บนั ทึกขอ้ ความ
สว่ นราชการ โรงเรยี นบา้ นปากคลองโรงนาค อาเภอเมอื ง จังหวัดชลบุรี
ท่ี ๓/๒๕๖๓ วนั ท่ี ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓
เรอื่ ง รายงานการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เดนิ หนา้ และพัฒนาการอ่าน
ออกเขยี นได้” ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔
............................................................................................................................. ....................................................................................
เรยี น ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค
ตามหนังสือ/ บันทึกข้อความ/ คาส่ัง ท่ี ศธ ๐๔๐๓๔/ ๗๑ ลงวันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๖๓ มอบหมายให้ข้าพเจ้า
นางสาวปาจรีย์ สนทิ รกั ษา รายงานการดาเนนิ งานพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เดินหน้า
และพัฒนาการอ่านออกเขียนได้” ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ประกอบไปด้วย กิจกรรมตา่ ง ๆ ดงั น้ี
๑) กจิ กรรมพัฒนาความสามารถดา้ นการอ่านออกเขยี นได้ การอ่านคลอ่ ง เขียนคล่อง
๒) กจิ กรรมพฒั นาความสามารถด้านอ่านเขยี นเพ่ือพัฒนาความเขา้ ใจ เลือกคา นาไปใช้
๓) กจิ กรรมพฒั นาความสามารถด้านการอ่านเขียนเพ่อื พฒั นาความสามารถดา้ นวิเคราะห์ อา่ น ดู คดิ พินิจได้
๔) การประเมินเพ่ือพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล ประเมนิ การอา่ นออกเสยี ง
๕) PLC เพอ่ื พฒั นาการอ่านออกเขียนได้
๖) Best Practice ฝึกฝนการอา่ นจากนิทาน
บดั นี้ การปฏิบัติหน้าทท่ี ไี่ ดร้ บั มอบหมายได้เสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ข้าพเจา้ ขอรายงานผลการดาเนินงาน ดงั เอกสาร
ทแี่ นบมาพรอ้ มกันนี้
จงึ เรยี นมาเพอื่ โปรดทราบ และพจิ ารณาดาเนินการตอ่ ไป
ลงช่อื ......................................................... ผูร้ ายงาน
( นางสาวปาจรีย์ สนทิ รกั ษา )
ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค
ความคดิ เหน็ ของผูอ้ านวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………...……………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….….......................................
………………………………………………………………………………………………………………………………….….......................................
ลงชือ่ .........................................................
( นางสาวบุญเอ้ือ เอยี่ มรัตน์ )
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค
คานา
รายงานการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เดินหน้าและพัฒนาการอ่าน
ออกเขียนได้” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้าน
การอ่านออกเขียนได้ “การอ่านคล่อง เขียนคล่อง” กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้านอ่านเขียนเพ่ือพัฒนา
ความเข้าใจ “เลือกคา นาไปใช้” กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเขียนเพ่ือพัฒนาความสามารถด้าน
วิเคราะห์ “อ่าน ดู คิด พินิจได้” การประเมินเพ่ือพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล “ประเมินการอ่านออกเสียง”
กิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ และผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ Best Practice “ฝึกฝนการอ่านจาก
นิทาน”
ผู้จัดทาขอขอบคุณ นางสาวบุญเอื้อ เอี่ยมรัตน์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาคที่ให้คาปรึกษา
แนะนาในการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เดินหน้าและพัฒนาการอ่าน
ออกเขียนได้” และขอขอบคุณคณะครูชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่ช่วยขับเคล่ือนแนวคิด เทคนิค ส่ือ วิธีการ
ตา่ ง ๆ ในการพัฒนาความสามารถในการอา่ นและเขียนของผเู้ รยี น หวังว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รียนตอ่ ไป
นางสาวปาจรีย์ สนทิ รกั ษา
ผจู้ ัดทา
สารบัญ หนา้
การดาเนินงานพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ๑
- กิจกรรมพฒั นาความสามารถด้านการอา่ นออกเขียนได้ ๖
- กจิ กรรมพัฒนาความสามารถด้านอา่ นเขยี นเพ่ือพฒั นาความเขา้ ใจ ๑๑
- กจิ กรรมพัฒนาความสามารถด้านการอา่ นเขียนเพื่อพัฒนาความสามารถดา้ นวเิ คราะห์ ๑๕
- การประเมนิ เพ่ือพฒั นานักเรียนเป็นรายบุคคล ๒๒
- กจิ กรรม PLC เพ่ือพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ ๓๓
- ผลการปฏบิ ัติท่เี ปน็ เลิศ Best Practice
การรายงานการดาเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขียนได้”
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔ (พฒั นาความสามารถด้านการอ่านออกเขยี นได้)
