ ระบบ ใหอ้ ย่ใู นระดับความ
ปลอดภยั ในระดบั ท่ีเป็นมาตรฐานจากการให้ Software และ Hardware เพ่ือป้องกันการบุกรุกและภัยคกุ คาม
ทางคอมพวิ เตอร์ ที่ต้องการเข้าระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลจากผไู้ มป่ ระสงค์ดี

3.3 ความมน่ั คงปลอดภัยของผใู้ ชง้ าน (User Security) สามารถจดั การความปลอดภยั ดังนี้

(1.) การใช้งานระบบสารสนเทศและระบบบริการงานผู้ป่วยจิตเวชของโรงพยาบาลสวน
สราญรมย์ ผู้ใช้งานระบบจะต้องมีการบันทึกชื่อผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน (password) พร้อมข้อมูล
หนว่ ยงาน เพ่อื ตรวจสอบ ก่อนอนุญาตให้ผู้ใช้งานเขา้ ใช้งานไดต้ ามอาํ นาจหน้าที่ และความรับผดิ ชอบ

(2.) ผู้ดูแลระบบ กําหนดสิทธ์ิการเข้าถึงข้อมูลและระบบสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้งานอย่าง
เหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบโดยมีระบบรักษาความปลอดภัยที่อนุญาตให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่
รับผิดชอบสามารถเขา้ ในระบบได้ตามความรับผิดชอบ (Access) โดยมีลาํ ดับข้ันของระบบฐานขอ้ มูลและการ
กําหนดสทิ ธิ์ใหบ้ ุคคลสามารถ เขา้ ถึงข้อมูลได้

(3.) ผู้ใช้ต้องจะใช้ชื่อผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน (password) ท่ีได้รับอนุญาตในการ
เข้าใช้งานระบบสารสนเทศและบรกิ ารงานผปู้ ว่ ยจติ เวช (HIS)

(4.) ผู้ใช้บริการไม่ควรอนุญาตให้ผู้อื่นใช้ช่ือผู้ใช้ และรหัสผ่าน ของตนในการเข้า ใช้งาน
ระบบสารสนเทศและบริการงานผู้ปว่ ยจิตเวช (HIS) รว่ มกนั

(5.) ผู้ใชบ้ ริการควรทำ Logout ทนั ทีเม่อื เลิกใชง้ านหรอื ไม่อย่ทู ีห่ นา้ จอเปน็ เวลานาน
(6.) ผู้ดแู ลระบบ กำหนดการเปล่ียนแปลงและการยกเลิกผ้ใู ช้ (User name) และ
รหัสผ่าน (Password) เมื่อผู้ใช้งานระบบลาออก หรือพ้นจากตำแหน่ง หรือยกเลิกการใช้งาน
3.4 ความมัน่ คงปลอดภัยของระบบเครือขา่ ย (Network Security) สามารถจดั การความปลอดภยั
ดงั น้ี
(1.) กำหนดนโยบายการรักษาความมัน่ คงปลอดภัยของเครือขา่ ยและเครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ม่
ข่าย (Network and Server Policy) โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

4

(2.) บริหารจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กำหนดและดูแลการป้องกันการบุกรุกหรือ
โจมตีเครือข่าย โดยใช้อุปกรณ์ Firewall จากภายในและภายนอกระบบเครือข่าย ท้ังจากไวรัสและบุคคลผู้ไม่
ประสงค์ดี (Intrusion Detection System: IDS)

(3.) การบริหารจัดการสิทธิ์ในการเข้าใช้งาน Internet ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ
โรงพยาบาล (Authentication – Identification - Authorization)

(4.) การเข้าสู่ระบบเครือข่ายภายในหน่วยงาน โดยผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต จำเป็นต้องมี
การลงบนั ทึกเข้า (Login-Logout) และตอ้ งมีการพิสูจน์ยืนยันตัวตน (Authentication) เพื่อตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของผู้ใชบ้ ริการ

(5.) ระบบเครือขา่ ยทั้งหมดของหนว่ ยงานที่มกี ารเชือ่ มต่อไปยังระบบเครอื ขา่ ยอ่ืนๆ ภายนอก
หน่วยงานควรเช่ือมต่อผ่านอุปกรณ์ป้องกันการบุกรุก รวมทั้งต้องมี ความสามารถในการตรวจจับโปรแกรม
ประสงคร์ ้าย (Malware)

(6.) ระบ บเครือข่ายต้องติดต้ังระบ บตรวจจับการบุ กรุก (Intrusion Prevention
System/Intrusion Detection System) เพื่อตรวจสอบการใชง้ านของบคุ คล ทเี่ ข้าใชง้ านระบบเครอื ข่ายของ
หน่วยงานในลักษณะทผี่ ดิ ปกติ

(7.) กำหนดมาตรการควบคุมการจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) เพื่อให้
ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) มีความถูกตอ้ งและสามารถระบุถึงตวั บุคคลได้

(8.) กำหนดมาตรการการรายงานอุบัติการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์จากระบบเครือข่ายและเคร่ือง
คอมพิวเตอรแ์ ม่ขา่ ยใหผ้ ้บู งั คบั บญั ชาทราบโดยเรว็

3.5 ความม่ันคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ (System Security) สามารถจัดการความปลอดภัย
ดังน้ี

(1.) การปรับปรุงระบบปฏิบัติการ Server ของระบบบริการและซอฟต์แวร์ให้ปลอดภัย ให้
เป็นฉบับปัจจบุ ัน

(2.) การใช้โปรแกรม Antivirus ท่ีมีการอัพเดทซอฟแวร์เป็นปัจจุบัน และติดบน
ระบบปฏิบตั ิการ Server และคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คลทป่ี ระจำของแตล่ ะหนว่ ยงานภายในโรงพยาบาล

(3.) การมีระบบสำรองข้อมูลในระบบท่มี ีความสำคัญ ได้แก่ เช่นฐานขอ้ มลู ระบบบริการผู้ปว่ ย
จิตเวช (HIS) , ฐานขอ้ มูลเพอ่ื การบริหารงานภายใน , ฐานขอ้ มูลเพ่ือการบริหารงานภายใน (Back Office)
3.6 ความมน่ั คงปลอดภัยของขอ้ มลู (Data Security) สามารถจัดการความปลอดภยั ดังนี้

(1.) กำหนดนโยบายความมน่ั คงปลอดภัยของการสำรองข้อมูล (Backup Policy)
(2.) การควบคุมเจ้าหน้าท่ีในการเข้าถึงฐานข้อมูลผปู้ ่วยจิตเวชจากระบบบริการงานผู้ปว่ ยจิต
เวช (HIS) ,ฐานข้อมูลเพ่ือการบรหิ ารงานภายใน และฐานข้อมลู เพื่อการบริหารงานภายใน (Back Office) โดย
มีการกำหนดสิทธ์ิขัน้ ในการเข้าถงึ ฐานข้อมลู ของแตล่ ะบคุ คล
(3.) กำหนดแผนปฏิบัติสำหรับการตรวจสอบ สำรองและกู้คืนข้อมูลจากความเสียหาย
(Backup and Recovery) หรือกำหนดระยะเวลาในการสำรองและทดสอบกู้คืนข้อมูล (Restore) ของ
ฐานขอ้ มูลทีม่ คี วามสำคัญ
(4.) มาตรการคุ้มครองความเป็นส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ ได้กำหนด
มาตรการดงั นี้

• กำหนดนโยบายการคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection
Policy)

5

• การคมุ้ ครองข้อมลู สว่ นบุคคล โดยการแจง้ รายละเอียด ก่อนการเก็บรวบรวม ใช้
ขอ้ มูล หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของ และการขอข้อมูลในใบยนิ ยอม (consent
form) ตามแนวปฏิบตั ติ ามนโยบายของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ และอา้ งองิ จาก
พ.ร.บ.คุม้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล 2562

• จา้ หน้าทนี่ ำหนงั สอื ใบยนิ ยอมเปิดเผยขอ้ มลู ส่วนบคุ คลใส่แฟ้มประวตั ขิ องผู้ปว่ ยตาม
มาตรการของงานเวชระเบยี นและจดั เก็บไฟล์เอกสารยินยอม (consent form)
ผา่ นระบบเวบ็ ไซต์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยผ้ดู ูแลระบบจะต้องทำการรกั ษาความมัน่ คง
ปลอดภัยของข้อมลู สว่ นบคุ คล ไม่ใหม้ กี ารเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข หรอื เขา้ ถึงโดยผ้ทู ่ีไม่
เกีย่ วข้องโดยมีการลำดับชั้นของการเขา้ ถึงข้อมูล

• กรณีถา้ ต้องการใชข้ ้อมูลเพ่ือการวิจยั ต้องผ่านการได้รบั อนุญาตและจำกดั ข้อมูล
เฉพาะทใ่ี ช้งานวิจัยเทา่ น้นั

Training (การฝกึ อบรม)
1.การอบรมการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ตา่ งๆ การใช้งานด้านอุปกรณฮ์ าร์ดแวร์ (Hardware) และระบบ
เครือข่ายอย่างเหมาะสม 1 ครง้ั ตอ่ ปงี บประมาณของบุคคลากร
2.การอบรมเรื่องความรู้ Cyber Security ในการใช้เครอื ข่าย intranet สำหรับผู้ดแู ลระบบ
3.ทบทวน ปรบั ปรุง แผนการบรหิ ารความเสีย่ งด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT Risk Management)

Monitoring (ตัวชี้วดั ท่ใี ชต้ ิดตาม)
1.รอ้ ยละของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ Smart Hospital และมีความปลอดภยั (Safety Goal) จากภยั
คุมคามทางคอมพวิ เตอร์
2.จำนวนครง้ั ทไี่ ม่สามารถกูค้ ืนระบบสารสนเทศไดภ้ ายในเวลาที่กำหนด
3.รอ้ ยละของการผา่ นเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจัดการด้านประสทิ ธิภาพของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Pitfall (ข้อผดิ พลาดท่ผี า่ นมา)
1.ระบบสารสนเทศหรือระบบบรกิ ารงานผูป้ ว่ ยเวช (HIS) ไม่สามารถกู้คืนระบบ และใหบ้ ริการไดใ้ นระยะเวลา
ทีก่ ำหนด เนื่องจากระบบไฟฟ้าหลักขัดข้องและระบบไฟสำรองของโรงพยาบาลไม่สามารถทำงานไดต้ ่อเน่ือง
2.การไม่บันทกึ หรือบันทึกไม่สมบรู ณ์ มขี ้อผดิ พลาดของข้อมลู การลงรหัสวนิ จิ ฉัย เลขประกอบวิชาชพี เวชกรรม
ของแพทย์ การลงหตั ถการ การให้ Intervention, รวมถึงการสัง่ จา่ ยยา จากเจา้ หนา้ ที่ ส่งผลให้ข้อมูลขาด
ความสมบรู ณ์
3.บคุ ลากร/เจา้ หน้าทบ่ี างคน ขาดทกั ษะ หรือไมเ่ ข้าใจวิธีการใชง้ านเครอื่ งมือ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ หรือ
ระบบงานโปรแกรมประยุกต์จนทำใหเ้ กิดความเสียหายกับระบบงาน

6

S2 : Social Media and Communication Professionalism

Definition (คำกำจัดความ)

“สือ่ สงั คมออนไลน์” (Social Media) หมายความว่า สอ่ื หรือชอ่ งทางในการติดต่อส่ือสารหรือ
แลกเปลีย่ นข้อมลู ระหวา่ งบุคคลโดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ทเี่ น้นการสร้างและเผยแพร่เนือ้ หา ระหว่าง
ผู้ใช้งานดว้ ยกนั (Creation and Exchange of User-Generated Content) หรือ สนับสนุนการสอ่ื สารสอง
ทาง หรือการนำเสนอและเผยแพร่เนอ้ื หาในวงกวา้ งไดด้ ว้ ยตนเอง เชน่ กระดานข่าว, Facebook, YouTube,
ทวิตเตอร,์ Instagram, LINE เป็นตน้

Goal (เปา้ หมาย)

เพ่ือให้บุคลากรของสถานพยาบาลมีการใช้งานและการส่ือสารผ่านสื่อสงั คมออนไลน์ (Social Media)
และสื่ออ่ืนๆ อย่างเหมาะสมและมีความเป็นมืออาชีพ (Professionalism) และลดปัญหาผลกระทบท่ีอาจเกิด
ขึน้ กบั ตวั เองและองคก์ ร

Why (เหตผุ ลทที่ ำเรอื่ งน)้ี

การใช้งานและการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) และสื่ออ่ืนๆ อย่างสร้างสรรค์
เหมาะสม สามารถช่วยใหเ้ กดิ ประโยชน์ในแงก่ ารส่งเสริม ป้องกันปญั หาสขุ ภาพจติ อีกทั้งเป็นช่องทางส่ือสารที่
ช่วยลดการตีตราของสังคมที่มีต่อผู้ทมี่ ีปญั หาสุขภาพจิตได้ หากมกี ารใช้ส่ือสังคมออนไลน์ท่ีไม่เหมาะสม หรือไม่
เป็นมืออาชีพ (Unprofessional Conduct) นอกจากจะทำให้เกิดความเสียหายต่อผู้ป่วยที่ถูกละเมิดข้อมูล
ความเจ็บป่วยแล้ว ยังเป็นการสร้างความเสียหายต่อตัวบุคลากรเองในแง่การกระทำผิดทั้งกฎหมายและ
จรยิ ธรรมทางวิชาชีพและตอ่ ความน่าเชือ่ ถือ ความเชอ่ื มั่นและความไว้วางใจทีป่ ระชาชนมีต่อองค์กรด้วย

Process (แนวทาง)
1. โรงพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media) และสื่ออ่ืน ๆ
ของบุคลากร ท้งั ที่เป็นผู้ประกอบวชิ าชีพที่มีกฎหมายควบคุม และบุคลากรอ่ืนของสถานพยาบาล
(ท้ังที่ใช้ในนามส่วนตัวหรือในนามองค์กร) ท่ีเหมาะสมกับบริบทขององค์กร โดยอาจนำแนวทาง
ปฏิบัติท่ีเป็น Best Practices มาปรับใช้
2. โรงพยาบาลมีการสอื่ สารทำความเข้าใจแนวทางปฏบิ ัตดิ งั กลา่ วภายในองคก์ รอยา่ งทว่ั ถงึ
3. จดั ทำแนวทางการปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั การใชง้ านสือ่ สารสงั คมออนไลนค์ รอบคลุมถงึ ประเดน็ ต่อไปน้ี
• ความเช่อื มโยงกับจริยธรรมวชิ าชพี ของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพดา้ นสุขภาพ
• การเคารพศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์และหลีกเลี่ยงการโจมตี กล่ันแกล้ง หรือคุกคาม ทำให้ผอู้ ื่น
เสยี หาย (Cyber - bullying)
• แนวทางการใช้งานท่ีเปน็ พฤตกิ รรมหรือการวางตัวอยา่ งเหมาะสม (Appropriate Conduct)

7

• การคำนึงถึงความปลอดภัย (Safety) และเป็นส่วนตัว (Privacy) ของบุคคลอ่ืน โดยเฉพาะ
ผปู้ ่วย

• การห้ามบุคลากรทำการโฆษณาทผี่ ิดกฎหมายหรอื จริยธรรม
• แนวทางการใช้งานท่ีไม่เป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย เช่น ความรู้ทาง

การแพทย์ทผ่ี ิด ๆ
• ขอบเขตและแนวทางการใช้งานเพื่อการปรึกษาให้คำปรึกษา ติดตาม สั่งการรักษาหรือให้

คำแนะนำเก่ียวกับสุขภาพ (Online Consultation) ไม่ว่าจะระหว่างบุคลากรด้วยกันเอง
หรอื กับผู้ปว่ ยหรอื บคุ คลภายนอกทเี่ หมาะสมขององค์กร
4. โรงพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารในภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่ง
รวมถึงการตอบสนองในกรณที ี่มีเหตุท่ีอาจสง่ ผลกระทบภาพลบตอ่ ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความ
เช่ือม่นั ขององคก์ รในวงกวา้ ง ที่เหมาะสม คล่องตวั และประสิทธภิ าพ
5. จดั อบรมเกย่ี วกบั แนวทางปฏบิ ัตใิ นการใช้งานสื่อสงั คมออนไลนข์ องผปู้ ฏิบัติงานด้านสุขภาพ

Monitoring (ตัวช้วี ดั ท่ีใชต้ ิดตาม)
• มแี นวทางปฏบิ ตั เิ ก่ียวกับการใช้งานสื่อสงั คมออนไลน์
• จำนวนอุบัติการณ์ความเส่ียงด้านการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรหรือองค์กรที่
สามารถป้องกันได้
• การร้องเรยี นจากผรู้ บั บริการทเี่ กย่ี วข้องกบั การใช้สอ่ื สงั คมออนไลนข์ องบุคลากร

Pitfall (ข้อผิดพลาดที่ผา่ นมา)
• การเฝา้ ระวงั ตดิ ตาม หรือแก้ไขปญั หาบนส่ือสงั คมออนไลน์ขององค์กรไม่ทันทว่ งทหี รอื ขาด
ประสทิ ธิภาพ
• ระยะเร่ิมแรกของการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของ รพ.ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ขาดข้อกำหนด มาตรการ
หรอื แนวทางปฏิบตั ิในการใชง้ าน

8

I Infection and Exposure
I1
I2 Fundamental of Infection Control and Prevention for Workforce
Specific Infection Control and Prevention for Workforce
I2.1 Airborne Transmission
I2.2 Droplet Transmission
I2.3 Contact Transmission

9

I : Infection and Exposure

I1 : Fundamental of Infection Control and prevention for workforce

Definition

การตดิ เชือ้ ในบคุ ลากรระหว่างการปฏบิ ัตงิ าน (Occupationally – Acquired Infection) ไดแ้ ก่ โรคติดเชอ้ื ท่ี
บุคลากรสุขภาพสัมผสั ในระหวา่ งการปฏบิ ัติงานและอาจเกิดการติดเช้อื (Infection) หรอื โรค (Disease) ขึ้น โดย
การสมั ผัสผู้ปว่ ยหรือเลอื ด สารคัดหลง่ั เนื้อเยื่อ อวัยวะของผู้ป่วยหรือสตั วท์ ดลอง รวมท้งั วัสดุอปุ กรณ์ที่มเี ชือ้ กอ่
โรค
การปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เช้ือในบุคลากรระหวา่ งการปฏิบัติงาน (Infection Control and
Prevention for Workforce) ได้แก่ การลดความเสยี่ งตอ่ การสมั ผสั หรือการถ่ายทอดการแพรข่ องเชอ้ื กอ่ โรคใน
ระหวา่ งการปฏิบัตงิ าน เพ่ือการป้องกนั หรือควบคุมการอาศยั ของเชอื้ (Colonization) หรอื การตดิ เช้ือ
(infection) หรือการเกิดโรค (Disease) ในบคุ ลากรสุขภาพ
ประเภทของโรคติดเชอ้ื จำแนกตามแนวทางการถา่ ยทอดของเช้ือก่อโรค
โรคตดิ เชอื้ ท่บี ุคลากรสุขภาพเส่ียงเม่อื จำแนกประเภทตามแนวทางการถ่ายทอดของเชื้อก่อโรค 4 ประเภท ไดแ้ ก่

