The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-15 10:48:47

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรียน

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรียน

¦‚€›p

j›Œ„Œ™¥Š‚m|¡ ŒŒŠk–p…Ô¥¢ Œž‹‚

q‚‚™ ƒ‹™‚ƒ‹ o†¶¹¹»

¦l‹oiš‹’oÒ ¤’‹‰œ i™ ¤‹Š„‰Ó¡ l {  €‹‹‰p‹œŠ€‹‹‰¥˜‚š± ¤†«uƒ‹˜¦ŠrÖ
¤jšÓ iž ‘š}ҕ§’~š‚™• |‰ži‘š¦l‹oiš‹¤|i« |‰¬¤ ‹Š

’𱠁i™ rœ šiš‹¥˜‰š}‹xšiš‹iž ‘š
’±š™iošl{˜i‹‹‰iš‹iš‹iž ‘šj­™ †­Ÿ xš

i‹˜‹oži‘š€œiš‹

โครงการสงเสริมนักเรยี นผูม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และบําเพ็ญประโยชน
เขาศกึ ษาตอ ในสถาบนั อุดมศึกษา (โครงการเด็กดีมีท่เี รยี น)

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แนวทางการประเมนิ คุณธรรมของผเู รียน
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

จาํ นวนพมิ พ ๔,๐๐๐ เลม

ปทพี่ ิมพ พ.ศ. ๒๕๕๗

จดั พมิ พโ ดย สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

พมิ พท ี่ โรงพิมพชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั
๗๙ ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผพู มิ พผูโฆษณา

คาํ นํา

กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการพัฒนาระบบการศึกษา โดยใหความสําคัญ

กับการยกระดับการศึกษาใหมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากล ควบคูไปกับการสงเสริม
การเรียนรูภูมิปญญาทองถ่ิน และปลูกฝงคานิยม คุณธรรม จริยธรรม สรางวินัย
จิตสํานึกความรับผิดชอบตอสังคม การยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ความภาคภูมิใจในความเปนไทย และมีนโยบายหน่ึงในการสรางโอกาสทางการศึกษา
ในสังคมไทยใหเ กิดความเทา เทียมและเปน ธรรม

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดดําเนินการโครงการสงเสริม

นักเรียนผูมีคุณธรรม จริยธรรม และบําเพ็ญประโยชนเขาศึกษาตอในสถาบัน
อุดมศึกษา เรียกโดยยอวา โครงการเด็กดีมีท่ีเรียน เปนโครงการที่สรางและกระจาย
โอกาสทางการศึกษาใหแกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความประพฤติดี
มคี ณุ ธรรม บาํ เพญ็ ประโยชนเ พอื่ สงั คมเปน ทป่ี ระจกั ษใ หเ ขา ศกึ ษาตอ ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ในพื้นท่ี ดวยระบบโควตาพิเศษ โดยไดจัดทําเกณฑการประเมินคุณธรรมเพ่ือให
สถานศึกษาและเขตพ้ืนที่การศึกษาใชเปนแนวทางในการพิจารณาคัดเลือกนักเรียน
เขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา เกณฑดังกลาวใชมาแลวตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๑
ดังนั้นจึงเห็นควรใหมีการทบทวนและพัฒนาเกณฑการประเมินคุณธรรมของผูเรียน
ภายใตโครงการเด็กดมี ที เ่ี รียนใหมคี วามชดั เจนและเช่อื ถอื ไดมากย่ิงขึ้น

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของ

ในการดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงค และหวังเปนอยางย่ิงวาเอกสารฉบับน้ี
จะเปนประโยชนแกหนวยงานท่ีเกี่ยวของนําไปเปนแนวทางในการประเมินคุณธรรม
ของผเู รียนตอไป