๑. ชื่อกิจกรรม “การอ่านคล่อง เขียนคล่อง”
๒. วิธีการดาเนินงาน
๒.๑ ครูอภิปรายเกี่ยวกบั หลกั ในการประสมคา ดว้ ยสระต่างๆวา่ ประสมสระใดบา้ ง
๒.๒ ครูอธิบายเกี่ยวกบั การประสมคาดว้ ยสระต่างๆโดยใชส้ ่ือวดี ีทศั นจ์ ากYouTubeเพอ่ื ช่วยให้
นกั เรียนมีความเขา้ ใจเพมิ่ มากข้นึ
๒.๓ ครูใชว้ ธิ ีการเพอ่ื นช่วยเพอ่ื นซ่ึงเป็ นวิธีการทม่ี ุ่งใหน้ กั เรียนเกิดแรงจูงใจตอ่ การเรียนมากข้นึ
โดยใหน้ กั เรียนแต่ละคนผลดั กนั เป็นผนู้ าในการนาอ่านบตั รคา
๒.๔ ใหน้ กั เรียนทาแบบประเมินและอ่านสะกดคา
๒.๕ ครูและนกั เรียนช่วยกนั อภปิ รายสรุปเก่ียวกบั การประสมคาทม่ี ีสระตา่ งๆท้งั ทาทีม่ ีตวั สะกด
และไม่มีตวั สะกด
๓. ส่ือ
๓.๑ บตั รคา
๓.๒ ส่ือวดี ีทศั นจ์ าก www.youtube.com
๓.๓ แบบประเมินการอ่านคล่อง เขยี นคล่อง ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔
๔. ผลการดาเนินงาน
๔.๑ ผลทีเ่ กิดตามจดุ ประสงค์
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านการเขยี นของนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๔ ไดร้ บั
การพฒั นาทุกคน และมกี ารพฒั นาไดอ้ ยา่ งครบถว้ น
๔.๒ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านการเขยี นของ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔ มีการ
พฒั นาข้ึน
ตารางแสดงการเปรียบเทยี บระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน
การเขียน การอ่าน
(10คะแนน)
ท่ี ช่ือ-นามสกลุ (10คะแนน) ก่อน หลงั
79
ก่อน หลงั 68
79
1 เด็กหญิงพิมพก์ านต์ เหล่าวงษ์ 67 8 10
68
2 เดก็ ชายจิรัฏฐ์ จุย้ กลิ่น 56 79
68
3 เดก็ ชายปิยากร เอี่ยมละออ 6 7 68
4 เด็กชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ 7 8 8 10
8 10
5 เด็กชายออมสิน บญุ เลิศ 56 9 10
9 10
6 เด็กชายเตชิต เต็มศริ ิ 78 79
68
7 เด็กชายวรี ชน แกว้ ประเสริฐ 5 6 8 10
79
8 เด็กชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ 46 68
79
9 เด็กชายปิยงั กรู ทมุ ชะ 79
135 171
10 เด็กหญิงวรรณรดา สีบญุ ชู 79 7.11 9.00
71.05 90.00
11 เดก็ หญิงอยั ยาวรี ์ เอ่ียมรัศมี 78
12 เดก็ หญิงศุภิสรา ปานผา 8 10
13 เดก็ หญิงศริ า จนั ทร์ก๋ง 8 10
14 เดก็ ชายสมาน วรรณโสภา 6 7
15 เด็กชายพลู พิพฒั น์ พฤทธิพงษ์ 5 7
16 เด็กหญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ิ 7 10
17 เด็กหญิงดลฤทยั วนั ผกั แวน่ 6 8
18 เดก็ ชายวทิ ยา พรมเทศ 57
19 เดก็ ชายพชระ ณุวงษศ์ รี 67
20 เดก็ หญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ 6 7
รวม 116 143
เฉลยี่ 6.11 7.53
ร้อยละ 61.05 75.26
กจิ กรรม “การอ่านคล่อง เขยี นคล่อง”
รูปภาพกจิ กรรม
ผลงานนักเรียน
ก่อนเรียน
หลงั เรียน
ส่ือการสอนวดี ที ศั น์จากYouTube
การรายงานการดาเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขียนได้”
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๔ (พฒั นาความสามารถด้านการอ่านเขยี นเพ่อื พฒั นาความเข้าใจ)
๑. ช่ือกจิ กรรม “เลือกคา นาไปใช”้
๒. วธิ ีการดาเนินงาน
๒.๑ ครูใหน้ กั เรียนทาแบบประเมินความสามารถดา้ นการอ่านเขียนเพอื่ พฒั นาความเขา้ ใจ
๒.๒ ครูสร้างสถานการณ์ใหเ้ กิดความสนใจ ดว้ ยการยกแถบประโยคหรือเขียนประโยคบน
กระดานใหน้ กั เรียนฟังหรืออ่าน แลว้ แสดงความคดิ เห็น วพิ ากษว์ ิจารณ์ส่วนประกอบของประโยค
๒.๓ ครูแบง่ นกั เรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม นาคาหรือบตั รคาทีค่ รูคดั เลือกมาใหแ้ ต่ละกลุ่มฝึกแต่ง
ประโยคปากเปล่า กลุ่มละ ๑๐ ประโยค
๒.๔ นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรับใบความรู้เรื่องการแตง่ ประโยค จากน้นั อ่านและทาความเขา้ ใจให้
ตรงกนั เพอ่ื จะไดป้ ระกอบกิจกรรมไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตอ่ ไป
๒.๕ หลงั จากน้นั ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคนทาแบบประเมินความสามารถดา้ นการอ่านเขยี นเพอื่ พฒั นา
ความเขา้ ใจ และนาผลท่ไี ดไ้ ปใชเ้ ปรียบเทียบกบั ก่อนเรียน
๓. สื่อ
๓.๑ แถบประโยค
๓.๒ ใบความรู้เร่ือง การแต่งประโยค
๓.๓ แบบประเมินความสามารถดา้ นการอ่านเขยี นเพอื่ พฒั นาความเขา้ ใจ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปี
ที่ ๔
๔. ผลการดาเนินงาน
๔.๑ ผลท่เี กิดตามจดุ ประสงค์
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านเขยี นเพอ่ื พฒั นาความเขา้ ใจ ของนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี
๔ ไดร้ ับการพฒั นาทุกคน และมกี ารพฒั นาไดอ้ ยา่ งครบถว้ น
๔.๒ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านเขยี นเพอื่ พฒั นาความเขา้ ใจ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ ๔ มี
การพฒั นาข้นึ
ตารางแสดงการเปรียบเทยี บระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน
ท่ี ช่ือ-นามสกลุ ความเข้าใจ (10คะแนน)
กอ่ น หลัง
1 เดก็ หญงิ พมิ พ์กานต์ เหลา่ วงษ์ 56
45
2 เด็กชายจิรัฏฐ์ จุ้ยกลน่ิ 56
56
3 เดก็ ชายปิยากร เอย่ี มละออ 46
67
4 เด็กชายธันวา คุ้มทองอินทร์ 56
45
5 เดก็ ชายออมสิน บุญเลศิ
79
6 เดก็ ชายเตชิต เต็มศริ ิ 79
89
7 เดก็ ชายวีรชน แกว้ ประเสรฐิ 79
56
8 เด็กชายอภศิ กั ดิ์ อนจุ ันทร์ 56
69
9 เดก็ ชายปิยงั กรู ทมุ ชะ 67
67
10 เดก็ หญิงวรรณรดา สบี ญุ ชู 67
67
11 เด็กหญิงอัยยาวีร์ เอย่ี มรัศมี 107 132
5.63 6.95
12 เดก็ หญงิ ศภุ ิสรา ปานผา 56.32 69.47
13 เด็กหญิงศิรา จนั ทรก์ ๋ง
14 เดก็ ชายสมาน วรรณโสภา
15 เดก็ ชายพูลพิพฒั น์ พฤทธพิ งษ์
16 เดก็ หญงิ เพชรลดา ตึกโพธ์ิ
17 เด็กหญิงดลฤทยั วันผกั แวน่
18 เด็กชายวิทยา พรมเทศ
19 เด็กชายพชระ ณวุ งษ์ศรี
20 เด็กหญงิ พรนชั ชา เทศสวสั ดิ์
รวม
เฉลี่ย
ร้อยละ
กจิ กรรม “เลือกคา นาไปใช้”
ภาพกจิ กรรม
ผลงานนักเรียน
ก่อนเรียน
หลงั เรียน
การรายงานการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้”
ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๔ (พฒั นาความสามารถด้านการอ่านเขยี นเพ่อื พฒั นาความ สามารถใน
การคดิ วเิ คราะห์)
๑. ชื่อกจิ กรรม “อ่าน ดู คิด พนิ ิจได”้
๒. วิธีการดาเนินงาน
๒.๑ ครูใหน้ กั เรียนทาแบบประเมินความสามารถดา้ นการอ่านเขยี นเพอ่ื พฒั นาความสามารถในการ
คิดวเิ คราะห์เพอ่ื นาผลท่ไี ดไ้ ปใชเ้ ปรียบเทียบกบั หลงั เรียน
๒.๒ ครูใหน้ กั เรียนอ่านนิทานหรือเรื่องส้นั จากหนงั สือหรือส่ือวดี ีทศั น์ แลว้ ต้งั คาถามใหน้ กั เรียน
ช่วยกนั วเิ คราะหแ์ ละตอบคาถาม
๒.๓ ครูใหน้ กั เรียนทาแบบประเมินความสามารถดา้ นการอ่านเขียนเพอ่ื พฒั นาความสามารถในการ
คิดวเิ คราะห์หลงั เรียน แลว้ นาผลทไ่ี ดไ้ ปเปรียบเทียบกบั ก่อนเรียนวา่ มีการพฒั นาข้ึนหรือไม่
๓. ส่ือ
๓.๑ หนงั สือนิทาน เร่ืองส้นั
๓.๒ สื่อวดี ีทศั น์การ์ตนู เร่ืองส้นั
๓.๓ แบบประเมินการอ่านเขียนเพอ่ื พฒั นาความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา
ปี ท่ี ๔
๔. ผลการดาเนินงาน
๔.๑ ผลทเ่ี กิดตามจดุ ประสงค์
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านเขยี นเพอื่ พฒั นาความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ของ
นกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔ ไดร้ บั การพฒั นาทุกคน และมีการพฒั นาไดอ้ ยา่ งครบถว้ น
๔.๒ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่านเขียนเพอ่ื พฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ของ
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่ ๔ มีการพฒั นาข้ึน โดยมีคะแนนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนร้อยละ ๒๑.๐๖
ตารางแสดงการเปรียบเทยี บระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียน
ที่ ชื่อ-นามสกลุ การวเิ คราะห์
(10คะแนน)
1 เด็กหญิงพิมพก์ านต์ เหล่าวงษ์ ก่อน หลงั
2 เดก็ ชายจิรัฏฐ์ จุย้ กล่ิน 48
3 เด็กชายปิยากร เอ่ียมละออ 57
4 เด็กชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ 57
5 เด็กชายออมสิน บญุ เลิศ 57
6 เดก็ ชายเตชิต เตม็ ศิริ 46
7 เดก็ ชายวรี ชน แกว้ ประเสริฐ 57
8 เด็กชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ 57
9 เด็กชายปิยงั กรู ทมุ ชะ 46
10 เดก็ หญิงวรรณรดา สีบญุ ชู
11 เด็กหญิงอยั ยาวรี ์ เอี่ยมรัศมี 69
12 เด็กหญิงศภุ ิสรา ปานผา 68
13 เดก็ หญิงศริ า จนั ทร์ก๋ง 68
14 เดก็ ชายสมาน วรรณโสภา 68
15 เดก็ ชายพูลพิพฒั น์ พฤทธิพงษ์ 57
16 เด็กหญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ ิ 46
17 เดก็ หญิงดลฤทยั วนั ผกั แวน่ 69
18 เดก็ ชายวิทยา พรมเทศ 68
19 เด็กชายพชระ ณุวงษศ์ รี 57
20 เด็กหญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ 57
57
รวม 97 139
5.11 7.32
เฉลย่ี 51.05 72.11
ร้อยละ
กจิ กรรม “อ่าน ดู คดิ พนิ ิจได้”
รูปภาพกจิ กรรม
ผลงานนักเรียน
ก่อนเรียน
หลงั เรียน
การรายงานการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้”
การประเมนิ เพื่อพฒั นานักเรียนเป็ นรายบุคคล ระดบั ประถมศึกษา
แบบประเมนิ การอ่านออกเสียง(ก่อนฝึ ก)
ชื่อ-นามสกลุ ความถูกต้องในการ นา้ เสียง การเว้น คุณลกั ษณะ รวม
อ่าน วรรคตอน ( มคี วามมน่ั ใจในการใช้
๑๐
ภาษา ) ๗
๕
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๕
๕.๕
เดก็ หญิงพิมพก์ านต์ เหล่าวงษ์ ๕
๗.๕
เดก็ ชายจิรัฏฐ์ จุย้ กลิ่น ๕
๓
เดก็ ชายปิยากร เอ่ียมละออ ย้าย๒๔ม.ค.๖๓
๙
เด็กชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ ๘
๑๐
เด็กชายออมสิน บุญเลิศ ๘
๕.๕
เด็กชายเตชิต เตม็ ศิริ ๔.๕
๑๐
เด็กชายวีรชน แกว้ ประเสริฐ ๗.๕
๕.๕
เด็กชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ ๕.๕