1. ทางอากาศ (Airborne) ได้แก่ วัณโรคทางเดินหายใจ อีสุกอีใสและหัด ซึ่งเป็นกลุ่มโรคติดเช้ือในงาน
บรกิ ารสุขภาพที่สำคญั ที่สุด เน่ืองจากพบบ่อยทส่ี ุด รวมท้ังโรคติดเช้ืออุบัติใหม่ เชน่ SARS และโรคตดิ เช้ือ
อบุ ัตใิ หมท่ ยี่ ังไม่ทราบวธิ กี ารแพรเ่ ช้อื อาจแพร่เช้ือทางอากาศไดบ้ างโอกาส (opportunistic air borne)

2. ผ่านละอองสารคัดหล่ังทางเดินหายใจ (Droplet) ได้แก่ ไข้หวัดใหญ่, ไข้หวัด, คอตีบ, ไอกรน, ฯลฯ พบ
บ่อยรองลงไปจากเชอ้ื ท่ีแพรท่ างอากาศ (air borne)

3. ผ่านการสัมผัสเช้ือ (contact) ได้แก่ HIV, HBV, HVC, Ebola virus, dengue virus, cytomegalovirus
ผ่านอุบัติเหตุการแพทย์ เช่น เข็มตำมือ เลือดและสารคัดหลั่งกระเด็น พบไม่บ่อยแต่มีผลกระทบรุนแรง
ส่วนการสัมผัสแบคทีเรียดื้อยาไม่มีผลโดยตรงกับบุคลากร แต่ถ่ายทอดสู่ผู้ป่วยหรือบุคลากรท่ีมีโรค
ประจำตัว

4. ผ่านทางพาหะ (vector borne) โดยเฉพาะแมลง เช่น ไข้เลือดออก ไวรัสซิก้า มาลาเรีย ฯลฯ พบได้น้อย
มาก นอกจากโรงพยาบาลในพ้นื ทช่ี ุกชมุ โรค

Goal

บุคลากรสามารถปอ้ งกันตนเองจากความเส่ียงต่อการตดิ เชื้อขณะปฏิบตั ิงานได้ถูกต้องและสามารถปอ้ งกนั การ
แพร่กระจายเชอื้ ระหว่างบุคลากรกบั ผู้ป่วยได้

WHY

การติดเช้อื ของบุคลากรทำให้สง่ ผลเสียต่อการปฏิบัติงานของตวั บุคลากรเองและบุคลากรอน่ื เน่ืองจากไม่สามารถ
มาปฏบิ ัตงิ านได้ตามปกติ ทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ไดป้ ระสทิ ธภิ าพและผลลพั ธ์ตามท่ีกำหนด

10

Process

การจัดต้งั องคก์ รหรือหน่วยงานหรือผรู้ ับผดิ ชอบ
งานอาชีวอนามัยเป็นองค์ประกอบหลักของการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของบุคลากรสุขภาพในระหว่าง
ปฏบิ ัตงิ าน โดยกระบวนการดงั ตอ่ ไปนี้

1. การสร้างเสริมภูมิคุมกันโรคติดเช้ือท่ีป้องกันได้ด้วยวัคซีน (pre exposure prophylaxis, active
immunization) โดยจดั ลำดบั ความสำคญั ตาม high risk areas, practices

2. การให้การป้องกันการติดเชื้อแก่บุคลากรสุขภาพหลังสัมผัสโรคติดเช้ือที่อาจติดต่อได้ระหว่าง
ปฏิบัตงิ าน (post exposure prophylaxis, passive immunization)

- บุคลากรสุขภาพทุกรายควรได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันต่อโรคติดเชื้อต่อไปนี้ ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบบี
หัด หัดเยอรมนั คางทูม อีสกุ อใี ส คอตีบ ไอกรน บาดทะยกั และไขห้ วดั ใหญ่

- การป้องกันการติดเชื้อหลังสัมผัสโรค (post-exposure prophylaxis) ที่มีในปัจจุบัน สามารถป้องกัน
โรคไวรัสตับอักเสบเอ ไวรัสตับอักเสบบี HIV โรคหัด ไอกรนและไข้กาฬหลังแอ่น (invasive meningococcal
infection) บุคลากรสุขภาพที่ติดเชื้อหรือสัมผัสโรคติดเช้ือท่ีอาจติดต่อได้ (communicable disease) จะต้อง
ไดร้ ับการตรวจวนิ ิจฉัย การดแู ลรักษาอย่างถูกต้อง ได้รับการประเมินเพื่อพักการปฏบิ ัตหิ นา้ ทห่ี รือจำกัดการปฏิบัติ
หน้าทรี่ วมท้ังการลาป่วย การชดเชยตามสิทธิ
กระบวนการป้องกนั การตดิ เชอ้ื บคุ ลากรสุขภาพ
แนวทางปฏบิ ตั หิ ลัก 6 ประการไดแ้ ก่

1. การใหก้ ารศกึ ษาฝึกอบรมแกบ่ คุ ลากรเม่ือเริ่มต้นปฏบิ ัติงานและประจำปีในระหว่างปฏิบัติงาน
2. การสร้างภมู คิ ุมกนั ต่อโรคติดเชือ้ ทป่ี อ้ งกันได้ดว้ ยวัคซีนต้ังแต่กอ่ นเร่ิมปฏบิ ัติงาน
3. การจัดให้มีกระบวนการคัดกรอง (screening and triage) คัดแยกผู้ป่วยและการระมัดระวังการสัมผัส

โรค (isolation and precaution) ในผู้ป่วยที่มีหรือสงสัยโรคติดเช้ือท่ีอาจติดต่อได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
โรคติดต่อทางอากาศ เช่น วัณโรค โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ ในแผนกผู้ป่วยนอก ฉุกเฉิน อุบัติเหตุ
สถานพยาบาลทเ่ี ปน็ ด่านหนา้ ของงานบริการสขุ ภาพทุกระดบั
4. การประเมินบุคลากรผู้สมั ผัสโรคติดเช้อื ท่ีอาจติดตอ่ ได้และการจัดหาการป้องกนั ดว้ ยยาด้านจลุ ชีพหรือการ
ให้ภมู ิค้มุ กันภายหลังการสัมผัส (post exposure prophylaxis)
5. การปฏิบัติตามแนวทางการระมัดระวัง การติดเช้ือข้ันพ้ืนฐาน standard precaution ในระหว่างให้การ
ดูแลผู้ปว่ ย
6. การจัดให้มีและการใช้งานอย่างถูกต้องของเคร่ืองป้องกันร่างกายส่วนบุคคล (protective personal
equipment) ได้แก่ หน้ากากอนามัย หน้ากากไส้กรองละเอียด N 95 หรือ powered air respirator
(PAPR) อุปกรณ์ป้องกันบริเวณรอบดวงตา ใบหน้า ศีรษะ ถุงมือ และเส้ือคลุม ตามประเภทกิจกรรมท่ี
เส่ยี งต่อการสมั ผสั เช้ือก่อโรค

Training

จัดโครงการฝกึ อบรมพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรในการควบคุมและป้องกันการตดิ เช้ือในโรงพยาบาลสำหรบั พยาบาล
ปอ้ งกนั และควบคุมการติดเชอื้ (ICWN) และการอบรมพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรในการควบคุมและป้องกันการติด
เช้ือสำหรบั บุคลากรหน่วยสนบั สนุนในโรงพยาบาล จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ไดฝ้ ึกซ้อม
การสวม-ถอดเคร่อื งปอ้ งกันรา่ งกายส่วนบุคคล (protective personal equipment) ให้แกบ่ ุคลากรด่านหนา้

11

หน่วยงานทางคลินิกทกุ หนว่ ยงาน รวมท้ังงานสนับสนุนท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ หน่วยซกั ฟอก หน่วยรงั สีวทิ ยา หน่วย
ชนั สูตร ทนั ตกรรม พนักงานขับรถ

Monitoring

จำนวนบคุ ลากรทมี่ ีการตดิ เช้ือจากการปฏบิ ัตงิ านในโรงพยาบาล เปา้ หมาย 0 ราย

Pitfall

บคุ ลากรมคี วามรู้เรือ่ งโรคไมถ่ ูกต้อง จึงทำใหก้ ารดูแลผปู้ ่วยและการป้องกันการแพรก่ ระจายเช้อื ไม่ถูกต้อง

I2 : Specific Infection Control and Prevention for Workforce

I2.1 : Airborne Transmission

Definition
การติดเชื้อทางอากาศ (airborne) ได้แก่ วณั โรค สกุ ใส หัด และโรคติดเชอ้ื อุบตั ใิ หม่ เช่น โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่
(Covid-19)

Goal
• อัตราอบุ ัติการณ์การติดเชื้อทางอากาศในบุคลากร = 0

WHY
บคุ ลากรสขุ ภาพทีต่ ิดเชอื้ หรือเจ็บปว่ ยจากวณั โรค อีสุกอใี ส หัด โรคตดิ เชื้ออบุ ตั ิใหม่ เชน่ Covid-19 ในระหวา่ ง
ปฏิบตั งิ านส่งผลตอ่ สขุ ภาพ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และระบบการบริการสขุ ภาพระดับชาติ

Process
1. กระบวนการดแู ลบุคลากรทเี่ ปน็ กลมุ่ เสย่ี งและกลุ่มตดิ เชื้อ ดงั ต่อไปน้ี

1.1 การใหก้ ารป้องกนั การติดเชอื้ แกบ่ ุคลากรสุขภาพหลังสัมผสั โรค บคุ ลากรสขุ ภาพ
ทุกรายจะได้รบั การป้องกนั การตดิ เชอื้ หลงั สัมผสั โรคหดั วณั โรค โดยการไดร้ ับวัคซีน และกกั ตวั เฝา้ ระวังการเกิด
โรค

1.2 บุคลากรสุขภาพท่ีตดิ เชื้อหรือสัมผสั วณั โรค อีสกุ อีใส หัด โรคติดเชือ้ อุบตั ิใหม่ จะต้อง
ได้รบั การตรวจวนิ ิจฉยั การดูแลรกั ษาอย่างถูกต้อง ไดร้ ับการประเมินเพอื่ พักการปฏบิ ัติ
หน้าที่หรอื จำกัดการปฏิบัตหิ นา้ ท่รี วมทั้งการลาป่วย การชดเชยตามสทิ ธิ
2. แนวทางปฏิบัติ ไดแ้ ก่

2.1 การให้วคั ซีนสรา้ งเสริมภูมิคุม้ กนั ต่อโรค Covid-19 ก่อนการสมั ผัส
2.2 การใหก้ ารศึกษาฝึกอบรมแกบ่ ุคลากรเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจเมื่อเร่มิ ตน้
ปฏบิ ัตงิ านและประจำปใี นระหวา่ งปฏิบตั ิงาน

12

2.3 การจดั ให้มีกระบวนการการคดั กรอง (screening and triage) คัดแยกผปู้ ่วยและการระมดั ระวงั การ
สัมผัสโรค (isolation and precaution) ในผู้ป่วยท่มี หี รือสงสยั วณั โรค โรคหดั อีสุกอีใส โรคตดิ เชือ้ อบุ ัติใหม่ มี
การจดั ห้องตรวจแยกโรค แบบ Modify AIIR ในแผนกผู้ปว่ ยนอก จิตเวชฉุกเฉิน การรบั ผู้ปว่ ยไว้ในโรงพยาบาลใน
หอ้ งแยกระดบั airborne isolation ทม่ี อี ตั ราการไหลเวียนอากาศไม่ต่ํากวา่ 12-15 air change ต่อช่วั โมง ความ
ดันเปน็ ลบแตกตา่ งจากห้องภายนอก ไม่ต่าํ กว่า 2.5 pascal (Pa)

2.4 การประเมินบุคลากรผสู้ มั ผัสโรคและการจัดหาการป้องกันด้วยยาตา้ นจลุ ชีพหรือการให้ภมู คิ ุ้มกนั
ภายหลงั การสมั ผัส (post-exposure)

2.5 การปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการระมดั ระวัง การตดิ เช้ือขั้น airborne precautionในระหว่างให้การดูแล
ผ้ปู ่วย

2.6 การจดั ให้มแี ละการใช้งานอย่างถูกต้องของเครื่องป้องกันรา่ งกายส่วนบคุ คล (protective personal
equipment) ได้แก่ หนา้ กากไส้กรองละเอียด N95 อุปกรณป์ อ้ งกนั บรเิ วณดวงตา ใบหนา้ ศรี ษะถงุ มือและเส้ือ
คลมุ ตามประเภทกจิ กรรมที่เสีย่ งต่อการสมั ผสั เชื้อก่อโรค

2.7 รณรงคม์ าตรการ D-M-H-T-T (Social distancing- Mask-Hand washing-Temperature-Thai
chana) ในปอ้ งกันโรคติดเชื้อทางอากาศ เช่น การเวน้ ระยะห่างทางสังคม การสวมหน้ากากอนามยั การวดั
อุณหภมู ิก่อนให้การบรกิ าร และการบันทึกข้อมูลการมาใช้บริการใน Application Thaichana

Training
ฝกึ อบรมการปฏบิ ตั ิตามแนวทางการระมัดระวังการติดเชอ้ื airborne การใชง้ านอย่างถูกตอ้ งของเคร่ืองป้องกัน
รา่ งกายส่วนบคุ คล แกบ่ ุคลากร เม่อื เร่ิมตน้ ปฏบิ ัติงาน และประจำปใี นระหวา่ งปฏบิ ตั งิ าน

Monitoring
การประเมินผลอัตราการปฏิบัติตามแนวทางการระมดั ระวงั การติดเช้ือในบุคลากรทปี่ ฏิบัตงิ านดูแลผ้ปู ่วย

Pitfall
ข้อผดิ พลาดในการปฏิบัตโิ ดยความไม่เขา้ ใจทอี่ าจเกิดข้ึนท่ีสำคญั ไดแ้ ก่ การไม่ปฏบิ ัติหรือปฏิบัตผิ ดิ พลาดตามแนว
ทางการระมดั ระวงั การตดิ เชอื้ ระหว่างใหก้ ารดูแลผ้ปู ว่ ย

I 2.2 : Droplet Transmission

Definition

การตดิ เชื้อผา่ นละอองสารคดั หลัง่ ทางเดินหายใจ (droplet) ไดแ้ ก่ ไขห้ วัดใหญ่, คอตีบ, ไอกรน, ฯลฯ และโรคตดิ
เชอ้ื อบุ ตั ิใหม่ เชน่ โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรน่า (Covid-19)

13

Goal

บุคลากรสามารถป้องกันตนเองจากความเสีย่ งต่อการติดเชื้อผา่ นละอองสารคัดหลง่ั ทางเดินหายใจ
(droplet) ขณะปฏบิ ตั ิงานได้ถกู ต้องและสามารถป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือระหว่างบุคลากรกบั ผูป้ ว่ ยได้

WHY

บุคลากรท่ีติดเชื้อหรือเจ็บป่วยจากไข้หวัดใหญ่, คอตีบ, ไอกรน ฯลฯ ในระหว่างปฏิบัติงานส่งผลต่อ
สขุ ภาพของบุคลากร และสง่ ผลต่อการปฏิบัตงิ าน

Process

1. การให้วคั ซนี สร้างภมู คิ ้มุ กัน
2. การให้การป้องกนั การตดิ เช้ือแก่บคุ ลากรสุขภาพหลงั สัมผัสโรค
3. การรบั ผปู้ ว่ ยไวใ้ นโรงพยาบาลในหอ้ งเดย่ี วหรือหอ้ งรวมทแี่ ยกผู้ปว่ ย (Cohort)
4. บุคลากรสุขภาพท่ตี ิดเชอ้ื หรอื สมั ผสั จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจวนิ จิ ฉัย การดแู ลรกั ษาอย่างถูกต้อง พั ก

การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่หี รอื จำกดั การปฏิบตั ิหน้าท่รี วมทั้งการลาปว่ ย การชดเชยตามสทิ ธิ
5. การจัดให้มีและการใช้งานอย่างถูกต้องของเคร่ืองป้องกันร่างกายส่วนบุคคล ได้แก่ หน้ากากอนามัย

อุปกรณ์ป้องกันบริเวณดวงตา ใบหน้า ถุงมือและเส้ือคลุม ตามประเภทกิจกรรมท่ีเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ
ก่อโรค
6. ร ณ ร ง ค์ ม า ต ร ก า ร D-M-H-T-T (Social distancing- Mask-Hand washing-Temperature-Thai
chana) ในป้องกันโรคติดเช้ือทางอากาศ เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การสวมหน้ากากอนามัย
การวดั อุณหภมู ิก่อนใหก้ ารบรกิ าร และการบนั ทึกขอ้ มลู การมาใชบ้ ริการใน Application Thaichana

Training

จัดทำคู่มือวิธีปฏิบัติงาน (QW) ให้บุคลากรทุกหน่วยงานได้ทราบแนวทางการปฏิบัติและการป้องกัน
ตนเอง ได้อย่างถูกตอ้ ง

นำเสนอเร่ืองการปฏิบัติและแนวทางการระมัดระวังการติดเช้ือ droplet ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ
พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการควบคุมและป้องกันการติดเช้ือสำหรับบุคลากรทุกหน่วยงานในโรงพยาบาล และ
การ

Monitoring

จำนวนบคุ ลากรท่ีมีการตดิ เชื้อจากการปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาล เท่ากับ 0

Pitfall

บุคลากรบางรายไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้องในการใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกายเพ่ือป้องกันการติดเชื้อ
เชน่ การใส่ Mask ไว้ใตจ้ มูก หรอื ใต้คาง และบุคลากรเข้าเรอ่ื งโรคไม่ถูกตอ้ ง

14

L2.3 : Contact Transmission

Definition

การติดเชอ้ื ผา่ นการสมั ผสั เชือ้ (Contact) ไดแ้ ก่ HIV, HBV, HCV และโรคตดิ เชอื้ อบุ ตั ใิ หม่ เช่น โรคติดเชือ้ ไวรัสโค
โรน่า (Covid-19)