(นายกมล รอดคลาย)
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน



สารบัญ
หนา
ความสําคัญ................................................................................................................................. ๑
หลกั การ....................................................................................................................................... ๒
กรอบแนวคิด............................................................................................................................... ๓
กลมุ ที่ ๑ คณุ ธรรมเพอื่ การพัฒนาตน............................................................................... ๕
กลมุ ที่ ๒ คุณธรรมเพื่อการพฒั นาการทํางาน................................................................... ๗
กลมุ ที่ ๓ คุณธรรมเพ่ือการพัฒนาการอยูรว มกนั ในสงั คม................................................. ๘
กระบวนการพัฒนาคณุ ธรรมของผูเรียน.................................................................................... ๙
แนวทางการประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผูเ รียน.... ๑๑
- การประเมินระดบั สถานศกึ ษา...................................................................................... ๑๑
z เกณฑก ารตรวจสอบความนา เชื่อถอื ของขอมลู ในแฟมสะสมผลงาน........................ ๑๒
z เกณฑก ารใหร ะดบั คะแนน : คุณธรรมเพอ่ื การพฒั นาตน......................................... ๑๓
z เกณฑก ารใหระดับคะแนน : คณุ ธรรมเพ่อื การพัฒนาการทาํ งาน............................. ๑๗
z เกณฑก ารใหระดบั คะแนน : คณุ ธรรมเพอื่ การพฒั นาการอยูรว มกันในสงั คม.......... ๒๓
z เกณฑการประเมนิ ระดับกลุม คุณธรรม..................................................................... ๒๘
- การประเมินระดับเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา........................................................................... ๓๑
- การประเมนิ ระดบั สถาบนั อดุ มศกึ ษา............................................................................ ๓๑
- แผนภมู ิแสดงกระบวนการคัดเลือกนกั เรียนเขา ศกึ ษาตอในสถาบันอุดมศึกษา............. ๓๒
แนวทางการนําผลการประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคไ ปใช. ... ๓๓
ขอเสนอแนะ................................................................................................................................ ๓๓
บรรณานุกรม............................................................................................................................... ๓๔
ภาคผนวก ก ............................................................................................................................... ๓๕
ตวั อยางโครงการ/กจิ กรรมสง เสริมคุณธรรมทส่ี ถานศึกษาเปนผูจ ดั .................................. ๓๖
ตวั อยา งโครงการ/กิจกรรมสง เสริมภูมิปญ ญาทอ งถน่ิ ....................................................... ๓๗
ตวั อยา งโครงการ/กจิ กรรมสรา งสรรคส ังคม..................................................................... ๓๘

สารบญั (ตอ )
หนา
ภาคผนวก ข ............................................................................................................................... ๔๓
โครงการระบบตดิ ตามผลการดาํ เนินงานโครงการฯ.......................................................... ๔๔
โครงการแบบรายงานการตดิ ตามผลโครงการฯ................................................................. ๔๗
ภาคผนวก ค................................................................................................................................ ๔๙
บันทกึ ขอ ตกลงความรวมมอื โครงการ................................................................................ ๕๐
ภาคผนวก ง................................................................................................................................ ๕๓
คณะผูจดั ทาํ ......................................................................................................................... ๕๔

การประเมิน

ความสาํ คญั

กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายในการยกระดับการศึกษาใหมีคุณภาพและไดมาตรฐาน
สากล ควบคไู ปกับการสง เสรมิ การเรียนรูภมู ปิ ญญาทอ งถ่ิน การปลกู ฝง คณุ ธรรม การสรา งวนิ ยั ยดึ มน่ั
ในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย การมีจิตสาธารณะ ความตระหนักถึงผลประโยชนของ
สวนรวมมากกวาสวนตน เสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตองในหลักการประชาธิปไตย เคารพ
ความคิดเห็นของผอู ่นื ยอมรบั ความแตกตางหลากหลายทางความคดิ อดุ มการณ และความเช่ือ รวมทง้ั
รคู ุณคา และสบื สานวัฒนธรรมและขนบประเพณอี นั ดงี ามของไทย ดังน้นั จึงจาํ เปน ที่ผูเรยี นตองไดรบั
การพัฒนาในทุกมิติอยางเปนองครวม ดวยประสบการณท่ีหลากหลายท้ังจากภายในและภายนอก
สถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีเปาหมายมุงพัฒนาเด็กและเยาวชนโดยใช
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคเ ปนพ้นื ฐานในการจัดการเรียนรู พรอมท้งั
ยังมีการจัดเวลาใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซึ่งเปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาองครวมของ
ความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม อีกทั้งยังเสริมสรางใหผูเรียน
มศี ลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั ปลกู ฝง และสรา งจติ สาํ นกึ ของการทาํ ประโยชนเ พอ่ื สงั คม สามารถ
จดั การตนเองได และอยรู ว มกบั ผอู ่นื อยางมีความสุข

อนึ่ง เปนท่ีนายินดีที่ที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย (ทปอ.) ในการประชุมสามัญ
ครั้งที่ ๓/๒๕๕๐ วันเสารท่ี ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
โดยมี รศ.ดร. วันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ดํารงตําแหนงประธานท่ีประชุม
อธิการบดีแหงประเทศไทยขณะนั้น ไดเห็นชอบในหลักการใหสถาบันอุดมศึกษานําคะแนนคุณธรรม
ความดขี องเยาวชนมาใชเ ปน องคป ระกอบหนง่ึ ในการพจิ ารณาเขา ศกึ ษาตอ ในระดบั อดุ มศกึ ษาในอนาคต
จึงเสนอใหกระทรวงศึกษาธิการพัฒนาระบบการประเมินใหเปนรูปธรรม เพ่ือท่ีจะนําผลงานดาน
คณุ ธรรมของนกั เรยี นมาประกอบการพิจารณาคัดเลอื กเขาศกึ ษาตอในสถาบนั อดุ มศึกษา