๗.๕
เดก็ ชายปิยงั กรู ทมุ ชะ
เดก็ หญิงวรรณรดา สีบุญชู
เดก็ หญิงอยั ยาวีร์ เอี่ยมรัศมี
เดก็ หญิงศุภิสรา ปานผา
เด็กหญิงศิรา จนั ทร์ก๋ง
เด็กชายสมาน วรรณโสภา
เด็กชายพลู พพิ ฒั น์ พฤทธิพงษ์
เด็กหญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ ิ
เดก็ หญิงดลฤทยั วนั ผกั แว่น
เดก็ ชายวทิ ยา พรมเทศ
เด็กชายพชระ ณุวงษศ์ รี
เดก็ หญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ
แบบประเมนิ การอ่านออกเสียง(หลงั ฝึ ก)
ชื่อ-นามสกลุ ความถูกต้องในการ นา้ เสียง การเว้น คุณลกั ษณะ รวม
อ่าน วรรคตอน ( มคี วามมนั่ ใจในการใช้
๑๐
ภาษา ) ๘
๖
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๖.๕
๖.๕
เด็กหญิงพมิ พก์ านต์ เหล่าวงษ์ ๕.๕
๙
เดก็ ชายจิรัฏฐ์ จุย้ กล่ิน ๖
๔.๕
เด็กชายปิยากร เอ่ียมละออ ย้าย๒๔ม.ค.๖๓
๑๐
เด็กชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ ๙
๑๐
เดก็ ชายออมสิน บุญเลิศ ๙
๖
เดก็ ชายเตชิต เตม็ ศิริ ๕.๕
๑๐
เดก็ ชายวรี ชน แกว้ ประเสริฐ ๘.๕
๖.๕
เดก็ ชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ ๖.๕
เด็กชายปิยงั กูร ทมุ ชะ ๘.๕
เด็กหญิงวรรณรดา สีบุญชู
เด็กหญิงอยั ยาวีร์ เอี่ยมรัศมี
เดก็ หญิงศุภิสรา ปานผา
เดก็ หญิงศิรา จนั ทร์ก๋ง
เด็กชายสมาน วรรณโสภา
เดก็ ชายพลู พิพฒั น์ พฤทธิพงษ์
เดก็ หญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ ิ
เด็กหญิงดลฤทยั วนั ผกั แวน่
เดก็ ชายวิทยา พรมเทศ
เด็กชายพชระ ณุวงษศ์ รี
เดก็ หญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ
สรุปผล คะแนนรวม เฉลย่ี ร้อยละ
การทดสอบ ๗๒ ๗.๒ ๗๒.๐๐
ก่อนเรียน ๗๙.๕ ๗.๙๕ ๗๙.๗๕
หลงั เรียน ผลตา่ ง +๙.๗๕
หัวข้อและเกณฑ์การประเมิน
๑. ความถูกต้องในการอ่าน คะแนนมี ๔ ระดบั ( ๔ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๔ หมายความวา่ สามารถอ่านไดถ้ กู ตอ้ งท้งั หมด
ระดบั คะแนน ๓ หมายความวา่ สามารถอ่านไดเ้ กือบถูกตอ้ งท้งั หมด ผดิ ไม่เกิน ๓ คาํ
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ สามารถอ่านได้ ผดิ ไม่เกิน ๑๐ คาํ
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ พยายามอ่านไดบ้ า้ ง ผดิ มากวา่ ๑๐ คาํ
๒. น้าเสียง การเว้นวรรคตอน คะแนนมี ๔ ระดับ ( ๔ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๔ หมายความวา่ สามารถอ่านไดช้ ดั เจน สื่อความรู้สึกของเรื่องที่อ่านไดด้ ี
ระดบั คะแนน ๓ หมายความวา่ สามารถอ่านไดช้ ดั เจน สื่อความรู้สึกของเร่ืองท่อี ่านได้
พอใช้
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ สามารถอ่านไดค้ อ่ นขา้ งชดั เจน แต่คอ่ นขา้ งชา้ ยงั ส่ือ
ความรูส้ ึกของเรื่องไดไ้ ม่ชดั เจน
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ พยายามอ่านไดบ้ า้ ง น้าํ เสียงเบา ไม่ชดั เจน ไม่สามารถ
ส่ือความรูส้ ึกของเร่ืองไดช้ ดั เจน
๓. คณุ ลกั ษณะ ( มคี วามม่นั ใจในการใช้ภาษา ) คะแนน มี ๔ ระดับ ( ๒ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ มีความมน่ั ใจในการอ่านดี มกี ารเตรียมตวั มาอยา่ งดี
มน่ั ใจตนเอง
ระดบั คะแนน ๑.๕ หมายความวา่ มีความมน่ั ใจในการอ่านพอใช้ เตรียมตวั มาอยา่ งดี ยงั
ประหม่า
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ ยงั ไม่คอ่ ยมีความมนั่ ใจเท่าที่ควร มีการเตรียมตวั มา
พอใช้
ระดบั คะแนน ๐.๕ หมายความวา่ ขาดความมน่ั ใจในตนเอง เตรียมตวั มาบา้ งแต่ไม่มากนกั
นิทานพนื้ บ้านเรื่อง หมาป่ ากบั ลกู แกะ
วนั หน่ึงลูกแกะนอ้ ยกาํ ลงั เดินอยา่ งเพลิดเพลิน/มนั เดินไปเรื่อยๆ จนมาถึงลาํ ธารแห่งหน่ึง
“แหมวนั น้ีอากาศดีจริงๆเลย/แอบหนีแม่มาเดินเล่น/ป่ านน้ีแม่คงจะตามหาแกะนอ้ ยใหญ่
แลว้ หละ/เดี๋ยวค่อยกลบั บา้ นเยน็ ๆ ก็แลว้ กนั /แต่ตอนน้ีหิวน้าํ จงั เลย”
ขณะทเ่ี จา้ แกะนอ้ ยกาํ ลงั กม้ กินน้าํ อยนู่ ้นั /บงั เอิญมีหมาป่ าตวั หน่ึงเดินเขา้ มาเจอพอดี/เจา้
หมาป่ านิสัยไม่ดีและมนั กาํ ลงั หิวมากซะดว้ ยสิ/พอมนั เห็นลูกแกะตวั เลก็ ๆเขา้ /กอ็ ยากจะจบั ลูก
แกะกินเป็นอาหาร/มนั จึงคิดอุบาย
“นี่เจา้ แกะนอ้ ยเจา้ มีความผดิ มากเลยรู้หรือเปล่า”
“คุณหมาป่ า ขา้ ผดิ เรื่องอะไรเหรอ/แกะนอ้ ยกก็ ินน้าํ อยดู่ ีๆ/ยงั ไม่ไดท้ าํ อะไรทา่ นเลย”
“กเ็ จา้ กินน้าํ อย/ู่ และขา้ ก็กินน้าํ อยตู่ รงน้ี/เจา้ ทาํ ใหน้ ้าํ ในลาํ ธารขุ่นขน้ ไปหมด/ขา้ ด่ืมเขา้ ไป
ไม่ได/้ ดงั น้นั เจา้ ตอ้ งถูกลงโทษ”
“แต่วา่ คุณหมาป่ าดูดีๆ ก่อนสิ/ท่านนะกินน้าํ ทต่ี น้ น้าํ นะ/และอยา่ งน้ีแกะนอ้ ยจะทาํ น้าํ ขุ่น
ขน้ ไดย้ งั ไง”
“ขา้ บอกวา่ เจา้ ผดิ /เจา้ ก็ตอ้ งผดิ ”
“ฉนั ไม่ผดิ จะใหย้ อมรับผดิ ไดย้ งั ไง/คุณหมาป่ าไม่มีเหตุผลเอาซะเลย”
เจา้ หมาป่ าโกรธจดั จึงหาอบุ ายอน่ื อกี
“เม่ือปี กลายเจา้ เป็นผนู้ ินทากล่าวร้ายขา้ เอาไว/้ เจา้ เป็นผมู้ ีความผดิ ตอ้ งถูกลงโทษ”