Goal

บุคลากรสามารถปอ้ งกนั ตนเองจากความเส่ยี งต่อการติดเช้อื HIV, HBV, HCV และโรคติดเชอื้ อุบตั ิใหม่
เช่น โรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า (Covid-19) ท่ีเกีย่ วข้องกบั การปฏิบัตงิ านได้ถูกต้องและสามารถปอ้ งกนั การ
แพร่กระจายเชอ้ื ระหวา่ งบคุ ลากรกบั ผปู้ ่วยได้

WHY

บุคลากรทตี่ ดิ เช้ือหรอื เจ็บป่วยในระหวา่ งปฏบิ ัติงานส่งผลต่อสขุ ภาพของบุคลากร และสง่ ผลต่อการปฏบิ ัตงิ าน

Process

1. การใหว้ ัคซีนสรา้ งภูมิคุม้ กนั
2. การใหก้ ารป้องกันการติดเชือ้ แกบ่ คุ ลากรสุขภาพหลงั สัมผัสโรค
3. มีระบบการติดตามผลเลือด และไม่มกี ารเปดิ เผยขอ้ มูลของผปู้ ระสบเหตุ
4. การป้องกนั การบาดเจบ็ จากเขม็ มีด ของมีคมปนเปื้อนเลือด สารคัดหล่งั ในระหวา่ งให้การดูแลผู้ป่วย
5. การจดั ใหม้ แี ละการใชง้ านอย่างถกู ต้องของเครื่องป้องกันร่างกายส่วนบคุ คล ได้แก่ หน้ากากอนามัย

อปุ กรณ์ปอ้ งกนั บริเวณดวงตา ใบหน้า ศีรษะ รองเทา้ ผ้ากันเปื้อน และเสื้อคลมุ ตามประเภทกจิ กรรมท่ี
เสีย่ งต่อการสมั ผสั เชือ้ ก่อโรค
6. รณรงคม์ าตรการ D-M-H-T-T (Social distancing- Mask-Hand washing-Temperature-Thai
chana) ในปอ้ งกนั โรคติดเชือ้ ทางอากาศ เชน่ การเวน้ ระยะห่างทางสังคม การสวมหน้ากากอนามยั
การวัดอุณหภมู ิกอ่ นใหก้ ารบริการ และการบนั ทึกข้อมลู การมาใชบ้ ริการใน Application Thaichana

Training

จดั อบรมพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรในการควบคุมและป้องกันการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาลสำหรับพยาบาล
ปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชื้อ (ICWN) และบคุ ลากรหน่วยสนับสนุนในโรงพยาบาล

Monitoring

จำนวนบคุ ลากรไดร้ บั อบุ ตั ิเหตุสัมผัสเลอื ด/ สงิ่ คัดหลงั่ ของผู้ปว่ ยจากการปฏิบัติงาน เป้าหมาย 0 ราย

Pitfall

บุคลากรไมต่ ระหนักและไมป่ ฏบิ ัตติ ามแนวทางที่ IC กำหนด และมีความประมาทในการปฏิบัตงิ าน

14

M: Mental Health and Mediation Mental Health
M1 Mindfulness at Work
Second Victim
M 1.1 Burnout and Mental Health Disorder
M 1.2 Mediation
M 1.3
M2

15

M1 : Mental Health

M 1.1: Mindfulness at Work
Definition (คำกำจดั ความ)
การมีสติในงาน หมายถงึ การทำงานในสภาวะจิตที่อยู่กับปัจจุบัน ทำให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยไม่วอกแวก ไม่
ถูกสอดแทรกด้วยอารมณ์

Goal (เป้าหมาย)
ลดความเสี่ยงจากการทำงานที่ขาดการจดจ่อในงาน และลดความเส่ียงจากการกระทบกระทั่งทางอารมณ์
ระหว่างบคุ ลากรด้วยกนั เองและระหว่างบุคลากรกับผู้รบั บรกิ าร

Why (เหตผุ ลท่ีทำเรอ่ื งน้ี)
สภาวะการทำงานที่มีภาระงานมาก และบุคลากรแต่ละคนก็มีปัญหาของตนเอง เม่ือมาปฏิบัติงาน จึงทําให้
ขาดความจดจอ่ ในงาน เกิดความผิดพลาดได้ง่าย และถ้ามีการสะสมอารมณ์และ ความเครียดมากจะทําให้เกิด
การกระทบกระทั่งทั้งในระหวา่ งกันเองและกับผู้รับบริการได้ง่าย การฝึกมีสติในงานจะช่วยทั้งด้านความจดจ่อ
ในงานและลดการกระทบกระท่ังจากอารมณ์ และความเครียด

PROCESS (แนวทาง)
1. เรม่ิ งานด้วยความสงบด้วยการทำสมาธกิ ่อน 3 นาที เพ่ือให้บุคลากรทำงานอย่างมีสติให้อย่กู ับปัจจุบัน
โดยรูล้ มหายใจรู้ในจิตทท่ี ำมีสัญญาณเตือนที่เหมาะสมกับบรบิ ทองค์กร (เช่น เสียงระฆัง, visual sing)
เพื่อเตือนเปน็ ระยะ ๆ ใหก้ ลับมามสี ตใิ นงาน
2. พัฒนาระบบและกลไกจริยธรรมทางการพยาบาลเร่ือง การใช้สติในการสื่อสารอย่างมีจริยธรรมของ
บคุ ลากรทางการพยาบาลกับผูร้ ับบริการเพอ่ื ป้องกันไมใ่ ห้เกดิ ข้อร้องเรียนเร่อื งการสือ่ สาร
3. พัฒนาแนวปฏิบัติทางจริยธรรมในการสื่อสารด้วยสติระหว่างพยาบาลจิตเวชกับผู้รับบริการที่มี
พฤติกรรมก้าวร้าว เพ่ือให้พยาบาลใช้เป็นแนวทางในการส่ือสารกับผู้ป่วยอย่างมีสติและสอดล้องตาม
หลักจรยิ ธรรมทางการพยาบาล
4. พัฒนาคมู่ อื การสื่อสารดว้ ยสติของบคุ ลากรทางการพยาบาล
5. สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำหน่วยงานเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรใช้การสื่อสาร
ระหวา่ งกันดว้ ยสตแิ ละมีความสอดคล้องตามหลักจรยิ ธรรม

Training (การฝึกอบรม)
อบรบบคุ ลากรใช้การส่ือสารระหว่างกนั ด้วยสติและมีความสอดคล้องตามหลักจรยิ ธรรม

Monitoring (ตัวชี้วัดท่ใี ช้ติดตาม)
1. คะแนนเฉลี่ยการส่ือสารของพยาบาล
2. คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผูร้ ับบริการต่อการสอ่ื สารของพยาบาล
3. จำนวนความเสีย่ งดา้ นการสอื่ สารของบุคลากร

16

Pitfall (ขอ้ ผดิ พลาดทีผ่ ่านมา)
1.สง่ เสริมใหน้ ำการใช้สติในการทำงานเป็นวิถขี ององค์กร
2. ความหลากหลายของบุคลากรท่ีมีความต่างศาสนาและความศรัทราต่างกัน ความสำเร็จของโปรแกรมควร
ปลอดจากศาสนาและพิธีกรรม

M1.2 Second victim

Definition (คำกำจดั ความ)
กรณีเกดิ เหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงค์ทางการแพทยผ์ ทู้ ่ไี ดร้ บั ผลกระทบโดย 3 ระดบั

1. ผไู้ ด้รับผลกระทบโดยตรง เรียกว่า First Victim คือผู้ป่วยและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากความ
ผดิ พลาด

2. บุคลากรทางการแพทย์ท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาในกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ เรียกว่า
Second Victim ทั้งแพทย์ พยาบาลและบุคลากรอื่นใดที่ให้การดูแลรักษากรณีดังกล่าว เกิด
ปรากฏการณ์ ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อร่างกายและจติ ใจ เรยี กวา่ Second Victim Phenomenon

3. องคก์ รท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วเปน็ Third Victim

Goal (เป้าหมาย)

บุคลากรทางการแพทย์ที่เกิดภาวะ Second Victim ได้รับการดูแลให้สามารถดำเนินชีวิตปกติและทำงานใน
วชิ าชีพตอ่ ไปไดด้ ้วยความมัน่ ใจ

Why (เหตผุ ลทที่ ำเรอื่ งน)ี้
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ Second Victim ทำเกิดการสูญเสียทรัพยากรท่ีมีคุณค่าในระบบบริการ สาธารณสุข
หากไมม่ ีระบบในการดูแลและรักษาไว้ โดย กลุ่ม Second Victim จะมีปรากฏการณ์ที่ ไดร้ ับผลกระทบท้ังทาง
ร่างกายและจิตใจ โดย Common Second Victim Physical Symptoms เช่น นอนไม่หลับ ความดันขึ้น
ปวดหัว มีอาการไม่ปกติทางระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน และ Common Second Victim
Psychosocial Symptoms เช่น วิตกกังวล ไม่กล้าตัดสินใจ ขาด ความมั่นใจ กลัวต่อการรักษา ออกจาก
วชิ าชพี

Process (แนวทาง)
องค์กรควรมีแนวทางจัดระบบการดูแลบุคลากรทางสาธารณสขุ ทไี่ ด้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์

1. เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบกับผู้ป่วยและญาติ มีระบบในการดูแลโดยมีทีมที่
องคก์ รไดว้ างแผนไว้ เช่น ทมี เจรจาไกลเ่ กลีย่

2. จัดให้มีคณะกรรมการให้คำปรึกษาแก่บุคลากรและครอบครัวในการดูแล โดยการรับฟัง ให้กำลังใจ
และมีแนวทางปฏิบัติท่ีตกลงร่วมกันในองค์กรเพื่อลดผลกระทบทางร่างกายและจิตใจ (obtaining
emotional “first aid”) ของบคุ ลากรทม่ี โี อกาสเป็น Second Victim

17

3. ผ้บู ังคบั บัญชา เพ่ือนร่วมงาน มีการสอื่ สาร รบั ฟัง ใหก้ ำลงั ใจ ด้วยความเขา้ ใจ และตดิ ตามดแู ลเพ่อื เฝ้า
ระวงั ภาวะ Second Victim Phenomenon

4. มีกระบวนการทำ Root Cause Analysis ท่ีได้รับฟังข้อกำจัดปัญหา และร่วมกันหาทางออกของ
ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์

5. สร้างและสง่ เสริมวัฒนธรรมความปลอดภยั ในเร่อื ง No blame, No shame
6. ติดตามเฝ้าระวังการเปล่ยี นแปลงของบคุ ลากรท่ีเกยี่ วข้องกบั เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์

Training (การฝกึ อบรม)
ฝึกทักษะสื่อสาร รับฟัง ของบุคลากรให้มีการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์เพื่อลดผลกระทบทางร่างกายและจิตใจ
(obtaining emotional “first aid”) ของบุคลากรที่มโี อกาสเปน็ Second Victim

Monitoring (ตัวช้วี ัดท่ใี ช้ติดตาม)
รอ้ ยละบคุ ลากรทางการแพทย์ท่ีเกิดภาวะ Second Victim ไดร้ ับการดูแลให้สามารถดำเนินชวี ิตปกติและ
ทำงานในวชิ าชพี ต่อไปได้ด้วยความม่ันใจ

Pitfall (ขอ้ ผิดพลาดท่ผี ่านมา)
1. กรณีเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์มีทีมเจรจาไกล่เกลี่ยดูแลญาติและผู้ป่วยแต่ไม่ได้ดูแลผู้ได้รับ
ผลกระทบในลักษณะ Second Victim
2. การทำ RCA ในวิธีการท่ีไม่เหมาะสมหรือผิดวัตถุประสงค์เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนาอาจส่งผลกระทบ
กบั ผทู้ ่ีอยใู่ นเหตุการณ์ไมพ่ งึ ประสงค์

M 1.3 : Burnout and Mental Health Disorder

Definition (คำกำจดั ความ)
Burnout (หมดไฟการทำงาน) เปน็ ภาวะท่ีเป็นผลจากความเครียดและภาวะงานท่ีมากเกนิ ไปโดยแสดงอาการ
ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ รู้สึกหมดพลังและอาการของความเหน่ือยล้า เช่นทำงานช้าลง โกรธงา่ ย นอนไม่หลับ
มคี วามสมั พนั ธ์อยา่ งใกลช้ ิดกับภาวะซึมเศรา้
Mental health problems หมายถึง ปัญหาสุขภาพจติ ท่ีเข้าขา่ ยเป็นความผดิ ปกตทิ างด้านจิตใจแบบตา่ ง ๆ
เช่น การติดสารเสพติด วิตกกังวล ซึมเศร้า โรคจิต โดยความเจ็บป่วยเหล่าน้ีล้วนส่งผลกระทบต่อบุคลากร
ครอบครัว และการทำงาน

Goal (คำกำจดั ความ)
ปอ้ งกันภาวะหมดไฟในการทำงานท้ังในระดบั บุคคลและองค์กร ให้การช่วยเหลือบุคคลท่มี ีปัญหาสุขภาพจิตให้
กลับมาทำงานไดอ้ ย่างมคี ุณค่า

18

Why (เหตผุ ลทที่ ำเร่อื งนี)้
งานภาคบริการท่ีมีภาระงานมากและเผชิญกับความต้องการจากทุกทิศทางจะทำให้บุคคลสะสม ความเครียด
จนนำไปสู่ภาวะหมดไฟ ซึ่งมีผลกระทบท้ังต่อสภาวะจิตใจของบุคคล เป็นภาระกับเพื่อน ร่วมงาน และมี
ผลกระทบต่อคุณภาพงานขององค์กร สำหรับบุคคลท่ีมีความเปราะบางอยู่แล้ว จะ นำไปสู่การเจ็บป่วยทาง
จิตใจ ซึ่งตอ้ งการการรกั ษาเพ่ือใหก้ ลับมาใชช้ วี ิตและทำางานได้อยา่ งมีคุณคา่

Process (แนวทาง)
1. จดั ต้ังคณะกรรมการให้คำปรึกษาแก่บุคลากรและครอบครัวในการดแู ลเพ่ือป้องกันภาวะหมดไฟทั้งใน
ระดับบคุ คลและองคก์ ร
2. ส่งเสริมกิจกรรม MIO และสนับสนุนให้บุคลากรใช้สติในการทำงานด้วยความสงบ จัดการกับอารมณ์
และความเครียดไดด้ ี และรสู้ ึกมคี ณุ ค่าในงาน
3. การจดั ส่ิงแวดล้อมในท่ที ำงานให้รสู้ ึกใกลช้ ิดธรรมชาติ มีความเป็นระเบยี บเรียบร้อย ลดความแออัด
4. ลดภาระงานที่ไม่จำเป็นโดยการออกแบบงานใหม่ และสนับสนุนให้มีการประยุกต์ใช้ดิจิทัลในการ
ทำงาน
5. จัดตารางกิจกรรมท่ีสร้างความรู้สึกผ่อนคลาย และเปิดโอกาสให้บุคลากรเข้าร่วมโดยไม่ส่งผลกระทบ
กับงานประจำ เช่น การร้องเพลงคาราโอเกะ การเต้นคลายเครียด การนวดแบบมณีเวช การร้อย
ลกู ปัด การเลน่ Tik – Tok เปน็ ต้น
6. สนับสนุนให้บุคลากรคอยดูแลจิตใจซ่ึงกันและกัน ผู้บังคับบัญชาเปิดโอกาสให้คำปรึกษาเมื่อบุคลากร
รู้สึกไม่สบายใจ หากไม่ได้ผลในระยะ 2 สัปดาห์ จะส่งต่อให้คณะกรรมการการให้คำปรึกษาซึ่งมี
ความรคู้ วามสามารถและไดร้ ับการแต่งต้ัง เพื่อคอยให้การช่วยเหลอื เม่อื บคุ ลากรประสบกับปัญหาดา้ น
สงั คมจิตใจ กรณพี บว่ามคี วามผิดปกติทางจติ เวช จดั ให้มีระบบส่งต่อให้ได้รับการประเมิน รักษา ฟ้ืนฟู
สมรรถภาพ จนสามารถกลับมาทำงานได้ตามปกติ
7. ประเมินภาวะเหนื่อยหน่ายในการทำงานด้วย Oldenburg Burnout Inventory (OLBI) หากมีค่า
คะแนนเฉล่ียในระดับปานกลางข้ึนไป จะมีการส่งต่อเข้าร่วมโปรแกรมการลดภาวะเหน่ือยหน่ายใน
การทำงานทศี่ นู ยก์ ารเรียนรู้

Training (การฝึกอบรม)
การฝกึ อบรมทกั ษะการใช้สติในองค์กร เรื่องการจดั การกบั ความเครยี ดของบุคลากร

Monitoring (ตัวช้วี ัดทใี่ ช้ติดตาม)
ร้อยละบุคลากรท่มี ีภาวะเหนื่อยหนา่ ยในการทำงานระดบั ต่ำ

Pitfall (ข้อผิดพลาดท่ผี า่ นมา)
1. บริบทของภาระงานท่ดี ูเหมอื นแก้ไขไม่ได้ สามารถทำได้ดขี น้ึ ได้ทั้งการปรับปรุงระบบและ การพฒั นา
ความสามารถของบคุ ลากร
2. ภาวะ Burn out แยกไม่ออกกับการจัดการท้งั องค์กร โดยให้บุคลากรมสี ว่ นร่วมในงาน รู้สึก ไดร้ บั การ
ยอมรบั และการปฏบิ ตั ิที่เปน็ ธรรม

19

M 2: Mediation
Definition (คำกำจดั ความ)
Mediation คือ การเจรจาไกลเ่ กลี่ย คนกลาง เปน็ กระบวนการพิจารณาตดั สนิ หาทางออกของขอ้ ขดั แย้งเกดิ
โดยค่กู รณี หรอื คขู่ ดั แย้งชว่ ยกันพจิ ารณาหาทางออกร่วมกัน ซง่ึ คนกลางไมม่ หี น้าท่ีหรอื มีอำนาจไปตัดสินคดี
กระบวนการเจรจาไกลเ่ กล่ียจะใช้วิธกี าร หรือกระบวนการใช้การเรียนรู้รว่ มกนั (Learning Process)โดยไม่ใช่
จดุ ยนื (Position)แต่จะใชก้ ารเจรจาโดยใช้ความต้องการ หรอื ความสนใจรว่ มกันเป็นพนื้ ฐานในการเจรจา
(Interest-Based Negotiation) โดยไม่มงุ่ ไปท่ีการเจรจาโดยยดึ จดุ ยนื (Position-Based Negotiation)ซ่งึ จะ
ทำให้ยากต่อการเจรจา โดยกระบวนการในการเจรจาต้องมีกติกาในการเจรจา (Ground Rules)เพื่อให้คน
กลางทม่ี ีหนา้ ทกี่ ำกบั กระบวนการได้ตามนัน้