1แนวทางการประเมินคุณธรรมของผูเ้ รียน
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

กระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นความสําคัญในการรวมสงเสริมใหเกิดมิติใหมที่มีคุณคาตอ
การคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา จึงมีนโยบายสงเสริมผูทําความดีเปนที่ประจักษ
และยอมรับไดใหเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษาตามระบบรับตรงพิเศษ และไดมอบใหสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานจัดทําเอกสาร “แนวทางการประเมินคณุ ธรรมของผูเรียน” เพ่ือ
ใหส ถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา และหนว ยงานท่เี กีย่ วของใชเ ปนแนวทางในการพจิ ารณา
คัดเลือกนักเรียนเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา และพัฒนาระบบการประเมินคุณธรรมใหมีความ
เปนรูปธรรม เท่ียงตรง เปนที่ยอมรับท้ังมหาวิทยาลัยและผูเก่ียวของ ท้ังนี้ สํานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐานไดดําเนินโครงการสงเสรมิ นกั เรียนผูม คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และบาํ เพ็ญประโยชน
เขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา เรียกโดยยอวา โครงการเด็กดีมีที่เรียน ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๕๑
เปน โครงการทสี่ รา งและกระจายโอกาสทางการศกึ ษาใหแ กน กั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายทเี่ ปน
คนดี มีคุณธรรม บําเพ็ญประโยชนเพื่อสังคมเปนท่ีประจักษไดศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่
ดว ยระบบรบั ตรงพิเศษ

ปจ จบุ นั โครงการเดก็ ดมี ที เ่ี รยี นไดม ภี าคเี ครอื ขา ยครอบคลมุ ทกุ ภมู ภิ าค ซง่ึ เกดิ จากความรว มมอื
ระหวางสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากับสถาบันอุดมศึกษาในพื้นท่ีท่ีมีเจตนารมณเดียวกันในการ
สงเสริมสนับสนุนนักเรียนในโครงการ ท้ังนี้ เพื่อเปนการใหโครงการเด็กดีมีที่เรียนดําเนินการ
ไปอยา งตอเนอ่ื ง ย่งั ยนื หนว ยงานระดบั นโยบาย ไดแก ทป่ี ระชุมอธกิ ารบดแี หง ประเทศไทย (ทปอ.)
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.)
จึงตกลงทําบันทึกขอตกลงความรวมมือโครงการสงเสริมนักเรียนผูมีคุณธรรม จริยธรรม และบําเพ็ญ
ประโยชนเ ขาศกึ ษาตอ ในสถาบนั อุดมศึกษา (โครงการเด็กดีมีท่ีเรียน) ดงั ภาคผนวก ค

การประเมินคณุ ธรรมของผเู รียนภายใตโครงการเดก็ ดีมีทเี่ รยี น สถานศกึ ษาตองดําเนินการ
อยา งละเอยี ดและรอบคอบ ตอ งทาํ ความเขา ใจ และช้แี จงใหผูปกครอง ผเู รียน และผเู กย่ี วขอ งทราบ
บทบาทของตนในการรวมสงเสริมสนับสนุนการทํากิจกรรมความดีของผูเรียนในระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ทป่ี ระสงคจ ะนาํ เสนอผลงานเพอื่ ขอรบั การพจิ ารณาคดั เลอื กเขา ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ตามโครงการพเิ ศษ

หลกั การ

การประเมินคุณธรรมของผูเรียน เปนการประเมินเพ่ือการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน โดยการสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียนทํากิจกรรม
ท่ีจะกอใหเกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในที่สุด
จะทาํ ใหผูเรียนมีการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข องตนตอไป

2 แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมของผู้เรยี น
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

กรอบแนวคิด

คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีเปนเปาหมายในการพัฒนา
และประเมินไดม าจากแหลง ตาง ๆ ดังตอไปน้ี

๑. คุณลักษณะของคนไทยท่ีประเทศชาติตองการ (กรมวิชาการ แนวทางการจัดกิจกรรม
พฒั นาผูเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔) ไดแก