“ฉนั ไปกล่าวร้ายท่านไดย้ งั ไง/ขา้ เพิ่งเกิดมาเม่ือก่ีเดือนน้ีเอง”
“ง้นั คงจะเป็นพเี่ จา้ /มาใหข้ า้ กินซะดีๆ”
“คุณหมาป่ าคงจาํ ผดิ แลว้ /ขา้ เป็นลูกคนเดียวไม่มีพี่นอ้ ง”
“ขา้ ไม่สนใจ/และแต่ตอนน้ีขา้ หิวจนตาลายไปหมดแลว้ /เจา้ ตอ้ งตกเป็นอาหารของขา้ ”
วา่ แลว้ เจา้ หมาป่ าอนั ธพาลกก็ ระโจนใส่แกะนอ้ ยเพอ่ื จบั กินเป็ นอาหาร/เจา้ แกะนอ้ ยว่ิงหนี
และร้องเรียกแม่ลนั่ ป่ า/ทนั ใดน้นั สิงโตเจา้ ป่ าก็กระโดดมาบงั แกะนอ้ ยไว้
“หยดุ เด๋ียวน้ีนะเจา้ หมาป่ า/อยา่ ทาํ แกะนอ้ ยไม่มีทางสู้ตวั น้ีนะ/ถา้ เจา้ หมาป่ าไม่ยอมไป/ขา้
สิงโตน้ีแหละจะจบั เจา้ กินเอง”
เจา้ หมาป่ ากลวั จึงจากไป/ฝ่ ายเจา้ แกะนอ้ ยกร็ ้องไหไ้ ม่หยดุ
“เงียบไดแ้ ลว้ /เจา้ หมาป่ ามนั ว่งิ หนีไปแลว้ /เจา้ ปลอดภยั แลว้ หละ/ขา้ ไม่เคยเห็นเจา้ มาก่อน/
บา้ นเจา้ อยทู่ ไี่ หน”
“แกะนอ้ ยหนีแม่ออกมาเดินเล่น/แกะนอ้ ยจะไม่หนีไปเท่ียวอกี แลว้ /ขอบคุณท่านมาก”
และแลว้ สิงโตพาแกะนอ้ ยไปส่งทบี่ า้ น/หลงั จากน้นั แกะนอ้ ยไม่หนีออกไปไหนไกลๆ
อกี เลย/และมนั ก็จะขออนุญาตผใู้ หญ่ทกุ คร้ังก่อนออกนอกบา้ นเสมอ
ภาพกจิ กรรม
แบบรายงาน PLC
ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี เพอื่ พัฒนาการอ่านออกเขียนได้
ชื่อผ้รู ายงาน โรงเรียนบ้านปากคลองโรงนาค ตาบลอา่ งศิลา อาเภอเมอื งชลบรุ ี จังหวดั ชลบุรี
สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต ๑
๑. ช่ือชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ
ชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี เพื่อพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading
๒. จานวนสมาชิกของชุมชนฯ
ท่ี ชอ่ื -สกุล ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
๑ นางสาวบญุ เอ้อื เอีย่ มรัตน์ ประธาน
๒ นางธดิ ารตั น์ ซ่อื สุวรรณ สมาชกิ
๓ นางดลใจ โชตะนา สมาชกิ
๔ นางสาวจฑุ ามาศ จันทนา สมาชกิ
๕ นางสาวสุพิชฌาย์ ใบยา สมาชิก
๖ นางจรญิ ญา คาเทศ สมาชิก
๗ นายราเมศ อนิ ทรห์ า สมาชกิ
๘ นางสาวปาจรยี ์ สนทิ รักษา สมาชิก
๙ นายบณั ฑติ ศรีทัศน์ สมาชกิ
๓. ข้อตกลงของชมุ ชนฯ
๓.๑ สมาชกิ ทกุ คนต้องวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล “คัดกรองนักเรียน หม่ันเพียรซ่อมเสริม” ออกเปน็ ๓ กลุ่ม
คือ ๑ กลมุ่ ทอ่ี ่านไม่ออก เขยี นไมไ่ ด้ ๒) กลุม่ ท่ียงั คงตอ้ งการการปรับปรงุ และ ๓) กลุม่ ทม่ี ที กั ษะการอ่าน-เขียนเป็นทีพ่ อใจแล้ว
โดยอาจจะใชแ้ บบคัดกรอง/ ขอ้ สอบมาตรฐานกลางของสถาบนั ภาษาไทย สานักมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร หรอื แบบคัดกรอง/ ขอ้ สอบทสี่ ร้างขึ้นเองก็ได้
๓.๒ สมาชิกต้องมีการ “แลกเปลี่ยน แบ่งปัน ขยันทาส่ือ” คือร่วมกันพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น บัตรคา
บตั รภาพ สอื่ นิทาน ชุดฝกึ เกม ฯลฯ โดยสารวจและรวบรวมสอ่ื นวัตกรรมดงั กล่าว มารวมไว้ จัดทาเป็นฐานข้อมูลเพื่อเตรียม
ใหค้ รูเลือกใชไ้ ด้สะดวกต่อไป
๓.๓ เปดิ โอกาสให้สมาชิก “อสิ ระในแนวทาง ไม่ตา่ งเปา้ หมาย ทา้ ทายความสาเร็จ” โดยแต่ละชั้นใหด้ าเนินการ
แกไ้ ขปัญหาอา่ นไม่ออก เขียนไม่ได้ด้วยกระบวนการทตี่ นเองคิดวา่ ทาแลว้ ได้ผลและเหมาะสมกบั นักเรียน กล่าวคอื ให้มอี ิสระ
ในการแกป้ ัญหา และเปิดโอกาสใหส้ มาชิกทุกคนแสดงความคิดเหน็ รว่ มกันอย่างอิสระภายใตเ้ หตแุ ละผลและจดุ มุ่งหมายในการ
ทางานร่วมกัน เพียงตกลงกนั ว่า เพ่ือร่วมกนั ในการพฒั นาคุณภาพนักเรยี น ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ ให้เกิด
ประโยชนแ์ ก่นักเรยี น
๓.๔ สมาชิกทุกคนต้อง "เปิดใจ เปิดสมอง เปิดห้อง สามัคคี" ในท่ีนี้ หมายถึง การจัดให้มีกระบวนการ "เยี่ยม
ห้องเรียน" โดยในห้องเรียนทุกห้องต้องมี "มุมแสดงผลงานนักเรียน" เพ่ือร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้ เปิดใจรับการนิเทศ
ช้นั เรียนและประเมินแบบกลั ยาณมิตรจากสมาชกิ ในชุมชนทกุ คน
๔. ภารกจิ สถานที่ และเวลาปฏบิ ตั ิการ
๔.๑ ภารกิจของชุมชนฯ
พัฒนานกั เรยี นให้อา่ นออกเขยี นได้ด้วยกระบวนการ Active Reading
๔.๒ สถานท่ปี ฏิบัตกิ าร โรงเรียนบา้ นปากคลองโรงนาค
๔.๓ เวลาปฏิบตั ิการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๓)
๕. กระบวนการขับเคล่ือนชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (PLC)
ขัน้ ท่ี ๑ กาหนดเป้าหมายการพัฒนา
- นักเรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ สามารถอ่านออกเขียนไดต้ ามเกณฑ์
ขัน้ ที่ ๒ กาหนดกลยุทธ์การจดั การเรียนรู้
- สมาชกิ ศกึ ษารูปแบบกิจกรรมการพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading และ
นาไปใช้
- สมาชิกจดั ทาสื่อ/ นวัตกรรม รปู แบบกิจกรรมการอา่ นออกเขยี นได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading
และนาไปใช้
ขน้ั ที่ ๓ ขนั้ สะท้อนความคดิ เพอ่ื พฒั นากลยุทธก์ ารจัดการเรยี นรู้
- รปู แบบกิจกรรมการอ่านออกเขียนได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading เป็นการเรียนรู้ท่ีนกั เรยี นได้ลงมอื
ปฏิบัตแิ ละไดใ้ ช้กระบวนการฟัง พูด อา่ น เขยี น และคิดเก่ยี วกับส่งิ ทเี่ ขาไดก้ ระทาลงไป แต่ละคนมีแนวทางในการเรยี นรทู้ ี่
แตกต่างกัน โดยนกั เรียนจะถกู เปล่ยี นบทบาทจากผู้รบั ความร้ไู ปสู่การมีส่วนรว่ มในการสร้างความรู้
ขน้ั ท่ี ๔ ข้ันนาแผนสกู่ ารปฏิบตั พิ ร้อมสังเกตการสอน
- สมาชกิ นารปู แบบกิจกรรมการอา่ นออกเขียนได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading ไปใช้ ร่วมสังเกตการ
สอนพร้อมบันทกึ การปฏบิ ัตจิ รงิ โดยส่งิ ที่บันทึกการสังเกตการสอน ประกอบด้วย
๑) ขอ้ มูลพืน้ ฐานการอา่ นของนกั เรียนรายบุคคล ส่ืออุปกรณท์ ี่ใชป้ ระกอบการสอนอ่าน-เขียน
๒) บรรยากาศการจัดการเรียนรู้ และการแสดงพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องนักเรียนเปน็ อยา่ งไร
๓) นักเรยี นบรรลตุ ามจดุ ประสงค์ หรือไม่บรรลตุ ามจุดประสงค์ ครูดาเนนิ การอยา่ งไร
๔) หลกั ฐานที่แสดงว่านกั เรียนบรรลุหรือไม่บรรลตุ ามจุดประสงค์
๕) การจัดกระบวนการเรียนรู้ จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา ควรปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร
ตวั อยา่ งกิจกรรม Active Reading ทีช่ ุมชนนามาใช้
๑. กิจกรรมภาษาไทยวนั ละคา
๒. กจิ กรรมอา่ นเขียนบัญชีคาพ้นื ฐาน
๓. กิจกรรมบันทึกรักการอา่ น
๔. กิจกรรมเขียนสรา้ งสรรค์ ; เขียนย่อความ ; เขียนสรปุ ความ ; เขียนเรอ่ื งจากภาพ ; เขียนเรยี งความ
๕. กิจกรรมเรียนปนเลน่ ; เกมการศกึ ษา ;เพลงมหาสนุก
๖. กจิ กรรม Read pair share เพอื่ นคอู่ ่าน
๗. กจิ กรรมเขยี นอ่านเขา้ ใจใช้ Cornell note, Concept Map
๘. กิจกรรม E.Q GO Active Reading
๙. กจิ กรรมบทบาทสมมติ
๑๐.กิจกรรมบรู ณาการกับสาระอื่น ๆ
ขัน้ ที่ ๕ ขนั้ สะท้อนความคดิ ตอ่ ผลการปฏบิ ัติ เพ่อื การพฒั นา
- ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจวิธีการสอนอ่านออกเขียนได้ด้วยกระบวนการ Active Reading รูปแบบการ
จัดกิจกรรมที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนที่จาแนกเป็นรายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเก่ง ปานกลาง และกลุ่มที่ต้องได้รับการ
ชว่ ยเหลอื เป็นพเิ ศษ รวมทง้ั ครผู ู้สอนรบู้ ทบาทของตนในการจัดกจิ กรรม นักเรยี นไดฝ้ ึกอ่านและเขยี นจากการปฏิบัติจริง สนใจ
การเรยี นรมู้ ากขึ้น และสามารถพัฒนานักเรยี นใหอ้ ่านออกเขียนได้
ขัน้ ที่ ๖ ข้ันนาสูก่ ารวางแผนการจัดการเรยี นรูร้ อบต่อไป
- รปู แบบกจิ กรรมการสอนอ่านออกเขยี นได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading ครูผู้สอนต้องร้บู ทบาทของ
ตน และเลอื กรูปแบบการจดั กจิ กรรมที่หลากหลายใหเ้ หมาะสมกับเนอื้ หา และวัยของนกั เรียน ตลอดจนการเลอื กใช้สื่อมา
ประกอบการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกบั นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล / รายกล่มุ
๖. การสรา้ งเครือขา่ ยและหุ้นสว่ นสนบั สนนุ ภารกจิ ชุมชนฯ
นาความรทู้ ี่ได้ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั เพื่อนครทู ัง้ ภายในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น ประสานความรว่ มมอื กับ
ผ้ปู กครอง ชมุ ชนในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ให้ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาการจดั การเรียนรแู้ ละร่วมแก้ปัญหานักเรียนใหบ้ รรลุ
วตั ถุประสงค์หรอื เปา้ หมายที่กาหนดไวอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพต่อไป
๗. สรปุ ผลการดาเนินงานทเี่ กิดขนึ้ จริง
กิจกรรมการสอนอ่านออกเขียนได้ด้วยกระบวนการ Active Reading ช่วยสร้างบรรยากาศภายในช้ันเรียนน่าสนใจ
มากข้ึน เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรสู้ ูงสุด นักเรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบ
รว่ มกัน การมวี ินัยในการทางาน การแบ่งหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบ เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้นกั เรียนอ่าน พดู ฟงั คดิ
เขียนอย่างลุ่มลึก นักเรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้นักเรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือ
สารสนเทศ และหลักการความคิดรวบยอด ผสู้ อนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้เพอ่ื ให้นกั เรียนเปน็ ผู้ปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ความรู้เกิดจากประสบการณ์การสร้างองค์ความรูแ้ ละการสรุปทบทวนของนักเรียน ดังน้ันจึงควรดาเนนิ การตอ่ ไป