“การจดั การข้อร้องเรยี นโดยใชห้ ลักการเจรจาไกล่เกล่ีย เหตเุ กิดทีใ่ ดยุตทิ ีน่ น่ั ”

Goal (เปา้ หมาย)
เม่ือเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทางการแพทย์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย ญาติและบุคคลากรทางสาธารณสุข
จะมีกลไกหรือระบบ การเจรจาไกล่เกล่ียคนกลางเข้ามา ช่วยหาทางออกท่ีเป็นท่ียอมรบั ของทกุ ฝ่าย ลดปัญหา
การฟ้องร้องและข้อพิพาททางการแพทย์

Why (เหตุผลทีท่ ำเร่ืองนี)้
เมอื่ เกิดกรณีความไมป่ ลอดภัยจากการรกั ษาพยาบาลเกิดข้ึน จะเกิดผลกระทบท้ังทางร่างกาย จติ ใจ และสังคม
ของทั้งผู้ให้และผู้รับบริการ เกิดปัญหาการฟ้องร้อง และการสูญเสีย จึงควรมีแนวทางการ พฒั นาเรื่องคุณภาพ
และความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ ต้ังแต่การป้องกันไม่ให้เกิดเหตุไปจนถึงการ เจรจาไกล่เกล่ียคนกลางเมื่อ
เกิดเหตเุ พื่อสร้างความเช่อื มั่นและความไวว้ างใจในระบบบริการ

Process (แนวทาง)
สร้างแนวทางการจดั การเร่ืองรอ้ งเรยี นและบริหารจดั การความขดั แย้งในระบบบริการสุขภาพด้วย
กระบวนการเจรจาไกล่เกลย่ี คนกลาง (Mediation)

1. ให้องค์กรดำเนินการ Set ระบบในการดำเนินงานด้านการป้องกนั และการวางระบบบริหารความเส่ียง
ในรพ.ใหค้ รอบคลุมถงึ การเจรจาไกล่เกลี่ย

2. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเจรจาไกล่เกลี่ยเหตุพิพาทจากผู้รับบริการ (Rapid Response Team)
เพอ่ื ดำเนนิ การเจรจาไกลเ่ กลีย่ ลดข้อผิดพลาดทางการแพทย์ รวมทั้งดำเนินงานแก้ไข/ ป้องกันการเกิด
ขอ้ รอ้ งเรยี นตอ่ โรงพยาบาล

3. ใหม้ ีการ Set ระบบการเจรจาไกล่เกล่ียอยา่ งทันเวลาในรพ.ซ่ึงกำหนดบทบาทหน้าท่ีชัดเจน เพ่ือลดข้อ
พพิ าททางการแพทย์ และกรณีเกิดข้อขัดแย้งจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ รวมทั้งพัฒนาและส่งเสริม
การสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง เสริมสร้างความสมานฉันท์ และการจัดการความขัดแย้งอย่างมี
ประสิทธภิ าพ ไดป้ ระสทิ ธิผลในการแก้ไขปญั หาในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว

4. มีการบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ เช่นการดำเนินการใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลศูนย์เรื่องราวร้องทุกข์
ผ่าน Application Sat survey & PEP รวมทั้งมีการจัดทำระเบียบปฏิบัติการจัดการข้อร้องเรียน

20

(QP-QUA-06) มีการเก็บข้อมูลวเิ คราะห์เพื่อหาแนวทางแกไ้ ข พฒั นาระบบการให้บรกิ ารท่ีตอบสนอง
ความตอ้ งการของผู้รบั บรกิ ารอย่างรอบดา้ น

Training (การฝึกอบรม)
ทักษะการสื่อสารและรบั ฟงั ในบุคลากรสาธารณสขุ

Monitoring (ตวั ช้วี ัดท่ใี ชต้ ิดตาม)
รอ้ ยละข้อรอ้ งเรียนที่ไดร้ ับการแกไ้ ขทนั เวลา

Pitfall (ขอ้ ผิดพลาดทีผ่ า่ นมา)
ข้อผดิ พลาดในการปฏบิ ัติด้วยความไมเ่ ข้าใจที่อาจเกดิ ข้นึ มีดงั น้ี

• การเจรจาไกลเ่ กล่ยี ไมเ่ ป็นไปตามแนวทางการปฏิบัตทิ ่ดี ี
• ไม่สามารถฟ้ืนคืนความสัมพนั ธด์ งั เดมิ ได้
• ภายหลงั การไกลเ่ กล่ียส้นิ สุด ผูเ้ สียหายฟ้องคดตี อ่

21

P: Process of Work Fundamental Guideline for Prevention of
P1 Work-Related Disorder
Specific Guideline for Prevention of Work-Related
P2 Disorder

P2.1 Physical Hazard
P2.2 Chemical Hazard
P2.3 Radiation Hazard
P2.4 Biomechanical Hazard

P3 Fitness for Work or Duty Health Assessment

P3.1 Pre-placement and Return to Work Health Examination
P3.2 Medical Surveillance Program

22

P: Process of Work

P1 :Fundamental Guideline for Prevention of Work – Related Disorder

Definition (คำกำจัดความ)
การบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน มีการดูแล
สุขภาพท่อี าจจะเกดิ ผลกระทบจากการสัมผัสส่ิงคกุ คามในสิง่ แวดล้อมในการทำงาน ส่ิงคกุ คามทางเคมี เชน่ ยา
เคมีบำบัด สารฟอร์มาลีน สง่ิ แวดล้อมทางชวี ภาพ เช่น เชื้อไวรสั ตับอักเสบบี เช้ือวณั โรค สิ่งแวดล้อมทางชีวกล
ศาสตร์ เช่น การยก เคลื่อนย้าย และสิ่งแวดล้อมทางจิตสังคม เช่น การทำงานล่วงเวลาความเครียดจากการ
ทำงาน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ไม่เหมาะสม ซึ่งได้แก่ (การออกแบบการทำงาน ชั่วโมงการทำงานและ
คุณลกั ษณะของบุคลากร)

Goal (เปา้ หมาย)
• มขี อ้ แสดงเจตจำนงขององคก์ รในการดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ภายในสถานพยาบาลที่
เป็นรูปธรรมและมีการติดตามเป็นตัวชวี้ ัดของสถานพยาบาล อยา่ งชัดเจน
• มรี ะบบการบริหารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัยและ สภาพแวดลอ้ มในการทำงานอย่าง
เปน็ รูปธรรมเพื่อลดการบาดเจ็บและเจบ็ ป่วยจาก การทำงาน และมวี ัฒนธรรมความปลอดภัยในการทำงาน

Why (เหตผุ ลที่ทำเรื่องนี้)
1. เน่อื งจากสถานพยาบาลมกี ระบวนการทำงานที่มีสิ่งคุกคามต่อสขุ ภาพผปู้ ฏบิ ัติงาน ดังน้ันจำเป็นตอ้ งมี
ระบบการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท างาน
อยา่ งเป็นรูปธรรม
2. โรงพยาบาลเปน็ สถานประกอบกิจการที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติตาม พระราชบัญญตั ิความ
ปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554 และกฎกระทรวงกำหนด
มาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชวี อนามยั สภาพแวดลอ้ มในการท
างาน พศ. 2549

Process ( แนวทาง )

1. ประกาศนโยบาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน ภายใต้กฎระทรวง
กำหนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการดา้ นความปลอดภยั

2. กำหนดแผนงานและแผนงบประมาณ ของกิจกรรมด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ที่สอดคล้อง
กับนโยบายที่ได้ประกาศไว้ สอดคล้องกับความเสี่ยงท่ีได้ประเมินไว้ และสอดคล้องกับมาตรฐาน
โรงพยาบาลและการบริการสขุ ภาพ

3. โรงพยาบาลตอ้ งมกี ารจดั กจิ กรรมการดูแลสภาพแวดลอ้ มและสง่ิ แวดล้อมในการทำงานให้กบั
บุคลากรทุกระดับ รวมไปถึงผู้รับเหมาให้มีสภาพการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงานท่ี

23

ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมท้ังส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากรให้ไม่ได้รับอันตราย
ต่อชวี ติ รา่ งกายจิตใจและสขุ อนามัยทส่ี อดคลอ้ งกับบริบทโรงพยาบาล
4. ใหม้ ผี ้รู ับผิดชอบด้านความปลอดภยั ในการทำงานและอาชีวอนามยั ในทุกระดบั
5. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลโรงพยาบาลสวนสราญรมย์โดยมีบทบาท
หน้าท่ีอย่างหนึ่งในการบริหารและจัดการ ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ
ทำงาน ฃ
6. มรี ะบบการตรวจสอบ(Audit)การบรหิ ารและการจัดการความปลอดภัยและอาชวี อนามยั และการ
ประเมนิ (Evaluate)ผลลพั ธจ์ ากการบรหิ ารและการจดั การ
7. มีการติดตามตัวชี้วัดด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ และมีการศึกษาแนวโน้ม
และการแกไ้ ข
8. สร้างระบบการมีสว่ นร่วมท้งั ในระดับบรหิ ารและระดับปฏบิ ัติการ

Training (การฝึกอบรม)
อบรมความรู้ทางด้านอาชวี อนามยั และความปลอดภัยในการทำงานระดับพืน้ ฐานแก่ผบู้ ริหารและบคุ ลากร

Monitoring (ตัวช้วี ัดทใี่ ชใ้ นการตดิ ตาม )
1. อัตราการบาดเจ็บและเจ็บป่วยท่เี กย่ี วเนอ่ื งจากการทำงานของบุคลากร เปา้ หมาย ลดลง
2. จำนวนการลางานจากการบาดเจ็บและเจ็บป่วยทเ่ี กี่ยวเนื่องจากทำงาน เป้าหมาย ลดลง
3 . รอ้ ยละบคุ ลากรมีคณุ ภาพชวี ติ การทำงานทีด่ ี

Pitfall(ขอ้ ผิดพลาดท่ีผ่านมา)

1. ขาดเจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั (จป)

P2 : Specific Guideline for Prevention of Work-Related Disorder

P2.1 Physical Hazard (ส่ิงคกุ คามทางกายภาพ)

Definition
สงิ่ คุกคามทางกายภาพของบุคลากรในสถานทีท่ ำงาน เชน่ เสยี งดัง แสงสวา่ ง ความร้อน

Goal ( เปา้ หมาย)
ควบคมุ ส่ิงคุกคามทางกายภาพให้อยู่ในระดับความเสี่ยงปานกลางและใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานความปลอดภัย
ในการทำงานตามกฎกระทรวง

24

Why (เหตุผลทท่ี ำเรอ่ื งนี้)
เมื่อบุคคลไดส้ ัมผัสสิง่ แวดล้อมในการทำงาน ได้แก่ เสียงดัง (noise) แสงสวา่ ง (light) ความร้อน (heat) อาจมี
ผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งแบบเฉียบพลัน หรือแบบเรื้อรัง ได้ สถานท่ีทำงานท่ีอาจพบสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ได้แก่

• ความร้อน (heat) ได้แก่ ห้องติดต้ังหม้อไอน้ำงานโภชนาการ แผนกซัก-รีด เป็นต้น ทำ ให้บุคลากร
อาการของการสูญเสยี นำ้ หรอื เกลือแร่ หรืออาจเกิดผ่ืนความรอ้ นได้

• เสียงดัง (noise) ได้แก่ แผนกแผนกช่าง ศูนย์เครื่องมือแพทย์ ห้องผ่าตัด ห้องเฝือก แผนก ซัก-รีด
หนว่ ยจ่ายกลาง ทนั ตกรรม กายอุปกรณ์ อาจท าให้เกดิ การสูญเสียการได้ยนิ

• แสงสว่าง (light) ได้แก่ สถานที่ทำงานทุกแห่ง ซึ่งอาจเกิดจากการจัดระบบแสงสว่าง ไม่เหมาะสมกับ
สถานที่ การจัดผังการท างานไมเ่ หมาะสมกับแหล่งหรือทิศทางของ แสงสว่าง ขาดการตรวจสอบและ
บำรุงรักษาแหล่งกำเนิดแสงสว่างท่ีให้แก่บริเวณ ทำงาน การทาสีของผนัง เพดานที่มีผลต่อการ
สะทอ้ นแสงสว่างต่ำ

Process (แนวทาง)

1. โรงพยาบาลสวนสราญรมย์รว่ มกับสำนักงานสิ่งแวดลอ้ มภาคท่ี 11 สงั กัดกรมควบคมุ โรค รว่ มประเมิน
ความเสี่ยงจากความร้อน แสงสว่าง เสียง ตามมาตรฐานความปลอดภัยการทำงานตามกฎกระทรวง
แรงงาน รวมทั้งดำเนนิ การตรวจสขุ ภาพบคุ ลากรกลมุ่ เส่ียงท่ีปฏิบตั ิงานใกลก้ ับสง่ิ คกุ คามทางกายภาพ

2. ทมี บริหาร และงานช่างซ่อมบำรุงรว่ มสำรวจ ประเมนิ และปรบั เปล่ยี นหลอดไฟ ให้มีแสงสว่างไดต้ าม
มาตรฐาน สำหรบั งานซกั ฟอกท่ีกอ่ มลพิษทางเสยี งแก้ปญั หาโดยการจัดจา้ งองค์กรภายนอกดำเนินงาน
ความร้อน

3. จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้มาตรฐาน ให้บุคลากรที่อยู่ในสถานท่ีเส่ียงต่อการ
เกดิ อันตรายจาก แสง เสยี ง และความร้อน

4. โรงพยาบาลมีการประเมนิ ความเข้มแสง ปีละ 1 ครง้ั
5. แจกอุปกรณ์หน้ากากป้องกันปญั หาฝุน่ ผ้า และทำท่อดักฝุน่ เพื่อป้องกันปญั หาฝุ่นทีจ่ ะเกิดกบั บคุ ลากร

หน่วยจ่ายกลาง
6. จัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน โดยการติดต้ังเคร่ืองปรับอากาศ การตรวจวัดความเข้มของแสงและ

ตดิ ตง้ั หลอดไฟฟา้ ใหม้ คี วามสวา่ งเพยี งพอต่อการปฏิบตั ิงาน

Training (การฝึกอบรม)
1. จัดทำแผนการอบรมความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานระดับพ้ืนฐาน แก่
ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ คน
2. จัดทำแผนการอบรมการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้สามารถเลือกใช้ได้ถูกต้อง
และ มกี ารสวม PPE อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

25

Monitoring (ตัวชว้ี ดั ท่ใี ช้ตดิ ตาม)

รอ้ ยละบคุ ลากรไดร้ บั บาดเจบ็ จากการสมั ผสั สิง่ คุกคามทางกายภาพ

Pitfall (ข้อผิดพลาดที่ผ่านมา)

ด้านบุคคล
1. บคุ ลากรขาดความตระหนกั ขาดความร้เู รอ่ื งสิ่งคกุ คามตอ่ สุขภาพในท่ี ทำงาน
2. ประเมินความเสี่ยงต่อส่ิงคุกคามด้านความร้อน แสงสว่าง เสียง มีการใช้ เคร่ืองมือตรวจวัดจำเพาะ ซึ่งต้อง
ใช้ผปู้ ระเมนิ ท่มี ีความรู้ ความชำนาญและ มีประสบการณ์ในการตรวจวัด
ด้านระบบ
1. การตรวจวัดส่ิงคุกคาม แสง เสียง ความร้อน ต้องดำเนินการโดยผู้ที่มี ใบรับรองที่สามารถตรวจประเมินได้
ตามมาตรฐานและตามหลักวิชาการผู้ และรับรองผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท างานด้านความ
ร้อน แสง เสียง ต้องไดข้ น้ึ ทะเบยี นเปน็ ผูร้ ับรองรายงานตามกฎหมาย
2. ขาดหน่วยงานและผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยสำหรับบุคลากร
ในสถานพยาบาล (ดูกฎกระทรวงก าหนด มาตรฐานในการบริหารและการจัดการดา้ น ความปลอดภัย อาชีวอ
นามัย สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน พศ. 2549)
ด้านเทคนคิ

1. เครื่องมือด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรมเพื่อใช้ในการประเมินการสัมผัสสิ่ง คุกคามทางกายภาพ เช่น
เครื่องวัดความเข้มของแสง เครื่องมือวัดระดับ เสียงสะสม (noise dosimeter) หรือเครื่องมือวัด
ความรอ้ น (wet bulb globe temperature) ไมไ่ ด้รับการสอบเทยี บความเทีย่ งตรง

2. บริษัทท่ีรับเหมามาประเมินการสัมผัส ได้ออกแบบการตรวดวัดการสัมผัส ส่ิงคุกคามทางกายภาพไม่
ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการหรอื มาตรฐานการ ตรวจวัด

P2.2 Chemical Hazard (สง่ิ คกุ คามดา้ นทางเคม)ี

Definition (คำกำจดั ความ)

ส่งิ คกุ คามทางเคมีในสถานท่ีทำงาน ไดแ้ ก่ สารเคมีทีจ่ ัดอยูใ่ นเกณฑ์ของ สารเคมแี ละวตั ถุ อนั ตราย สารเคมี
อนั ตราย วตั ถุอันตราย สารอันตราย หมายถงึ ธาตุ หรอื สาร ประกอบ ที่มี คุณสมบตั เิ ป็นพิษหรือเป็นอนั ตราย
ต่อมนษุ ย์ สตั ว์ พืช และทำให้ทรพั ย์สินและสิ่งแวดล้อมเส่ือม โทรม สามารถจำแนกได้ 9 ประเภท ดงั นี้ 1) วัตถุ
ระเบิด 2) ก๊าซ 3) ของเหลวไวไฟ 4) ของแขง็ ไวไฟ 5) วัตถุออกซิไดสแ์ ละออร์แกนิกเปอรอ์ อกไซค์ 6)
วตั ถุมีพิษและวัตถุติดเช้ือ 7) วตั ถุ กัมมันตรงั สี 8) วัตถุกดั กรอ่ น 9) วัตถุอนื่ ๆ ที่เป็นอันตราย ทัง้ น้ีใน
โรงพยาบาลยังต้องคำนงึ ถึงยาอนั ตราย (hazardous drugs) ดว้ ย ซง่ึ ยาอันตรายนนั้ ให้ใชเ้ กณฑ์ ตามเกณฑ์ของ
NIOSH 2016 (National Institute of Occupational Safety and Health 2016)

26

Goal (เป้าหมาย)
มรี ะบบการบริหารจดั การสารเคมแี ละยาอนั ตราย ทำใหส้ ามารถควบคุมสิ่งคุกคามดา้ นเคมีให้อยูใ่ นระดบั ความ
เสยี่ งตำ่ หรอื สารเคมีอนั ตรายตอ้ งได้รบั การควบคมุ โดยลดโอกาสการสมั ผสั

Why (เหตุผลทท่ี ำเร่อื งน)้ี

เนอื่ งจากสถานพยาบาลมีสารเคมีทใี่ ช้ในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ใชใ้ นการชะล้าง ใช้ทำการฆ่าเช้ือ ใชใ้ น
การรักษาสภาพเนอื้ เยื่อ นอกจากน้นั ยงั มยี าอันตรายท่ีใช้ในการรกั ษา ดังน้ันการควบคมุ ใหบ้ ุคลากรมโี อกาส
สัมผสั สารเคมีจากสิ่งแวดลอ้ ม ในการทำงานในระดับท่ตี ่ำจะทำให้ลดความเสยี่ งต่อผลกระทบต่อสุขภาพ ทงั้
แบบเฉียบพลัน หรือ แบบเร้อื รงั กไ็ ด้

Process (แนวทาง)
1. จดั ทำแนวปฏิบัติการทำงานกับสารเคมีอย่างปลอดภัยเพื่อสื่อสารให้บุคลากรรับทราบและปฏิบัติตาม
เพื่อป้องกนั ความเสย่ี งทอ่ี าจเกิดขน้ึ จากการสัมผสั สารเคมีตา่ ง ๆ
2. การประเมินการสัมผัสกบั สารเคมีของบุคลากรในแตล่ ะงาน และแต่ละสารเคมี
3. มกี ารประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ และจัดระบบการเฝา้ ระวังภยั ต่อสขุ ภาพ
4. จัดหาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยในการทำงานให้ถูกต้อง เหมาะสมและติดตามการสวมใส่
อปุ กรณด์ งั กลา่ ว

Training (การฝกึ อบรม)

1. จัดทำแผนการอบรมความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยเฉพาะเรื่องแก่บุคลากรท่ีทำงานในที่มีความ เสี่ยง
ตอ่ สารเคมอี ันตราย

2. จดั ทำแผนการอบรมการใชอ้ ปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล

Monitoring (ตวั ช้ีวัดทีใ่ ชต่ ดิ ตาม)
ร้อยละบคุ ลากรได้รับบาดเจบ็ จากการสัมผัสสงิ่ คกุ คามทางกายภาพ

Pitfall (ขอ้ ผิดพลาดที่ผา่ นมา)
1. การประเมินความระดับการสัมผัสสารเคมีมีข้อจำกัดด้านการเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์ ความเข้มข้น
สารเคมีในบรรยากาศ ตลอดจนบุคลากรท่ีมีความเช่ียวชาญในการวิเคราะห์ และแปลผล ดังน้ันควร
พิจารณา protocol ในการตรวจวัดอยา่ งละเอยี ด
2. การจัดระดับความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีพึงระวังหากมีการจัดกลุ่มผิดจากกลุ่มที่ มีระดับปาน
กลางไปอยู่กลมุ่ ระดบั ตำ่ เพราะ อาจจะทำให้ บุคลากรไมไ่ ดร้ บั การเฝ้าระวัง สุขภาพทีจ่ ำเปน็
3. การสัมผัสสารเคมีไม่จำเป็นเสมอไปที่มีความสัมพันธ์กับ dose ท่ีตรวจวัดได้ในระดับ บรรยากาศ
เพราะความเปน็ พษิ อาจไม่ได้ข้นึ อยู่กับ dose เสมอไป

27

P2.3 Radiation hazards (สงิ่ คกุ คามรงั สีชนดิ กอ่ ไอออน)

Definition(คำกำจดั ความ)
โรงพยาบาลจิตเวช มกี ารใช้รังสีทางการแพทย์ชนดิ ก่อไอออน หรือ กมั มนั ตภาพรังสี ซง่ึ หมายถงึ รงั สที ่ีธาตุ
กัมมันตรังสปี ลดปล่อยออกมา เนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลงภายในนวิ เคลียร์ กัมมันตภาพรังสี ดงั นี้ คอื รังสเี อกซ์
(X-ray หรอื Röntgen ray) เป็นรงั สแี มเ่ หล็กไฟฟ้า ทม่ี ีความยาวคล่นื ในช่วง 10 ถึง 0.01 นาโนเมตร ตรงกับ
ความถใ่ี นช่วง 30 ถึง 30,000 เพตะเฮริ ตซ์ (1015 เฮิรตซ)์ ในเบ้ืองต้นมีการใช้รังสีเอกซ์สำหรบั ถา่ ยภาพเพื่อ
การวินิจฉัยโรค รงั สเี อกซ์เปน็ การแผ่รังสี แบบแตกตวั เป็นไอออน และมีอันตรายต่อมนษุ ยร์ งั สีเอกซ์ค้นพบโดย
วลิ เฮลม์ คอนราด เรนิ ตเ์ กน เม่ือ ค.ศ. 1895

Goal (เปา้ หมาย)
ควบคมุ ส่ิงคุกคามดา้ นรงั สีไอออนแตกตวั ใหอ้ ยู่ในระดบั ความเสย่ี งต่ำ โดยใชห้ ลักการให้การดำเนนิ การ

ใดใดในทางปฏบิ ัติที่ทำให้งาน สำเร็จตามวตั ถุประสงค์ โดยไดร้ บั รังสีชนิดก่อไอออนน้อยท่ีสุด เท่าท่ีจะเปน็ ไปได้
(as low as reasonably achievable, ALARA)

Why (เหตผุ ลทีท่ ำเร่ืองนี้)
• หน่วยบริการจติ เวช มกี ารใช้รังสชี นดิ ก่อไอออนในรปู แบบท่แี ตกต่างกนั เช่น รงั สเี อกซ์ ซ่ึงอาจ

กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อสุขภาพของบุคลากร ดงั น้ี
1. แบบเฉียบพลนั ซงึ่ อาจเกิดจากการรั่วไหลออกจากตวั ก้นั หรอื จากผู้ป่วยทีม่ ีการฝังแร่ ทั้งนี้อาจทำ

ใหม้ อี าการ ผวิ หนงั บวมแดง คล่ืนไส้อาเจยี น ท้องเดนิ ออ่ นเพลยี หมดสตติ ่อมาจะ มีเปน็ ไข้วิงเวียน และแผล
ผิวหนังมีเลือดออก การเกิดแผลพพุ องทงั้ ภายนอกและภายในรา่ งกาย ท้องเดิน อจุ จาระมเี ลือดปน อาจตายได้

2. แบบเร้ือรงั ซง่ึ เกิดจากการรบั รงั สีชนดิ กอ่ ไอออน (ทำใหเ้ กดิ การกลายพันธุ์ของยนี การ เปลย่ี นแปลง
ของโครโมโซม การแบง่ ตวั ของเซลล์ลา่ ช้าและเซลล์ถกู ทำลาย นอกจากน้ียังเกิดผงั พืดที่ปอด มผี ลตอ่ ไต ตา
เปน็ ต้อกระจก โรคโลหติ จางชนิด Aplastic ทำใหเ้ ปน็ หมัน โรคผวิ หนัง และอายสุ ัน้ )

• บคุ ลากรขาดความตระหนักหรือความรู้หรือไมค่ ำนึงถึงอันตรายทมี่ ผี ลกระทบต่อสขุ ภาพ จากรังสี
ชนิดกอ่ ไอออน

จดุ เนน้
รังสที างการแพทยช์ นดิ ก่อไอออน หมายถงึ กมั มันตภาพรงั สี ซึ่งหมายถึงรงั สีที่ธาตุกัมมันตรงั สี

ปลดปลอ่ ยออกมา

Process (แนวทาง)
1. จัดใหม้ ีนักรังสีการแพทย์เปน็ ผ้ดู ูแลระบบการควบคุมคณุ ภาพและการประกนั คุณภาพ
2. จัดทำคู่มือคณุ ภาพห้องปฏบิ ัติการรังสีวนิ ิจฉยั
3. จัดทำแผนควบคุมคุณภาพเครื่องมือครอบคลุมทุกรายการเคร่ืองมือ และดำเนินการขอรับการ

ตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภยั ของเครื่องมอื
4. จดั ให้มีเครอ่ื งหมายแสดงถึงบริเวณรังสี ตดิ ไวท้ ่ปี ระตูหอ้ งเอกซเรยใ์ นระดบั สายตา

28

5. มปี า้ ยคำเตือนสตรมี คี รรภ์หรือสงสยั ต้งั ครรภใ์ หแ้ จ้งเจ้าหนา้ ท่ีก่อนตรวจ
6. บุคลากรท่ีปฏิบัติงานรงั สี ติดฟิล์มรังสีประจำตัวบุคคลในขณะปฏิบัติงาน เม่ือครบกำหนดการใช้ใน
แต่ละรอบ จะทำการรวบรวมส่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เพ่ือทำการตรวจวัดปริมาณรังสีที่ได้รับในแต่ละ
เดือน หากพบว่าบุคลากรใดได้รับปริมาณรังสีเกินกำหนด ให้แจ้งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ภายใน 30 วัน
และปฏบิ ตั ติ ามหลกั การปอ้ งกันอนั ตรายจากรงั สี
7. จัดให้มีการอบรม แนะนำ ให้คำปรึกษาแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
อนั ตรายจากรงั สีและการปอ้ งกนั รงั สี

Training (การฝึกอบรม)
1. จัดทำแผนการอบรมด้านความปลอดภัยในการทำงานกับรังสีทางการแพทย์ กับแก่บคุ ลากรใหม่ทุกคน และ
บุคลากรทกุ คนท่ตี อ้ งปฏบิ ตั งิ านกับรังสที างการแพทย์
2. จดั ทำแผนการอบรมแผนรองรับภาวะฉุกเฉินทเี่ กิดจากรงั สปี นเป้ือนและรั่วไหล

Monitoring (ตวั ชี้วดั ท่ใี ช้ในการติดตาม)
1. ตรวจวัดรังสีของสถานท่ปี ฏิบตั ิการ โดยตรวจวัดระดับรังสีอย่างนอ้ ย 3 เดอื นต่อครัง้
2. ประเมินปรมิ าณรังสีท่ีผปู้ ฏิบัติงาน อย่างน้อย 3 เดือนตอ่ คร้งั

Pitfall (ข้อผิดพลาดที่ผ่านมา)
1. นอกจากการตรวจวัดรังสีท่ีได้รับเข้าสู่เน้ือเย่ือของร่างกายแล้ว ในสถานท่ีทำงานต้องได้รับ การประเมิน
คุณภาพและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่ใช้ปิดกั้นการแผ่รังสี ตลอดจน ประสิทธิภาพของระบบระบายอากาศ
เฉพาะที่ด้วยตามมาตรฐาน 2. ค่าปริมาณรังสีผู้ปฏิบัติงานได้รับ ที่มีการวิเคราะห์จากอุปกรณ์ท่ีติดตัวจะมีการ
รายงาน กลบั มายังเจ้าตัวช้า

P 2.4 Biomechanical hazard (สง่ิ คุกคามจากชวี กลศาสตร)์

Definition(คำกำจดั ความ)
ชีวะกลศาสตร์ ได้แก่ ท่าทางในการทำงาน การยกเคลื่อนย้ายส่ิงของ ทำให้เกิดการบาดเจ็บของโครงร่าง
กระดูกและกล้ามเน้ือ

Goal(เปา้ หมาย)
ควบคุมสิ่งคุกคามด้านชีวกลศาสตร์ให้อยู่ในระดับความเส่ียงต่ำ ถึงปานกลาง และ ลดอัตราการ

บาดเจบ็ และเจบ็ ปว่ ยตลอดจนการลาปว่ ยจากการบาดเจ็บหรอื เจ็บป่วยของโครงร่างกระดูกและกล้ามเนื้อ

Why (เหตผุ ลทีท่ ำเรอื่ งน)ี้
บุคลากรในสถานพยาบาลมกี ระบวนการทำงาน ที่มีท่าทางในการทำงานท่ีฝืนธรรมชาติ และมีการยก

เคล่ือนย้ายส่ิงของบ่อยคร้ังและมักจะไม่ถูกแบบแผน ทั้งน้ีเนื่องจากต้อง ทำงานหลายกิจกรรมในเวลาเดียวกัน
และต้องมีสิ่งของให้เคลื่อนย้าย ทำให้เกิดการ บาดเจ็บของโครงร่างกระดูกและกล้ามเนื้อท้ังแบบเฉียบพลัน
และแบบเรอ้ื รงั

29

Process (แนวทาง)
1. จัดให้บุคลากรทุกคนได้รับการประเมินสมรรถภาพร่างกาย ให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพ่ือเตรียม

ความพรอ้ มด้านร่างกายและป้องกันการบาดเจ็บจากการปฏบิ ตั ิงาน
2. จดั อบรมให้ความรแู้ ก่บคุ ลากรในการเฝา้ ระวังสุขภาพด้านโครงรา่ งของกระดูกและกล้ามเนื้อ
3. จัดสวัสดิการการนวดแผนไทยให้แก่บุคลากร จัดให้มีกิจกรรมการออกกำลังกาย เช่น โยคะ การ
เตน้ แอโรบคิ เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรได้มกี ิจกรรมยืดเหยยี ด
4. การใช้เคร่ืองทุ่นแรงเป็นการออกแบบสถานที่การทำงานให้เหมาะสมแก่บุคลากร เช่น การใช้

ระบบรอกในการส่งผ้าขึน้ ไปยงั อาคารช้ัน 2 แทนการยกโดยบคุ ลากร

Training (การฝึกอบรม)

1. ฝกึ ทักษะการใช้อปุ กรณ์ทุ่นแรงในการ ยก เคลอื่ นย้ายผู้ปว่ ยใหป้ ลอดภัยกับตวั เองและ ผู้ปว่ ย
2. อบรมความรู้ทางด้านการยศาสตร์ แกผ่ บู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ คน

Monitoring (ตัวช้ีวดั ท่ใี ช้ในการตดิ ตาม)
1.ประเมินผลการตรวจสขุ ภาพประจำปี หรือผลสำรวจภาวการณ์บาดเจ็บของโครงรา่ ง กระดูกและ
กล้ามเนื้อ

Pitfall (ข้อผิดพลาดทีผ่ า่ นมา)
1. การบาดเจบ็ หรอื การเจบ็ ป่วยจากทา่ ทางในการทำงานและการยกเคลือ่ นยา้ ย อาจมี ปจั จัยอน่ื ร่วม
ด้วย เช่นการเล่นกีฬา อายุ งานอดิเรก หรอื การท างานบ้าน
2. การป้องกนั การบาดเจ็บมคี วามสำคญั ทสี่ ดุ การคัดกรองอาการบาดเจบ็ ของโครงร่าง กระดูกและ
กลา้ มเน้ืออาจไมช่ ว่ ยลดผูป้ ว่ ยรายใหม่

P3 : Fitness for Work or Duty Health Assessment

P3.1 Pre-placement and Return to Work Health Examination

Definition
การประเมินสุขภาพเพอ่ื การประเมินความสามารถ ในการทำงานโดยปราศจากความเส่ียง สามารถ ประเมนิ
สุขภาพก่อนเรม่ิ งานหรือการประเมินความพร้อมของสุขภาพก่อน กลบั เข้าทำงานหลงั จากเจบ็ ปว่ ย

Goal (เปา้ หมาย)
การปกป้องไม่ให้บุคลากรเพิ่มความเสี่ยงต่อสุขภาพหากต้องทำงานท่ีมีความเสี่ยงสูง เช่น การสัมผัส

สารคดั หลง่ั เลอื ด น้ำหนอง สารเคมี รังสี เสียงดงั เป็นตน้

30

Why (เหตผุ ลทท่ี ำเรื่องนี้)
1. เนื่องจากส่ิงแวดล้อมในการทำงาน อาจมีผลต่อสุขภาพที่มีอยู่เดิมทำให้ร่างกายอาจ ได้รับ

ผลกระทบเพม่ิ ขึ้น อาจเกิดโรคเรอ้ื รังและอาจมผี ลต่อชีวิตและจติ ใจได้ ทำให้ ประสิทธิภาพในการท างานลดลง
ได้ นอกจากน้ันงานที่เสี่ยงต่อสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ เช่น บุคลากรสุขภาพที่มีโอกาสติดเชื้อที่ผ่านมาทางเลือด
และน้ำเหลือง จำเปน็ ตอ้ งมีภูมิคมุ้ กัน การตดิ เช้อื ก่อนเร่ิมปฏิบัตงิ าน

2. สอดคล้องกับปฏิบัติตาม กฎกระทรวงแรงงานกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตรวจ สุขภาพของ
ลูกจา้ งและสง่ ผลการตรวจแก่พนกั งานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547

Process (แนวทาง)
1. ให้ความรู้ด้านการส่งเสริมภูมิคุ้มกันโรค ดำเนินการให้วัคซีนท่ีจำเป็นแก่บุคลากร เช่น วัคซีน
Hepatitis B วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ และชี้แจงแนวทางการจัดการหลังสัมผัสโรค หรือสารคัด
หลัง่ แก่บุคลากร
2. ดำเนินการตรวจสุขภาพบุคลากรก่อนเข้าปฏบิ ัตงิ าน เช่น การตรวจสภาพร่างกายท่วั ไป ตรวจสาร
เสพติด รวมท้ังบุคลากรบางกลุ่มงานต้องมีการตรวจโรคติดต่อสำคัญ เช่น กลุ่มงานโภชนาการ
บคุ ลากรตอ้ งได้รบั การตรวจ Hepatitis B ก่อนปฏิบตั งิ านทุกราย
3. จัดวสั ดุอปุ กรณใ์ นการป้องกนั การติดเช้ือให้กบั บุคลากร เชน่ MASK ถงุ มือ รองเท้าบ๊ทู ชดุ ปอ้ งกัน
การตดิ เชื้อ แอลกอฮอล์ ฯลฯ
4. ดำเนินการจัดสิง่ แวดลอ้ มเพ่ือลดความเส่ยี งการแพร่กระจายเช้ือ เชน่ ARI Clinic ,Cohort Ward
เป็นตน้
5. จดั ทำMaterial Safety Data Sheet และส่อื สารให้บุคลากรเขา้ ใจแนวทางการกำจดั วัสดุและของ
เสยี อันตราย เพอ่ื ใหว้ สั ดแุ ละของเสียอันตรายไดร้ ับการกำจดั อย่างปลอดภยั
สนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมภายใน/นอก ภายในหอผปู้ ว่ ย ในรปู แบบการจดั สิ่งแวดล้อมเพ่ือ
การเยียวยา (Healing Environment) ดงั น้ี มีการจดั สถานที่เพ่ือลดการแพร่กระจายของ COVID-
19 ใช้หลัก New normal เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน เช่น Social distancing จัดเก้าอี้ให้นั่ง
ห่างกัน 1 เมตร จัดแผนผังการรับบริการที่มีระยะห่าง รวมแผนผังการยืนในลิฟท์ การสวมหน้ากาก
อนามัย และการล้างมือ เพือ่ ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของ Covid-19
7. อบรมการจัดการขยะอยา่ งเหมาะสม รวมท้งั จัดแผนผัง เสน้ ทางการจัดวางขยะ และหาถังขยะวาง
ไว้ทจ่ี ดุ รบั ขยะจุดตา่ งๆในโรงพยาบาล รวมท้งั มีการจัดกิจกรรมรณรงคใ์ หบ้ คุ ลากรให้ถูกที่ เพือ่
ป้องกนั การแพร่ระบาดของเช้ือ
8. จัดบริการให้คำปรึกษาแก่บคุ ลากรดา้ นความเสีย่ ง และการป้องกันโรคทเี่ กิดจากการปฏิบตั งิ าน
9. จัดให้บุคลากรหลงั เขา้ ปฏิบัตงิ านได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