เพือ่ พัฒนานกั เรยี นส่กู ารเปน็ Active Learner
๘. เอกสาร/หลกั ฐาน/ภาพถ่าย อา้ งองิ
กิจกรรม Active Reading ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
กจิ กรรม Active Reading ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒
กจิ กรรม Active Reading ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓
กจิ กรรม Active Reading ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔
กจิ กรรม Active Reading ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕
กจิ กรรม Active Reading ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
ภาพการดาเนนิ งาน
ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี เพื่อพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้ดว้ ยกระบวนการ Active Reading
รายงานการดาเนินงานพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดนิ หน้าและพฒั นาการอ่านออกเขียนได้”
Best Practice (ระดบั ช้ันประถมศึกษา)
๑. ช่ือกิจกรรม “ฝึกฝนการอ่านจากนิทาน”
๒. แนวคดิ / ความเป็ นมา
ในการพฒั นาวชิ าภาษาไทย เป็นการพฒั นาที่เนน้ การสอนเพอื่ พฒั นาในดา้ นทกั ษะ และการฝึก
ประสมคาํ อ่าน สะกดคาํ เป็นพ้นื ฐานในการศึกษาหาความรูเ้ พอ่ื พฒั นาในดา้ นทกั ษะและการฝึกประสมคาํ
อ่านสะกดคาํ เป็นพน้ื ฐานในการศกึ ษาหาความรู้ ในการสอนที่ผา่ นมาพบวา่ นกั เรียนในบางส่วนยงั ขาด
ทกั ษะในดา้ นการอ่าน จงึ ส่งผลมาใหต้ อ้ งมีการปรบั ปรุง แกไ้ ข และตอ้ งมีการพฒั นาในทกั ษะน้ีอยา่ ง
ตอ่ เน่ือง ซ่ึงผสู้ อนจึงมีแนวคิดท่วี า่ หากอยากให้นกั เรียนมีความกระตือรือรน้ ในการฝึกทกั ษะดา้ นการอ่าน
จะตอ้ งเลือกเน้ือเร่ืองที่มีความสนุกและทาํ ใหน้ กั เรียนมีความกระตอื รือรน้ ท่อี ยากจะอ่านและเรียนรู้ จงึ เลือก
นิทานทีน่ อกจากจะมีความสนุกสนานแลว้ ยงั แฝงไปดว้ ยขอ้ คิดตา่ งๆอีกดว้ ย
๓. วตั ถุประสงค์และเป้าหมาย
เพอื่ เป็นการพฒั นาทกั ษะในดา้ นการอ่าน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๔ ดว้ ยวธิ ีการประเมินทเ่ี นน้
ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
๔. กระบวนการและข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
๔.๑ กิจกรรม/วธิ ีการ/ข้นั ตอนทสี่ าํ คญั
๔.๑.๑ ทดสอบการอ่าน การสะกดคาํ ของนกั เรียน
๔.๑.๒ จาํ แนกนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม เก่ง กลาง อ่อน
๔.๑.๓ วางแผนกาํ หนดกิจกรรม (ฝึกอ่านกบั ครู/เพอ่ื นช่วยเพอื่ น)
๔.๑.๔ ดาํ เนินการแกป้ ัญหาและพฒั นาการอ่านภาษาไทย
๔.๑.๕ ประเมินผล
๓.๑.๖ ปรบั ปรุง/แกไ้ ข และพฒั นาตอ่ ไป
๕. สื่อการจัดการเรียนการสอน
๕.๑ นิทานเร่ืองส้นั
๕.๒ แบบประเมินการอ่านออกเสียง
๕. ผลการดาํ เนินงาน
๕.๑ ผลท่ีเกิดตามจุดประสงค์
ความสามารถดา้ นภาษาไทยดา้ นการอ่าน ของนกั เรียนระดบั ช้นั ป.๔มีคะแนนหลงั การฝึกสูง
กวา่ ก่อนการฝึกท่ีรอ้ ยละ๙.๗๕
๕.๒ ประโยชน์ที่ไดร้ บั
ทาํ ใหค้ รูไดท้ ราบวา่ การพฒั นาทกั ษะในดา้ นการอ่าน ดว้ ยวธิ ีการประเมินทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนมีทกั ษะทางดา้ นการอ่านทีด่ ีข้นึ
แบบประเมนิ การอ่านออกเสียง(ก่อนฝึ ก)
ช่ือ-นามสกลุ ความถูกต้องในการ นา้ เสียง การเว้น คณุ ลกั ษณะ รวม
อ่าน วรรคตอน ( มคี วามมน่ั ใจในการใช้
๑๐
ภาษา ) ๗
๕
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๕
๕.๕
เดก็ หญิงพมิ พก์ านต์ เหล่าวงษ์ ๕
๗.๕
เด็กชายจิรัฏฐ์ จุย้ กลิ่น ๕
๓
เด็กชายปิยากร เอี่ยมละออ ยา้ ย๒๔ม.ค.๖๓
๙
เดก็ ชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ ๘
๑๐
เดก็ ชายออมสิน บญุ เลิศ ๘
๕.๕
เดก็ ชายเตชิต เตม็ ศิริ ๔.๕
๑๐
เดก็ ชายวรี ชน แกว้ ประเสริฐ ๗.๕
๕.๕
เดก็ ชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ ๕.๕
๗.๕
เด็กชายปิยงั กูร ทมุ ชะ
เด็กหญิงวรรณรดา สีบญุ ชู
เด็กหญิงอยั ยาวรี ์ เอ่ียมรัศมี
เด็กหญิงศภุ ิสรา ปานผา
เด็กหญิงศริ า จนั ทร์ก๋ง
เด็กชายสมาน วรรณโสภา
เดก็ ชายพูลพพิ ฒั น์ พฤทธิพงษ์
เด็กหญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ ิ
เด็กหญิงดลฤทยั วนั ผกั แวน่
เดก็ ชายวิทยา พรมเทศ
เดก็ ชายพชระ ณุวงษศ์ รี
เด็กหญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ
แบบประเมนิ การอ่านออกเสียง(หลงั ฝึ ก)
ชื่อ-นามสกลุ ความถูกต้องในการ นา้ เสียง การเว้น คุณลกั ษณะ รวม
อ่าน วรรคตอน ( มคี วามมนั่ ใจในการใช้
๑๐
ภาษา ) ๘
๖
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๒ ๑.๕ ๑ ๐.๕ ๖.๕
๖.๕
เด็กหญิงพมิ พก์ านต์ เหล่าวงษ์ ๕.๕
๙
เดก็ ชายจิรัฏฐ์ จุย้ กล่ิน ๖
๔.๕
เด็กชายปิยากร เอ่ียมละออ ยา้ ย๒๔ม.ค.๖๓
๑๐
เด็กชายธนั วา คุม้ ทองอินทร์ ๙
๑๐
เดก็ ชายออมสิน บุญเลิศ ๙
๖
เดก็ ชายเตชิต เตม็ ศิริ ๕.๕
๑๐