Training (การฝกึ อบรม)
1. จดั ทำแผนการอบรมบุคลากรใหม่เรอ่ื งอาชวี อนามัยพ้นื ฐาน และการเฝ้าระวงั โรคและภัยสุขภาพในท่ี
ทำงาน
2. จดั ทำแผนการอบรมให้ความรู้เรอ่ื งวัคซนี ท่จี ำเป็นสำหรับบุคลากรสขุ ภาพ

31

Monitoring (ตัวชว้ี ัดทใี่ ชต้ ิดตาม)
รอ้ ยละของบคุ ลากรไดร้ บั การตรวจสุขภาพ

Pitfall(ขอ้ ผดิ พลาดทผี่ า่ นมา)
1. บุคลากรมักไม่เหน็ ความสำคัญในการประเมนิ สขุ ภาพก่อนเร่ิมงานและไมใ่ ห้ ความสำคญั กับการมี
ภูมคิ ุ้มกันต่อไวรสั ตบั อกั เสบชนดิ บี
2. สถานพยาบาลมีข้อจำกดั ในการบนั ทกึ ประวตั ิสุขภาพของบุคลากรตง้ั แต่เริ่ม ปฏิบัติงาน
3. สถานพยาบาลมีความเข้าใจว่าการดูแลสุขภาพบคุ ลากรนั้นกระทำเมอื่ เจ็บปว่ ยเท่านน้ั แต่แท้ทจี่ ริง
การดแู ลสขุ ภาพของบุคลากรควรดำเนนิ การต้ังแตว่ นั แรกที่เร่มิ ปฏิบตั งิ าน

P3.2 Medical Surveillance Program

Definition (คำกำจัดความ)
การเฝ้าระวังทางการแพทย์ ระหว่างสัมผสั และหลังสมั ผัสสง่ิ คกุ คามต่อสุขภาพจะทำให้ลดผลกระทบต่อสุขภาพ
ท่รี ้ายแรงหรือถาวรได้

Goal (เป้าหมาย)
การป้องกนั ระดับทุตยิ ภูมิ โดยการตรวจคัดกรองผู้ท่สี ัมผัสสงิ่ คุกคามทางสุขภาพต้งั แต่กกอ่ นแสดงอาการ ใน
กรณที ต่ี ้องมีการสัมผัสสารคัดหลง่ั เลือด นำ้ หนอง สารเคมี รังสี เสยี งดงั

Why (เหตผุ ลทท่ี ำเรอ่ื งน้)ี
1. เน่อื งจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน หากบุคลากรได้รับสัมผัสทง้ั ปริมาณ หรือความถ่ซี ่ึง หลีกเล่ยี ง

ไมไ่ ด้ ดงั น้ันการเฝ้าระวงั สุขภาพโดยการตรวจสขุ ภาพและคัดกรองความ ผดิ ปกติ จงึ มีความจำเป็น
2. ขอ้ แนะนำของ OSHA 2016. กำหนดให้ผูท้ ำงานต้องสัมผสั bloodborne pathogens ต้องมกี าร

เฝ้าระวงั ทางเวชกรรม (medical surveillance)

Process (แนวทาง)
กรณีบุคลากรที่สัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยท่ีมีเช้ือตับอักเสบชนิดบี/HIVให้ปฏิบัติตามแนวทาง Post
exposure prophylaxis to bloodborne pathogens ของโรงพยาบาลสวนสราญรมย์หรือหากบุคคลและ
บุคลากรมีการสัมผัสผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่กระจายเช้ือ แต่ไม่ได้มีการสวมอุปกรณ์ป้องกันป้องกันควบคุม
ความปลอดภัยส่วนบุคคล ให้ปฏิบัติตามแนวทาง CDC 2005 ถึง 2010 หรือการสัมผัสสารเคมีแบบอุบัติเหตุ
ตลอดจนสารกัมมันตภาพรังสีจำเป็นต้องมีการดำเนินการแบบ exposure prophylaxis ตามแนวทางเฉพาะ

32

ต่อสารน้ัน กรณีสัมผัสหรือใกล้ชิดกับผู้ป่วยท่ีติดเช้ือไวรัส Covid-19 ให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการป้องกันการ
ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ (Covid-19)

Training (การฝึกอบรม)
อบรมใหบ้ ุคลากรใหม่และบุคลากรทีต่ ้องสัมผสั สิง่ คกุ คามต่อสุขภาพ ความรู้ถงึ อนั ตราย และผลกระทบตอ่
สุขภาพ และแนวปฏิบัตเิ ม่ือต้องสัมผสั สิ่งคกุ คามต่อสขุ ภาพนนั้ ๆ ทงั้ อยา่ งต้ังใจและโดยอุบตั เิ หตุ

Monitoring(ตวั ชว้ี ดั ท่ใี ชต้ ิดตาม)
1. ตดิ ตาม Incident report และรายงานการบาดเจบ็ และเจบ็ ป่วยจากงาน
2. ติดตามความครอบคลุมของบุคลากรทจ่ี ำเป็นต้องไดร้ บั การเฝ้าระวังสุขภาพ
3. ร้อยละบุคลากรไดร้ ับบาดเจบ็ จากการปฏบิ ตั งิ าน

Pitfall (ข้อผิดพลาดท่ผี ่านมา)

1. ตอ้ งทราบวา่ บุคลากรสมั ผัสส่ิงคกุ คามต่อสุขภาพ ประเภทใดบา้ ง และบุคลากรนั้นๆ ต้อง เปน็ กลุ่ม
significant exposure อยา่ งไรกต็ ามในประเทศไทยการประเมินการสัมผัส สารเคมี ยังมขี ้อจำกดั
ดังนน้ั การจำแนกวา่ บุคลากรคนใดบ้างมกี ารสมั ผัสสารแลว้ จัดเป็น กลมุ่ significant exposure นั้น
อาจจำเป็นต้องใชห้ ลกั ฐานอนื่ ๆ เชน่ รายงานการ เจบ็ ป่วยท่บี ่งชวี้ า่ เก่ียวเนอ่ื งจากงาน อย่างไรกต็ าม
สามารถปรกึ ษากลุม่ งานอาชวี เวช กรรมเพื่อขอคำแนะนำเพิ่มเตมิ ได้

2. การสมั ผัสผู้ปว่ ยวณั โรคปอดขณะทโ่ี รคยัง active น้ันบคุ ลากรในหนว่ ยงานนั้นๆ ควรมี การประชุม
หารือและประเมนิ ความเส่ยี งตอ่ การติดเชอื้ วัณโรคปอดและควรมี กระบวนการสอบสวนตาม
คำแนะนำของ CDC (US)

32

L: Lane (Ambulance) and Legal Issues Ambulance and Referral Safety
In-Transit Ambulance Safety
L1 On-Site Safety
L 1.1 Ambulance Driving Safety
L 1.2 Legal Issues
L 1.3 Informed Consent
Medical Record and Documentation
L2
L 2.1
L 2.2

33

L1 : Ambulance and Referral safety

L1.1 In-Transit Ambulance safety

Definition (คำกำจัดความ)

ขบวนการปฏิบัตกิ ารดแู ลและรกั ษาผู้ปว่ ยบนรถพยาบาลขณะนำสง่ ผปู้ ว่ ยไปยังสถานพยาบาลอยา่ งปลอดภยั

Goal (เป้าหมาย)
ไม่เกิดอุบัติการณ์การตายและการบาดเจ็บของผปู้ ว่ ยและเจ้าหน้าที่บนรถพยาบาลจากอุบัตเิ หตุรถพยาบาล

Why (เหตุผลทที่ ำเรื่องน)ี้
เพอื่ ป้องกันไม่เกดิ อุบัติการณ์การตายและการบาดเจบ็ ของผู้ป่วยและเจา้ หนา้ ทจี่ ากอุบัติเหตรุ ถพยาบาล

Process (แนวทาง)
จากการศกึ ษามาตรฐานรถพยาบาลของกลุ่มประเทศยุโรปและงานวจิ ัยตา่ ง ๆ พบวา่ มาตรฐานความปลอดภัย
ของรถพยาบาลน้ันต้องได้รับการออกแบบด้านวิศวกรรมเป็นอย่างดีตั้งแต่ตัวถังรถ การติดตั้งอุปกรณ์ยึดตรึง
เครือ่ งมือ และการติดตั้งอุปกรณค์ วามปลอดภัยได้มาตรฐานการทนแรงในทกุ ทิศทาง 10 G ทั้งตวั อปุ กรณ์และ
วิธีการติดต้ัง (10 G คือ มาตรฐานการติดตั้งอุปกรณ์ เก้าอี้ เตียงและตกแต่งภายในต่าง ๆ ภายในห้อง
พยาบาลของรถพยาบาล ตามการคำนวณแรงกระทำต่อจุดยึดในทิศทางไปข้างหน้า ข้างหลัง ด้านซ้ายและ
ดา้ นขวา โดยจุดยึดดงั กลา่ วตอ้ งทนแรงไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ 10 เท่า ของน้ำหนกั วัตถนุ น้ั ๆ )

1. อปุ กรณ์เก่ียวกับเจา้ หนา้ ที่
งานวิจัยต่างระบุว่าการจัดวางหรือตกแต่งภายในของส่วนห้องพยาบาลบนรถพยาบาลนั้นไม่ได้คำนึงถึงการ
ปฏบิ ัตงิ านของเจ้าหนา้ ที่มากเทา่ ที่ควร ตวั อย่างเชน่ การวางอปุ กรณ์การแพทยส์ ่วนมากไว้ที่ฝ่งั ตรงข้ามกบั เกา้ อ้ี
นั่งของเจ้าหน้าที่ ทำให้เจ้าหน้าที่ต้องถอดเข็มขัดนิรภัยเพื่อไปใช้อุปกรณ์น้ัน การแก้ปัญหาคือ ปรับการวาง
อุปกรณ์ที่ใช้บ่อย เช่น เคร่ืองวัดสัญญาณชีพมาติดต้ังที่ฝ่ังเก้าอ้ีน่ังเจ้าหน้าที่ หรือจัดซื้ออุปกรณ์ท่ีสามารถ
ควบคุมผา่ นอปุ กรณ์ไร้สาย (Remote controller) เก้าอี้ที่น่งั ยึดไม่ได้มาตรฐาน และใช้เข็มขดั นิรภัยที่ไมผ่ ่าน
การทดสอบย่อมไม่สามารถลดการเกิดการบาดเจ็บและการตายได้ ดงั น้นั มาตรฐานความปลอดภัยของเก้าอ้ีน่ัง
และเข็มขดั นิรภัยควรไดม้ าตรฐานการทนแรงในทุกทิศทาง 10 G ทงั้ ตัวอปุ กรณแ์ ละวธิ ีการตดิ ตงั้

2. อุปกรณเ์ กี่ยวกับผู้ป่วย
ในทำนองเดยี วกันหากผู้ป่วยนอนบนเตียงพยาบาลทเ่ี ข็มขัดนิรภยั เตยี งและฐานรองเตียงไม่ไดม้ าตรฐานยอ่ มไม่
สามารถลดการบาดเจ็บและการตายได้ ดังน้ันมาตรฐานของเตียงผู้ป่วย ฐานเตียงและวิธีการติดตั้งควรได้
มาตรฐานการทนแรงในทุกทิศทาง 10 G ท้งั ตวั อปุ กรณ์และวธิ ีการติดต้ัง

3. การยึดตรงึ อุปกรณก์ ารแพทย์บนรถพยาบาล
วัตถุท่ีมีมวลทุกอย่างตามหลักฟิสิกส์จะมีแรงเฉ่ือยดังนั้นเมื่ออุปกรณ์การแพทย์ท่ีมีน้ำหนักอยู่บนรถพยาบาลที่
ว่ิงด้วยความเร็วและเม่ือเกิดการหยุดกระทันหันจากอุบัติเหตุ อุปกรณ์การแพทย์จะลอยออกจากช้ันวางและ
สามารถกระแทกผู้ป่วยและเจ้าหน้าท่ีทำให้เกิดการบาดเจ็บได้การแก้ปัญหาคือการจัดให้อุปกรณ์ทุกชิ้นท่ี

34

เคล่ือนที่ได้ให้ติดตั้งลงบนฐานเฉพาะของอุปกรณ์น้ัน ๆ โดยท่ีฐานยึดอุปกรณ์ต้องผ่านการทดสอบความรุนแรง
ทุกทศิ ทาง 10 G

Training (การฝกึ อบรม)
อบรมทัศนคตแิ ละการปฏิบัติการแก่บุคลากรท่รี ับผิดชอบเพื่อ ความปลอดภยั ของตนเองและผรู้ ับบริการ

Monitoring (ตัวชี้วดั ทใี่ ชต้ ิดตาม)
ร้อยละของอบุ ัติการณ์และความรนุ แรงจากอุบัติเหตุรถพยาบาลทำให้เกิดการตายการบาดเจบ็ ของผูป้ ่วยและ
เจา้ หน้าทบ่ี นรถพยาบาล เป้าหมาย = 0

Pitfall (ข้อผิดพลาดที่ผ่านมา)
อุปกรณ์การแพทย์ เก้าอ้ีและเตียงผู้ป่วยน้ันแม้จะผ่านมาตรฐาน 10 G ที่ผ่าน การทดสอบจากต่างประเทศ
มาแล้ว ยังคงต้องได้รับการยึดกับตัวถังรถด้วยมาตรฐาน 10 G ดังนั้นโรงงานผู้ผลิตต้องมีเอกสารรับรองวิธีการ
ตดิ ตัง้ ดว้ ยมาตรฐาน 10 G ท่ี รับรองด้วยองคก์ รท่ีนา่ เชอื่ ถอื ดว้ ย

L1.2 On-site safety

Definition( คำกำจัดความ)
การปฏิบัติการ ณ จุดเกิดเหตุด้วยกระบวนการที่คำนึงถึงความปลอดภัยของบุคลากร ผู้ป่วย และ ประชาชน
โดยอ้างอิงความรู้จากหลักวิชาการที่ถูกต้องเพ่ือความปลอดภัยของบุคลากร ผู้ป่วย ประชาชนและทรัพย์สิน
ของชุมชน

Goal (เปา้ หมาย)
การตาย การบาดเจบ็ ของเจา้ หน้าทป่ี ระจำรถพยาบาลจากการปฏิบตั ิการ ณ จุดเกดิ เหตุลดลง

Why (เหตผุ ลที่ทำเรอื่ งน้ี)
ความปลอดภยั ของการปฏบิ ัติงาน ถือไดว้ า่ เป็นสงิ่ ที่ควรคำนึงถงึ ในอันดบั ต้นๆของการ ทำงานในระบบ
การแพทย์ฉกุ เฉนิ และการออกปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ นอกโรงพยาบาลซึ่งเป็น สภาพแวดล้อมทไี่ ม่สามารถคาดเดา
หรือควบคมุ ความปลอดภยั ได้อยา่ งเตม็ ท่ี ดังนั้นทุกครั้งทเ่ี จ้าหนา้ ทป่ี ระจำรถพยาบาลต้องออกปฏบิ ัตกิ ารกถ็ ือ
ได้วา่ เร่มิ มีความเสี่ยงแล้ว ความ เส่ยี งท่ีพบในการออกปฏบิ ัตกิ ารได้แก่ การถกู ชนซำ้ ซ้อนขณะปฏบิ ัติการบน
ถนน การ สัมผสั สารเคมหี รอื สารพษิ อันตรายจากการตอ่ สู้ในท่เี กดิ เหตุและภยั จากการระเบดิ

Process (แนวทาง )

1. การป้องกนั ถูกชนซ้ำซ้อนขณะปฏิบตั ิการบนถนน เจ้าหนา้ ทที่ ่ีปฏิบัตกิ ารต้องสวมชุดที่มแี ถบ
สะทอ้ นแสงทุกครั้ง งดการใชไ้ ฟส่องสว่างที่หันทิศทางไปกระทบการมองเหน็ ของผู้ขบั ขท่ี ี่อยูบ่ นถนนสาย
เดยี วกนั สรา้ งแนวกันชนดว้ ยอปุ กรณส์ ะท้อนแสงท่ีเห็นไดช้ ัดเจน ใหป้ ิดไฟหน้ารถ และเปิดใชแ้ สงไฟฉุกเฉิน

35

2. การสมั ผัสสารเคมหี รอื สารพษิ
2.1 ไม่เขา้ พน้ื ทเ่ี กิดเหตุในระยะ 600 เมตรจากจุดศูนย์กลางของเหตุและอย่เู หนือลมเสมอ
2.2 ประสานงานเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวขอ้ งเพ่ือดำเนินการ

3. ภัยจากเหตุระเบิด
3.1 เจา้ หน้าทป่ี ฏิบัตกิ ารผา่ นการอบรม Pre-hospital Trauma Life support เช่น การ

ช่วยชีวติ เบือ้ งตน้ และถือปฏิบัติ “ให้ฟังคำส่งั ของผู้บังคับบัญชาในพ้นื ที่”
3.2 เข้าพน้ื ท่ีได้เม่ือได้รบั คำสั่งเท่าน้ัน คำนึงไว้เสมอวา่ อาจมีการระเบิดซ้ำไดเ้ สมอ โดยระยะ

ปลอดภยั จำแนกตามขนาดของระเบิดศึกษาจากเอกสารอา้ งองิ
3.3 ข้อควรปฏบิ ัติอนื่ ๆ
3.3.1 หลีกเลีย่ งเครอ่ื งมืออิเล็คโทรนิคท่ีอาจปล่อยคลนื่ เสยี งเชน่ โทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี

วทิ ยุสอ่ื สาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพ้ืนท่ีระเบดิ Hot Zone
3.3.2 หากได้รบั คำสัง่ ให้เคลื่อนยา้ ยผ้บู าดเจ็บออกจากจดุ เกิดเหตุใหร้ บี เคลือ่ นย้าย

โดยไมท่ ำการคัดแยกตามระบบปกติ แตน่ ำผู้ปว่ ยมาท่จี ุดคัดแยกที่ต้งั หา่ งออกไปไมน่ อ้ ยกว่า 610 – 1,220
เมตร จาก จดุ เกิดเหตุ

Training (การฝึกอบรม)
การอบรม Pre-hospital Trauma Life support แก่เจ้าหนา้ ทป่ี ระจำรถพยาบาล

Monitoring (ตัวชว้ี ัดทใี่ ช้ติดตาม)
1. รอ้ ยละการบาดเจบ็ / การตายของเจา้ หน้าทีอ่ อกปฏบิ ัตกิ าร น้อยกวา่ ร้อยละ 10
2. ร้อยละเจ้าหน้าท่ีประจำรถพยาบาลผ่านการอบรม Pre-hospital Trauma Life support หรือ
เทยี บเท่า ร้อยละ 80

Pitfall (ขอ้ ผดิ พลาดท่ผี า่ นมา)
ไมม่ ีการเตรยี มอุปกรณ์ที่ใชส้ ำหรับการจดั จดุ เกิดเหตุให้ปลอดภยั บนรถพยาบาลและไม่มี ชดุ ปอ้ งกันสารเคมี

L 1.3 Ambulance Driving Safety
(แนวปฏิบัตขิ ับรถบริการการแพทยฉ์ ุกเฉนิ และ รถพยาบาลปลอดภัย)

Definition (คำกำจัดความ)

รถปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ และรถพยาบาล ในโรงพยาบาล ท่ีปฏบิ ัติการทั้งนำส่งผู้ป่วยในระบบการแพทย์
ฉุกเฉินและระบบส่งต่อผู้ป่วย จะต้องได้รับการตรวจเชคสภาพรถและอุปกรณ์การแพทย์ภายในรถเป็นประจำ
ทุกวันใหพ้ ร้อมใช้งาน รวมทั้งไดร้ ับการเชคสภาพตามมาตรฐานการบำรงุ รักษารถตามระยะเวลาท่ีกำหนด

Goal (เป้าหมาย)
เพอ่ื ให้ทกุ ชีวิตปลอดภยั ในรถพยาบาล (บุคลากรทางการแพทย์ ผูป้ ว่ ยและญาตติ ลอดจนผรู้ ว่ มทางในการใช้
ถนน)

36

Why (เหตุผลที่ทำเรอื่ งน้ี)
เน่ืองจากบุคลากรทางการแพทย์ ท่ีปฏบิ ตั งิ านในระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน และระบบ ส่งต่อผ้ปู ่วย เปน็ ทรพั ยากร
มนุษยท์ ่มี ีคุณคา่ และมีความสำคัญย่ิงในการชว่ ยเหลือผู้ เจบ็ ปว่ ยฉุกเฉนิ ทุกชาติ ทุกภาษา ทุกเพศ ทุกวยั ทกุ คน
ทอี่ ยบู่ นผืนแผ่นดนิ ไทย เพอ่ื ใหผ้ ้เู จบ็ ป่วยฉุกเฉินเหล่านน้ั พ้นภาวะวกิ ฤติซ่งึ บุคลากรเหลา่ น้ีได้เสยี สละและทมุ่ เท
ปฏบิ ตั ิงานด้วยความยากลำบากในการดแู ลผู้ป่วยฉกุ เฉินวกิ ฤตบิ นพยาบาลและมีความเสี่ยงอนั ตรายสงู มากใน
การเกดิ อบุ ตั ิเหตจุ ราจรระหว่างเดนิ ทางบนท้องถนน รถปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ การแพทย์และรถพยาบาลมแี นวโนม้
ทีป่ ระสบอบุ ัติเหตเุ พิ่มขนึ้ และก่อใหเ้ กิดการบาดเจ็บ และเสียชีวติ ของทมี แพทย์ พยาบาล ตลอดจนผ้ปู ่วยและ
ญาติ จากการรวบรวมข้อมลู การเฝ้าระวงั อุบตั เิ หตุรถพยาบาล ของสถาบันการแพทย์ ฉุกเฉนิ แหง่ ชาติ ตั้งแต่
วันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2559 ตลอด 3 ปีท่ีผ่าน มา รถบรกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉิน และ
รถพยาบาลเกดิ อุบัติเหตจุ ำนวน 142 คร้ัง มี ผู้บาดเจ็บ 222 ราย โดยมีพยาบาล บคุ ลากรทางการแพทย์ และ
ผู้ป่วย คกู่ รณี เสยี ชวี ิตรวม 36 ราย ซงึ่ ผูเ้ สียชวี ติ เปน็ บุคลากรทางการแพทย์ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านในระบบ การแพทย์
ฉกุ ฉนิ และพนักงานขับรถ จำนวน 8 ราย

Process (แนวทาง)
พนกั งานขบั รถ

1. ไม่ดื่มเคร่ืองด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์หรือสารเสพติดรวมถึงยาท่ีทำให้ง่วงนอนก่อนและขณะขบั รถ
2. ห้ามขับรถพยาบาลฝ่าสญั ญาณไฟแดงทุกกรณี
3. เคารพกฎจราจรไม่ขบั รถเรว็ เกนิ กว่ากฎหมายกำหนด จำกดั ความเร็ว รถพยาบาลไม่เกิน 90

กโิ ลเมตรต่อชั่วโมง
4. พนักงานขบั รถผ่านการอบรมหลักสตู รฝกึ อบรมพนักงานขบั รถพยาบาล เช่น การอบรมการใช้
อปุ กรณ์ภายในรถปฏบิ ตั ิการฉุกเฉนิ การแพทย์, หลกั สตู รการฟื้นคนื ชีพ, หลกั สตู รวนิ ัยการขบั รถอย่างปลอดภยั
5. ให้รถพยาบาลติดตง้ั GPS
6. ใหร้ ถพยาบาลติดตัง้ กล้องวงจรปดิ อย่างน้อย 2 จุด
7. ไม่ใช้โทรศัพท์มือถอื ขณะขับข่ี
8. ตรวจสอบความพรอ้ มของรถ และศึกษาเส้นทางก่อนออกเดนิ ทาง
9. พักทกุ ๆ 2 ชวั่ โมงหรอื ระยะทางทุกๆ 150 กโิ ลเมตร
10. การบำรุงรกั ษารถให้พร้อมใชง้ าน

ผบู้ ริหาร
1. ประกาศนโยบายวฒั นธรรมความปลอดภยั และเข็มมุ่ง 2PSSR ในองค์กรและมีการสื่อสารให้

บคุ ลากรในองค์กรให้รบั ทราบและ เข้าใจให้ทวั่ ถงึ ตลอดจนกำกบั ติดตามประเมินผล
2. จดั ให้มีห้องพักสำหรับพนักงานขบั รถ เพื่อปอ้ งกันการเหน่ือยลา้
3. ทำประกันภยั รถพยาบาล

37

Training (การฝึกอบรม)
อบรม /ชีแ้ จง การปฏิบัตงิ านบนรถปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินการแพทย์และรถพยาบาลแก่บุคลากรและผู้เก่ยี วข้อง
เพอ่ื ความปลอดภยั

Monitoring (ตัวชีว้ ดั ทใ่ี ช้ติดตาม)
1. รอ้ ยละการเกดิ อบุ ัตเิ หต/ุ การไดร้ ับบาดเจ็บขณะปฏิบัตกิ ารส่งต่อผปู้ ว่ ย
2. อตั ราความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารรถปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินการแพทย์และรถพยาบาล

Pitfall (ขอ้ ผดิ พลาดทีผ่ ่านมา)
หากพนักงานขบั รถปฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉินการแพทย์และรถพยาบาล ยงั ไมต่ ระหนัก หรอื ให้ความสำคัญเรื่อง
อบุ ัตเิ หตุจราจร อาจทำให้ พนกั งานขบั รถ บุคลากรทางการแพทย์ ตลอดจนผู้ป่วย ญาติ และผู้ร่วมใช้รถใช้
ถนนบนทางสาธารณะ จะไม่ ปลอดภยั

L2 : Legal Issues

L2.1 Informed consent

Definition (คำกำจัดความ)
การให้ข้อมูลด้านสุขภาพแก่ผู้รับบริการ (Informed consent) หมายถึง การที่ผู้ให้บริการแจ้งข้อมูลการ
ให้บริการรักษาพยาบาลและด้านสาธารณสุขรวมทั้งค่าใชจ้ ่ายในการที่จะต้องดำเนินการให้แกผ่ ู้รับบริการได้รับ
ทราบกอ่ นการให้บริการ

Goal (เปา้ หมาย)
ผู้ให้บริการให้ข้อมูลการบริการรักษาพยาบาลอย่างถูกต้องและเพียงพอสำหรับการตัดสินใจของผู้รับบริการใน
การตัดสินใจรับบริการเพื่อความเข้าใจท่ีถูกต้อง ทำให้เกิดความไว้วางใจระหว่างกันและกัน รวมท้ังลดความ
เส่ยี งของการถกู ฟอ้ งรอ้ ง

Why (เหตุผลทีท่ ำเรอ่ื งน)้ี
การให้ข้อมูลด้านสุขภาพแกผ่ รู้ บั บริการถือเปน็ หน้าที่ของผ้ใู ห้บริการทต่ี ้องแจ้งผปู้ ่วย ทราบถงึ พยาธิสภาพของ
ร่างกาย จติ ใจ โรคภัยท่ปี ระสบอยแู่ ละแนวทางการรกั ษาท่ี ถกู ต้องเพื่อความปลอดภยั ของผปู้ ่วย ซึ่งเปน็ หน้าที่
ทง้ั ในทางจรยิ ธรรมและตาม กฎหมาย มาตรา 8 แหง่ พระราชบัญญตั สิ ุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 ซ่ึงกำหนดให้
ผู้ใหบ้ ริการต้องใหข้ ้อมูลการให้บริการแกผ่ ู้รบั บริการอย่างเพียงพอเพ่อื ประกอบการตดั สินใจรบั หรือไม่รับรกิ าร
หากผูร้ ับบริการปฏเิ สธจะใหบ้ ริการน้นั ไม่ได้ ดังน้นั การให้ ขอ้ มูลการรกั ษาพยาบาลหรือการบริการดา้ นการ
สาธารณสุขอ่นื จึงต้องเป็นการให้ข้อมลูท่ชี ดั เจน ถกู ต้อง ครบถ้วน ทจ่ี ะทำให้ผู้รบั บริการมีความเขา้ ใจ และ
สามารถตัดสินใจได้โดยก่อนการใหข้ อ้ มลู จะต้องมีการตรวจวินิจฉัยอย่างรอบคอบแลว้ เมือ่ ผู้รับบรกิ ารไดร้ ับ
ขอ้ มูลการรกั ษาพยาบาล ความเส่ียง ผลข้างเคียง หรอื ภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ก็จะตดั สินใจรบั หรือไมร่ ับ
บริการการตดั สนิ ใจดงั กลา่ วเป็นการยอมรับข้อเท็จจรงิ ในการรกั ษาและความยินยอมของผรู้ บั บรกิ ารจะ
คุ้มครองผใู้ ห้บรกิ ารทไ่ี ด้ประกอบวชิ าชีพอย่างมมี าตรฐานให้ไมต่ ้องรบั ผดิ ทางกฎหมายการให้ขอ้ มูลเปน็ การ

38

คมุ้ ครองและรักษาสิทธขิ องผ้ปู ว่ ยทำให้ความสัมพันธ์ที่ดขี องทั้งสองฝา่ ยจะยงั คงอยู่ความเสยี่ งที่จะถูกฟ้องร้องก็
จะลดลง

Process (แนวทาง)
ในการใหข้ ้อมลู ดา้ นบริการสาธารณสขุ ของผ้ใู ห้บรกิ าร มีองค์ประกอบทีส่ ำคัญ คือ

1. ข้อมลู ที่จะต้องให้แกร่ ับบริการ ประกอบ
• การตรวจวนิ ิจฉัย โรค อาการ และผลทีต่ ามมา
• แนวทางการรักษาโรค
• ความเสย่ี งทางการศึกษา ข้อดี ขอ้ เสยี
• ความเสี่ยงของทางเลอื ก

2. ผูใ้ ห้ข้อมลู
3. แนวทางการให้ขอ้ มลู

• การสื่อสาร
• รูปแบบการให้ข้อมูล
• ขนั้ ตอน วธิ กี ารให้ข้อมูล
4. ผ้รู ับข้อมลู คือ ผูป้ ่วยหรอื ญาตผิ ู้มอี ำนาจกระทำการแทน
5. การประเมินค่าใช้จา่ ยของการรกั ษาพยาบาล
6. ความยินยอม หรือข้อตกลงในการรับหรอื ไม่รับบริการ

แนวทางปฏิบตั ิ
1. มีกระบวนการตรวจวินิจฉยั โรคทีถ่ ูกตอ้ ง เหมาะสม โดยเจา้ หน้าทต่ี อ้ งมขี ั้นตอนการตรวจวินิจฉยั ที่
ถูกตอ้ ง วางแนวปฏิบัตสิ ่ือสารให้ผู้ทจี่ ะใหค้ วามยนิ ยอมแทนผู้ปว่ ยรบั ทราบ กำหนดข้อมูลที่จะตอ้ ง
ให้แกผ่ รู้ ับบรกิ าร
2. กำหนดตัวผ้ทู ีจ่ ะต้องใหข้ ้อมลู ซึ่งจะต้องเปน็ ผมู้ ีความรู้ในเรื่องท่ีจะให้ขอ้ มูลอย่างดี เพราะอาจตอ้ ง
อธิบาย และเป็นผทู้ ่ีมีความสามารถทกั ษะในการส่ือสาร
3. มีการจดบันทึกการให้ข้อมูลด้านการรักษาเพ่ือส่ือสารให้ผู้บริการรับทราบและตัดสินใจเข้าร่วม
การรักษา และกรณเี ข้าขอ้ ยกเว้นไม่ตอ้ งใหข้ อ้ มลู ตามกฎหมายเพื่อเปน็ หลักฐานอา้ งอิง
4. กำหนดตัวผู้รบั บริการ หรือผู้ท่ีจะต้องรับขอ้ มูลให้ถูกต้องตามกฎหมาย และมีความเหมาะสม โดย
จัดกลุม่ ผู้รบั บริการดงั นี้
4.1 กลุ่มผปุ้ ่วยทต่ี ้องรบั การหตั ถการเช่น การรับการรกั ษาดว้ ยไฟฟา้
4.2 กลมุ่ ผู้ป่วยท่ีต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
5. เมือ่ ได้ให้ขอ้ มูลการบริการอย่างเพียงพอแล้ว ต้องมีบันทึกการรบั ทราบขอ้ มลู และการตดั สินใจของ
ผรู้ ับบริการว่าจะรับบรกิ ารนนั้ หรือไม่ มีการบันทึกความยนิ ยอมรับหรอื ปฏเิ สธการรบั บริการ

39

Training (การฝกึ อบรม)
อบรมทกั ษะ การให้ความรู้เก่ยี วกับข้อมูลทจี่ ะให้ในแต่ละสาขาการบริการ และเทคนิคการส่ือสารแก่เจ้าหน้าที่
ผู้ทำหน้าท่ใี หข้ ้อมูล

Monitoring (ตัวชี้วดั ทีใ่ ช้ติดตาม)
ขอ้ ร้องเรียนด้านการใหข้ ้อมลู ยินยอมบำบัดรักษาของผรู้ ับบรกิ าร

Pitfall (ข้อผดิ พลาดท่ีผา่ นมา)
1. การตรวจวินจิ ฉยั ผดิ พลาด ส่งผลให้การให้ข้อมูลผดิ พลาด
2. การส่ือสารผดิ พลาด

L 2.2: Medical Record and Documentation

Definition (คำกำจัดความ)
บนั ทกึ เวชระเบียน หมายถึงเอกสารที่แพทย์ใช้บนั ทึกประวัตสิ ุขภาพผูป้ ่วย การดำเนินการตรวจวินิจฉยั

และรักษาผปู้ ่วย รวมถึงเอกสารอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

Goal (เป้าหมาย)
บันทึกเวชระเบยี นมีความถกู ต้องสมบูรณ์เพือ่ การดแู ลผุป้ ว่ ยอย่างเหมาะสมเป็นสาํ คญั นําไปสู่การลด

ความเส่ียงของการฟ้องคดี

Why(เหตุผลที่ทำเร่อื งน้ี)
ประวตั ิผปู้ ว่ ยหรือเวชระเบยี นเป็นเอกสารสาํ คัญในกระบวนการรักษาพยาบาล เปน็ สิง่ แสดงถึง การ

ดำเนนิ การต่างๆของแพทยแ์ ละผทู้ เ่ี กีย่ วข้องในการรักษาโรคให้แกผ่ ปู้ ่วย การเขียนเวชระเบยี น อยา่ งละเอยี ด
มีขอ้ มลู ทีเ่ ป็นสาระสำคัญของผ้ปู ่วยครบถ้วนจะเปน็ การช่วยให้การดแู ลผ้ปู ่วยเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตาม
มาตรฐานวชิ าชพี ผ้ปู ่วยมีความปลอดภยั สูง

Process (แนวทาง)
1. การบันทึกให้ถูกต้อง ครบถ้วน ท้ังในด้านการศึกษาทางการแพทย์ และการปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับ
บทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ต้องบันทึกเรื่องการแจ้งข้อมูลการรักษาพยาบาลหรือการทำ
หัตถการแก่ผู้ป่วย ข้อยกเว้นตามกฎหมายที่ไม่ต้องแจ้งข้อมูลก่อน ตามมาตรา 8 แห่ง
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ไว้ในเวชระเบียนด้วย เพราะจะเป็นหลักฐานในการ
พิสูจน์ในชั้นศาล เป็นต้น โดยข้อความในเวชระเบียนต้องไม่ขัดแย้งกันหรือไม่ตรงตามบันทึกการ
พยาบาล
2. การเก็บรักษาเวชระเบียน ในสภาวการณ์ปกติและในสภาวะท่ีจะหรือกำลังเกิดเรื่องควรแยกไว้
ตา่ งหากจากกันเพอ่ื ความสะดวกในการดูแลและการรักษาความลบั
3. การแก้ไขเวชระเบียนต้องมีแนวทางที่ชัดเจนปฏิบัติได้และเป็นแนวทางเดียวกันทุกแห่ง เช่น ต้อง
แกไ้ ขเพิ่มเติมตามความเป็นจริง เป็นต้น