เดก็ ชายวรี ชน แกว้ ประเสริฐ ๘.๕
๖.๕
เดก็ ชายอภิศกั ด์ิ อนุจนั ทร์ ๖.๕
เด็กชายปิยงั กูร ทมุ ชะ ๘.๕
เด็กหญิงวรรณรดา สีบุญชู
เด็กหญิงอยั ยาวีร์ เอี่ยมรัศมี
เดก็ หญิงศุภิสรา ปานผา
เดก็ หญิงศิรา จนั ทร์ก๋ง
เด็กชายสมาน วรรณโสภา
เดก็ ชายพลู พิพฒั น์ พฤทธิพงษ์
เดก็ หญิงเพชรลดา ตึกโพธ์ ิ
เด็กหญิงดลฤทยั วนั ผกั แวน่
เดก็ ชายวิทยา พรมเทศ
เด็กชายพชระ ณุวงษศ์ รี
เดก็ หญิงพรนชั ชา เทศสวสั ด์ิ
สรุปผล คะแนนรวม เฉลย่ี ร้อยละ
การทดสอบ ๗๒ ๗.๒ ๗๒.๐๐
ก่อนเรียน ๗๙.๕ ๗.๙๕ ๗๙.๗๕
หลงั เรียน ผลตา่ ง +๙.๗๕
หัวข้อและเกณฑ์การประเมิน
๑. ความถูกต้องในการอ่าน คะแนนมี ๔ ระดบั ( ๔ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๔ หมายความวา่ สามารถอ่านไดถ้ กู ตอ้ งท้งั หมด
ระดบั คะแนน ๓ หมายความวา่ สามารถอ่านไดเ้ กือบถูกตอ้ งท้งั หมด ผดิ ไม่เกิน ๓ คาํ
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ สามารถอ่านได้ ผดิ ไม่เกิน ๑๐ คาํ
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ พยายามอ่านไดบ้ า้ ง ผดิ มากวา่ ๑๐ คาํ
๒. น้าเสียง การเว้นวรรคตอน คะแนนมี ๔ ระดับ ( ๔ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๔ หมายความวา่ สามารถอ่านไดช้ ดั เจน สื่อความรู้สึกของเรื่องที่อ่านไดด้ ี
ระดบั คะแนน ๓ หมายความวา่ สามารถอ่านไดช้ ดั เจน สื่อความรู้สึกของเร่ืองท่อี ่านได้
พอใช้
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ สามารถอ่านไดค้ อ่ นขา้ งชดั เจน แต่คอ่ นขา้ งชา้ ยงั ส่ือ
ความรูส้ ึกของเรื่องไดไ้ ม่ชดั เจน
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ พยายามอ่านไดบ้ า้ ง น้าํ เสียงเบา ไม่ชดั เจน ไม่สามารถ
ส่ือความรูส้ ึกของเร่ืองไดช้ ดั เจน
๓. คณุ ลกั ษณะ ( มคี วามมน่ั ใจในการใช้ภาษา ) คะแนน มี ๔ ระดับ ( ๒ คะแนน )
ระดบั คะแนน ๒ หมายความวา่ มีความมน่ั ใจในการอ่านดี มกี ารเตรียมตวั มาอยา่ งดี
มน่ั ใจตนเอง
ระดบั คะแนน ๑.๕ หมายความวา่ มีความมน่ั ใจในการอ่านพอใช้ เตรียมตวั มาอยา่ งดี ยงั
ประหม่า
ระดบั คะแนน ๑ หมายความวา่ ยงั ไม่คอ่ ยมีความมนั่ ใจเท่าที่ควร มีการเตรียมตวั มา
พอใช้
ระดบั คะแนน ๐.๕ หมายความวา่ ขาดความมน่ั ใจในตนเอง เตรียมตวั มาบา้ งแต่ไม่มากนกั
นทิ านพนื้ บ้านเรื่อง หมาป่ ากบั ลกู แกะ
วนั หน่ึงลูกแกะนอ้ ยกาํ ลงั เดินอยา่ งเพลิดเพลิน/มนั เดินไปเรื่อยๆ จนมาถึงลาํ ธารแห่งหน่ึง
“แหมวนั น้ีอากาศดีจริงๆเลย/แอบหนีแม่มาเดินเล่น/ป่ านน้ีแม่คงจะตามหาแกะนอ้ ยใหญ่
แลว้ หละ/เดี๋ยวค่อยกลบั บา้ นเยน็ ๆ ก็แลว้ กนั /แต่ตอนน้ีหิวน้าํ จงั เลย”
ขณะทเ่ี จา้ แกะนอ้ ยกาํ ลงั กม้ กินน้าํ อยนู่ ้นั /บงั เอิญมีหมาป่ าตวั หน่ึงเดินเขา้ มาเจอพอดี/เจา้
หมาป่ านิสัยไม่ดีและมนั กาํ ลงั หิวมากซะดว้ ยสิ/พอมนั เห็นลูกแกะตวั เลก็ ๆเขา้ /กอ็ ยากจะจบั ลูก
แกะกินเป็นอาหาร/มนั จึงคิดอุบาย
“นี่เจา้ แกะนอ้ ยเจา้ มีความผดิ มากเลยรู้หรือเปล่า”
“คุณหมาป่ า ขา้ ผดิ เร่ืองอะไรเหรอ/แกะนอ้ ยกก็ ินน้าํ อยดู่ ีๆ/ยงั ไม่ไดท้ าํ อะไรทา่ นเลย”
“กเ็ จา้ กินน้าํ อย/ู่ และขา้ กก็ ินน้าํ อยตู่ รงน้ี/เจา้ ทาํ ใหน้ ้าํ ในลาํ ธารขุ่นขน้ ไปหมด/ขา้ ด่ืมเขา้ ไป
ไม่ได/้ ดงั น้นั เจา้ ตอ้ งถูกลงโทษ”
“แต่วา่ คุณหมาป่ าดูดีๆ ก่อนสิ/ท่านนะกินน้าํ ทต่ี น้ น้าํ นะ/และอยา่ งน้ีแกะนอ้ ยจะทาํ น้าํ ขุ่น
ขน้ ไดย้ งั ไง”
“ขา้ บอกวา่ เจา้ ผดิ /เจา้ กต็ อ้ งผดิ ”
“ฉนั ไม่ผดิ จะใหย้ อมรับผดิ ไดย้ งั ไง/คุณหมาป่ าไม่มีเหตุผลเอาซะเลย”
เจา้ หมาป่ าโกรธจดั จึงหาอบุ ายอน่ื อกี
“เม่ือปี กลายเจา้ เป็นผนู้ ินทากล่าวร้ายขา้ เอาไว/้ เจา้ เป็นผมู้ ีความผดิ ตอ้ งถูกลงโทษ”
“ฉนั ไปกล่าวร้ายท่านไดย้ งั ไง/ขา้ เพงิ่ เกิดมาเม่ือก่ีเดือนน้ีเอง”
“ง้นั คงจะเป็นพเี่ จา้ /มาใหข้ า้ กินซะดีๆ”
“คุณหมาป่ าคงจาํ ผดิ แลว้ /ขา้ เป็นลูกคนเดียวไม่มีพี่นอ้ ง”
“ขา้ ไม่สนใจ/และแต่ตอนน้ีขา้ หิวจนตาลายไปหมดแลว้ /เจา้ ตอ้ งตกเป็นอาหารของขา้ ”
วา่ แลว้ เจา้ หมาป่ าอนั ธพาลกก็ ระโจนใส่แกะนอ้ ยเพอ่ื จบั กินเป็ นอาหาร/เจา้ แกะนอ้ ยว่ิงหนี
และร้องเรียกแม่ลนั่ ป่ า/ทนั ใดน้นั สิงโตเจา้ ป่ าก็กระโดดมาบงั แกะนอ้ ยไว้
“หยดุ เด๋ียวน้ีนะเจา้ หมาป่ า/อยา่ ทาํ แกะนอ้ ยไม่มีทางสู้ตวั น้ีนะ/ถา้ เจา้ หมาป่ าไม่ยอมไป/ขา้
สิงโตน้ีแหละจะจบั เจา้ กินเอง”
เจา้ หมาป่ ากลวั จึงจากไป/ฝ่ ายเจา้ แกะนอ้ ยกร็ ้องไหไ้ ม่หยดุ
“เงียบไดแ้ ลว้ /เจา้ หมาป่ ามนั ว่งิ หนีไปแลว้ /เจา้ ปลอดภยั แลว้ หละ/ขา้ ไม่เคยเห็นเจา้ มาก่อน/
บา้ นเจา้ อยทู่ ไ่ี หน”
“แกะนอ้ ยหนีแม่ออกมาเดินเล่น/แกะนอ้ ยจะไม่หนีไปเท่ียวอกี แลว้ /ขอบคุณท่านมาก”
และแลว้ สิงโตพาแกะนอ้ ยไปส่งทีบ่ า้ น/หลงั จากน้นั แกะนอ้ ยไม่หนีออกไปไหนไกลๆ
อกี เลย/และมนั ก็จะขออนุญาตผใู้ หญ่ทกุ คร้งั ก่อนออกนอกบา้ นเสมอ
ภาพกจิ กรรม