40

4. การคุ้มครองข้อมลู เวชระเบยี น เช่น ผูม้ ีสิทธขิ อตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพแห่งชาติ
พ.ศ.2550 คือ ผู้ได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย ผู้รับมอบอำนาจ ทายาท ศาล หรือเจ้าหน้าที่ท่ีมี
อำนาจขอเอกสารตามกฎหมาย เป็นต้น หรือข้ันตอนวิธีการในการเปิดเผย หรือขอสำเนาเวช
ระเบียนตามพระราชบัญญัติตามข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 โดยต้องทำเป็นหนังสือ
แจง้ วัตถุประสงค์การขอ รบั ทราบเงือ่ นไขการรบั สำเนาเอกสาร เป็นต้น

5. การดำเนินการในข้ันตอนต่าง ๆ โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยถูกต้องตามระเบียบสำนักนายยก
รัฐมนตรีว่าด้วยสารบรรณ พ.ศ.2526 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ.2544

Training (การฝกึ อบรม)
1. อบรมความรู้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ให้สามารถเขียนหรือบันทึกเวชระเบียนท่ี ถูกต้องตามความเป็นจริง
มีสาระสำคญั ทเ่ี ป็นไปตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมาย รวมทัง้ การคมุ้ ครองข้อมูลเวชระเบียน
2. จดั อบรมเจ้าหนา้ ที่ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เวชระเบียน เช่น แพทย์ พยาบาล หรอื เจ้าหน้าทเ่ี วชระเบียน ในเร่ือง
การสอื่ สารกับผ้ปู ่วยและบคุ คลภายนอกในเรอ่ื ง เวชระเบียน

Monitoring(ตวั ชีว้ ัดท่ใี ช้ติดตาม)
อตั ราความสมบรู ณข์ องเวชระเบยี นผ้ปู ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยใน

Pitfall (ขอ้ ผิดพลาดทีผ่ ่านมา)
1. เจา้ หนา้ ท่ีไม่มคี วามรู้ทางกฎหมายเกีย่ วกับการจดั การเวชระเบียน ทำให้ปฏิบตั ิไม่ ถูกต้อง
2. เวชระเบียนไม่สามารถอา่ นเข้าใจไดเ้ น่ืองจากลายมอื แพทย์อา่ นไม่ออก เขยี นไม่ ครบถว้ น บันทึก
แพทย์พยาบาลไมต่ รงกัน

41

E: Environment and Working Conditions
E 1 Safe Physical Environment
E 2 Working Conditions
E 3 Workplace Violence

42

E1: Safe Physical Environment ด้านการระบายอากาศและปรบั อากาศ

Definition (คำกำจัดความ)
สภาพการระบายอากาศและปรับอากาศในสถานพยาบาล ท่ีไม่เหมาะสม อันเป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อทาง
อากาศจากผู้ป่วยสู่บุคลากร หรือจากบุคลากรสู่ผู้ป่วย นอกจากการติดเช้ือทางอากาศแล้วยังมีสภาวะการขาด
อากาศและการสะสมของอากาศเสีย และสารพิษตกค้างในอากาศ

Goal (เป้าหมาย)
บคุ ลากรและผปู้ ่วยในสถานพยาบาล รวมถึงญาติผู้ป่วยและผู้มาติดต่อกับสถานพยาบาล มีความปลอดภัยจาก
ภาวะ การติดเชอื้ ทางอากาศ สถานพยาบาลมีคุณภาพอากาศท่ีดี ไมเ่ ปน็ แหลง่ สะสมเชื้อโรคและสารพิษภายใน
อาคารบริการ

Why (เหตุผลทที่ ำเรือ่ งนี้)
จากผลสำรวจ การตรวจสอบคุณภาพอากาศในสถานพยาบาลตามภารกิจของกองวิศวกรรม การแพทย์ พบว่า
คุณภาพอากาศของสถานพยาบาล จำนวน 387 แห่ง อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการติด เช้ือทางอากาศ อัน
เน่ืองมาจากขาดการระบายอากาศท่ีดีและไม่มีการบริหารจัดการดูแลบำรุงรักษา ระบบท่ีถูกต้อง จำเป็นต้อง
ได้รับการแก้ไขโดยเรง่ ด่วน มีจำนวนสูงถึง 223 แห่ง และมีความเสี่ยง หรือแนวโน้มท่ีจะเกิดอันตรายควรที่จะ
ได้รับการแก้ไข จำนวน 4 แห่ง ในขณะท่ีพบว่ามีสถานพยาบาล อยู่ในสภาพปกติตามเกณฑ์มาตรฐาน และไม่
พบว่ามีการติดเช้ือจากการทำงานของบุคลากร หรือ สารพิษตกค้างจากการปฏิบัติงาน เพียง 160 แห่งเท่านั้น
ประกอบกับโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ต้ังอยู่ในพื้นท่ีซ่ึงมีความร่มรน่ื ด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่ ภูมิอากาศท่ีร้อนชื้น
ซ่งึ ทำใหเ้ กดิ เชอื้ ราและส่ิงคุมคามสุขภาพได้งา่ ย ดงั น้ันการบรหิ ารจดั การคุณภาพอากาศ ในสถานพยาบาล จงึ มี
ความจำเป็นที่จะต้องได้รับการจัดการอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อ ปกป้องบุคลาการให้มีความ
ปลอดภยั และมีสุขภาพทดี่ ใี นการทำงาน

Process (แนวทาง)
1. การปฏิบัติงานทถ่ี ูกตอ้ ง จะไม่เป็นสาเหตุใหเ้ กดิ เช้อื รา เชื้อไวรัสในอาคาร เชน่ การเช็ดถูพ้ืนดว้ ยน้ำ

เปยี กมากเกินไปและปล่อยให้แห้งเอง ไอนำ้ จากการระเหยจะชว่ ยใหม้ ีความชน้ื ในอาคารสูง ทำให้เชื้อรา
เจรญิ เติบโตไดง้ า่ ย

2. การใช้เครอื่ งมือท่ีถกู ต้องในห้อง เชน่ ตดิ ต้งั หม้อตม้ นำ้ ร้อนในตำแหน่งที่อยู่ใต้เครื่องปรบั อากาศ
จะทำใหค้ วามชน้ื ในอากาศสงู เครอื่ งปรับอากาศไมส่ ามารถทำความเย็นไดต้ ามต้องการ

3. การใช้สารเคมอี ันตราย ในพน้ื ท่ีอบั อากาศ หรือ การทำงานในพน้ื ท่อี ับอากาศ จะต้องมปี ้ายเตอื น
อนั ตราย และมีอปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคลในกรณปี ฏบิ ตั ิงานปกติ

4. มกี ารตรวจสอบคุณภาพระบบระบายอากาศ ในหนว่ ยงานในโรงพยาบาล เช่น คลีนคิ จิตเวช
ฉุกเฉนิ ผ้ปู ่วยนอก กลมุ่ งานเภสชั กรรม หอผปู้ ่วยชาย 9 เปน็ ตน้

5. มแี ผนการบำรุงรักษาระบบระบายอากาศในหนว่ ยงานโรงพยาบาลประจำปี

43

Training (การฝึกอบรม)
1. บคุ ลากรทางการแพทย์ ได้รบั การอบรมการควบคุมคุณภาพอากาศทเ่ี หมาะสม วธิ กี ารปฏิบัติ เพ่ือให้
ได้คุณภาพอากาศที่ดี การตรวจสอบคณุ ภาพอากาศเบื้องตน้ ด้วยตัวเอง และวธิ กี าร ปอ้ งกันอันตราย
ส่วนบคุ คล จากภัยคุกคามทางสารเคมี หรอื การตดิ เช้อื ทางอากาศ การมี ส่วนร่วมในการดแู ล
บำรงุ รักษาอปุ กรณ์ในระบบปรบั อากาศและการระบายอากาศ
2. บคุ ลากรด้านบริหารจดั การระบบ ได้รับการอบรม การวางแผนการตดิ ตั้ง บำรงุ รักษา รวมถึง การ
ตรวจสอบ ทดสอบระบบตามเกณฑ์มาตรฐานและกฎหมายก าหนด อบรมการบำรงุ รักษา ห้องสะอาด
พเิ ศษเฉพาะสถานพยาบาล ที่มคี วามซับซ้อน

Monitoring (ตวั ชว้ี ดั ทีใ่ ช้ติดตาม)
1. อตั ราการติดเชอ้ื ในระบบทางเดินหายใจของบคุ ลากรทางการแพทย์จากการปฏบิ ตั งิ าน
2. อตั ราการติดเชอื้ ในระบบทางเดนิ หายใจของผูป้ ว่ ย
3. รอ้ ยละความพึงพอใจของบคุ ลากร และผู้รบั บริการ
4. ผลการทดสอบการตรวจสอบคุณภาพอากาศผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน

Pitfall (ข้อผิดพลาดท่ีผา่ นมา)
1. การปฏิบตั งิ านที่ไม่ถูกต้อง จะเปน็ สาเหตุใหเ้ กดิ เชอื้ ราในอาคาร เชน่ การเช็ดถูพ้ืนดว้ ยน้ำ เปยี กมาก
เกินไปและปลอ่ ยใหแ้ ห้งเอง ไอนำ้ จากการระเหยจะชว่ ยใหม้ คี วามชน้ื ในอากาศสงู ทำใหเ้ ช้ือรา
เจรญิ เติบโตไดง้ า่ ย
2. การใช้เครือ่ งมือท่ไี ม่ถูกต้องในหอ้ ง เชน่ ตดิ ตงั้ หม้อตม้ นำ้ ร้อนในตำแหน่งท่ีอยใู่ ต้ เคร่อื งปรับอากาศ จะ
ทำใหค้ วามช้นื ในอากาศสูง เครื่องปรบั อากาศไมส่ ามารถทำความเย็น ได้ตามท่ีต้องการ
3. การใช้สารเคมีอันตราย ในพื้นทีอ่ บั อากาศ หรอื การทำงานในพนื้ ท่ีอบั อากาศ จะต้องมปี ้าย เตือน
อนั ตราย และมอี ปุ กรณป์ ้องกันอันตรายสว่ นบคุ คลในกรณีปฏบิ ตั งิ านปกติ
4. ส่วนใหญ่จะพบว่าการบำรงุ รักษาไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแผนเปน็ เหตุใหค้ ุณภาพอากาศไมเ่ ป็นไป
ตามมาตรฐาน

E2 : Working condition

Definition (คำกำจัดความ)

จากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างเป็นระบบ The Agency for Healthcare Research and
Quality (AHRQ) รายงานวา่ สภาพการทำงานในระบบบริการสขุ ภาพ (Health care working conditions)ที่
ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของบุคลากร และผู้ป่วย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบสำคัญ คือ Workforce
staffing, Workflow design, Personnel/Social issues,Physical environment แ ล ะ Organizational
factors

44

Goal (เป้าหมาย)
1. บุคลากรทุกคนทำงานภายใตส้ ภาพการทำงานท่ีมัน่ คง ปลอดภยั ตลอดเวลา
2. บุคลากรมคี วามพงึ พอใจ มคี วามปลอดภัย และมคี ุณภาพชวี ิตการทำงาน

Why (เหตผุ ลที่ทำเรื่องนี้)
บุคลากรสุขภาพสว่ นใหญเ่ ป็นผปู้ ฏบิ ตั งิ านท่ใี ห้บริการโดยตรงต่อผปู้ ่วย ความพร้อมท้ังดา้ น รา่ งกายและจติ ใจ
ของบุคลากร เป็น Human factors ซงึ่ สง่ ผลโดยตรงต่อความปลอดภยั ของ ผปู้ ่วย รวมท้ังสภาพการทำงานท่ี
เออื้ ต่อการทำงานและมีความปลอดภัยเป็นปจั จยั ทีม่ ผี ลต่อการเพิ่มขึน้ หรือลดลงของประสิทธิภาพการทำงาน
ของบุคคล ซง่ึ สง่ ผลทัง้ ต่อผลลพั ธ์ท่จี ะเกดิ กบั ผ้ปู ว่ ยและองค์กร

Process (แนวทาง)
1. การจัดอตั รากำลังบคุ ลากรทเ่ี พียงพอ พร้อมปฏบิ ตั ิงาน
1.1 การบริหารจัดการอัตรากำลังให้มีบุคลากรเพียงพอกับภาระงานท้ังปริมาณอัตรากำลัง
และทักษะ
1.2 พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเน่ืองและจัดหา/ธำรงรักษาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ
และทกั ษะเพียงพอตอ่ การทำงานท่รี บั มอบหมาย
1.3 การจดั ตารางการทำงานให้มีชัว่ โมงการทำงาน และการพักผอ่ นอย่างเพียงพอ
โดยเฉพาะบุคลากรทีท่ ำงานแบบเวรผลัด (shift work) หลกี เลยี่ งการมอบหมายให้
บุคลากรทำงานต่อเนื่องยาวนานเกิน 12 ช่ัวโมง ในภาวะฉกุ เฉิน หรือมสี ถานการณก์ าร

แพร่ระบาดเชอื้ ไวรสั Covid-19 จดั ให้บคุ ลากรเข้าทำงานเหลื่อมเวลาและ
ปฏิบตั ิงานทีบ่ ้าน (Work Form Home)

2. การออกแบบขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน
2.1 ออกแบบกระบวนการทำงานใหบ้ คุ ลากรทำงานได้อย่างราบร่นื เช่น มีการปอ้ งกนั ความ

เสย่ี งจากการทำงานในแตล่ ะขั้นตอน
2.2 จัดหาอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล,เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ในการทำงาน ให้เพียงพอ มีการ
ฝึกอบรม และระบบประเมินเฝ้าระวงั ความเส่ียงจากการทำงาน
2.3 ส่งเสริมการใช้หลกั การยศาสตรแ์ ละเทคโนโลย/ี อปุ กรณ์ชว่ ยในการ

ทำงานใหง้ ่ายขน้ึ สะดวกขนึ้ เร็วข้ึน และลดโอกาสการเกดิ ความผิดพลาด
2.4 ออกแบบระบบทเ่ี ออื้ ตอ่ การทำงานตามมาตรฐานอยา่ งเคร่งครดั

3. สนับสนนุ การมีสว่ นร่วมของบุคลากรในการออกแบบการทำงานท่ปี ลอดภัย
3.1 จดั ระบบการดูแลบคุ ลากรทีต่ ้องทำงานทา่ มกลางความกดดนั ทั้งด้านรา่ งกายหรือจติ ใจ

ซึง่ จะมีความเครียด เหนื่อยหน่าย ขาดแรงจงู ใจ/ไม่พึงพอใจในการทำงาน
3.2 ส่งเสริมให้เกิดความสมดลุ ระหว่างการทำงานและการใชช้ ีวติ ส่วนตัว
3.3 ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการทำงานเป็นทีม และให้โอกาสบุคลากรแต่ละวิชาชีพ
ได้ทำงานอย่างเตม็ ศกั ยภาพตามมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชพี
3.4 จัดกิจกรรมยกย่องให้รางวัลเชิดชู บุคลากรท่ีมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ เป็นคนดีศรีสราญ

รมย์ คนดีในวิชาชีพ และครุฑทองคำ

45

3.5 มีการประเมินความพึงพอใจของบคุ ลากร Happy work place 8 ประการ และนำไปสู่
การปรับปรงุ ใหด้ ขี ึน้ อย่างสมำ่ เสมอ

4. การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพอยา่ งปลอดภัย
4.1 ดำเนินการตามหลักอาชีวอนามัยอย่างเคร่งครัด ในการบริหารจัดการความปลอดภัย
ของอุปกรณ์ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ อาคาร สถานท่แี ละสง่ิ แวดลอ้ มในการทำงาน
4.2 ให้ความสำคัญกับการจัดการ/ควบคุม/ป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดจากการทำงาน หรือ

ความรนุ แรงท่ีเกดิ ขณะจากการปฏิบตั งิ าน
5. การปรับปรุงปจั จยั สำคัญขององค์กร
5.1 มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย เช่น ปรับปรุงถนนภายใน ซ่อมแซม

อาคารหอผู้ปว่ ย ที่พกั อาศยั ของเจ้าหนา้ ท่ี และทำเกษตรปลกู ผกั ปลอดสารเคมี
5.2 มีค่านิยม “อ่อนน้อม พร้อมเปล่ียนแปลง แสดงถึงการทำงานเป็นทีม” เป็นวัฒนธรรม

องคก์ ร
5.3 มีระบบการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงาน
5.4 กำหนดนโยบายบริหารความเส่ียงของโรงพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้บคุ ลากรมีการรายงาน

ความเสีย่ งหรือความผิดพลาดอย่างสรา้ งสรรค์ นำไปสูก่ ารปอ้ งกันแก้ไข
5.5 สนับสนุนบคุ ลากรให้มีความกา้ วหน้าทางวชิ าชีพ และส่งเสรมิ ให้พฒั นาสมรรถนะความรู้

ทกั ษะที่จำเป็นตามกรอบการพฒั นาบุคลากรของโรงพยาบาล

Environment Safety

1. การป้องกันอคั คีภยั
เปา้ หมาย
เพอื่ ป้องและบรรเทาความเสียหายตอ่ ชีวิตของผู้รับบริการ เจา้ หนา้ ท่ีและทรพั ย์สนิ ทางราชการ
จุดเนน้

1. การปอ้ งกนั การเกิดอัคคีภัย
2. การบำรงุ รกั ษาและประเมินการเตือนอคั คภี ยั
3. ทกุ หน่วยงานจัดทำแผนอัคคภี ยั
4. บคุ ลากรได้รับการซ้อมแผนอัคคภี ัยเพอื่ บรรเทาความเสียหาย

แนวทาง
1. จัดแบง่ พน้ื ทีใ่ นเกบ็ วตั ถุไวไฟ พร้อมเคร่อื งหมายใหเ้ จา้ หนา้ รกั ษาความปลอดภยั เพ่ิมความถ่ีใน

การตรวจพืน้ ที่ ทเี่ สีย่ ง
2. จดั อบรมใหบ้ ุคลากรมีความรู้ถงึ สาเหตขุ องอคั คภี ัยและการเข้าดับเพลงิ เบ้ืองต้น
3. หน่วยงานมกี ารตรวจสอบอุปกรณ์ เช่น ถงั ดับเพลงิ เดือนละ 1 คร้ัง
4. จัดระบบการตรวจสอบอุปกรณ์จากศูนย์ช่างทุก 3 เดอื นและรายงานผล
5. ทกุ หน่วยงานมแี ผนรองรับกรณีเกิดอัคคีภัย
6. ซอ้ มแผนอย่างน้อยปลี ะ 1 คร้ัง เพื่อค้นหาข้อบกพร่องและแก้ไข
7. ประเมินระบบเตือนภยั อยา่ งน้อย ปีละ 1 คร้ัง


Click to View FlipBook Version