๑.๑ มีระเบียบวินยั
๑.๒ มคี วามซ่ือสตั ย สุจรติ และยุตธิ รรม
๑.๓ ขยัน ประหยดั และยดึ มั่นในสัมมาชีพ
๑.๔ สํานึกในหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอสังคมและประเทศชาติ
๑.๕ รจู ักคิดริเริม่ วจิ ารณ และตัดสินใจอยา งมเี หตผุ ล
๑.๖ กระตือรือรนในการปกครองระบอบประชาธิปไตย รักและเทิดทูนชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย
๑.๗ มพี ลานามยั สมบูรณท ้ังรางกายและจติ ใจ
๑.๘ รูจ กั พึ่งตนเองและมอี ดุ มคติ
๑.๙ มคี วามภาคภมู ใิ จและรจู ักทาํ นุบาํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมและทรพั ยากรของชาติ
๑.๑๐ มคี วามเสยี สละ เมตตาอารี กตญั ูกตเวที กลาหาญ และสามคั คกี ัน
๒. คา นิยมพนื้ ฐาน ๕ ประการ ของคณะกรรมการวฒั นธรรมแหงชาติ ไดแ ก
๒.๑ การพงึ่ พาตนเอง ขยนั หมั่นเพยี รและมีความรบั ผดิ ชอบ
๒.๒ การประหยัดและรจู กั อดออม
๒.๓ การมีระเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย
๒.๔ การปฏบิ ัติตามคณุ ธรรมของศาสนา
๒.๕ ความรักชาติ ศาสน กษัตริย
๓. คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการ ไดแก
๓.๑ ขยัน
๓.๒ ประหยดั
๓.๓ ซอื่ สัตย
๓.๔ มวี นิ ยั
๓.๕ สุภาพ
๓.๖ สะอาด
๓.๗ สามัคคี
๓.๘ มีน้าํ ใจ

3แนวทางการประเมนิ คุณธรรมของผเู้ รยี น
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)

๔. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งซึ่งประกอบดว ยหลักการ ๓ ประการ ดังน้ี
๔.๑ ความพอประมาณ
๔.๒ ความมีเหตุผล
๔.๓ การมภี ูมิคุม กนั ทด่ี ีในตัว
เงอื่ นไข การตดั สนิ ใจและการดาํ เนนิ กจิ กรรมตา ง ๆ ใหอ ยใู นระดบั พอเพยี งนนั้ ตอ งอาศยั

ทั้งความรู และคณุ ธรรมเปนพ้นื ฐาน คอื
๑) เงือ่ นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรเู กี่ยวกับวชิ าการตา ง ๆ ทเ่ี กีย่ วของ

อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบ
การวางแผนและความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏบิ ัติ

๒) เง่ือนไขคุณธรรมท่ีจะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนัก
ในคุณธรรม มคี วามซอื่ สตั ยส ุจริต มคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชสตปิ ญญาในการดาํ เนนิ ชวี ิต ไมโ ลภ
และไมตระหนี่

๕. คุณธรรม ๔ ประการ ตามพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในการ
เสด็จออกมหาสมาคม ในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ป ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อ
วันศกุ รท ่ี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙ ไดแ ก

ประการแรก คือ การใหท กุ คนคดิ พูด ทําดว ยความเมตตา มุงดีมงุ เจริญตอ กัน
ประการที่สอง คือ การท่ีแตละคนตางชวยเหลือเก้ือกูลกัน ประสานงาน ประสาน
ประโยชนก ัน ใหงานท่ีทาํ สําเรจ็ ผล ทงั้ แกต น แกผ อู ่นื และประเทศชาติ
ประการทสี่ าม คอื การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัตติ นอยูในความสจุ ริต ในกฎกตกิ า และ
ในระเบยี บแบบแผนโดยเทา เทียมเสมอกัน
ประการท่ีส่ี คือ การที่ตางคนตางพยายามทํานําความคิดความเห็นของตนใหถูกตอง
เท่ยี งตรง และมัน่ คงอยใู นเหตใุ นผล
๖. หลักธรรมข้ันพ้นื ฐานของศาสนา
๗. ความคาดหวงั และความตองการของสังคมจากบทความในส่งิ ตีพมิ พตาง ๆ
๘. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๘.๑ รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ 
๘.๒ ซื่อสตั ยส ุจรติ
๘.๓ มีวนิ ัย
๘.๔ ใฝเ รียนรู
๘.๕ อยอู ยา งพอเพยี ง

4 แนวทางการประเมนิ คุณธรรมของผเู้ รียน
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

๘.๖ มุงมัน่ ในการทํางาน
๘.๗ รกั ความเปน ไทย
๘.๘ มจี ิตสาธารณะ
๙. คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ของคณะรักษาความสงบแหง ชาติ (คสช.)
๙.๑ มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย
๙.๒ ซอื่ สตั ย เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ นสิง่ ทีด่ งี ามเพอ่ื สวนรวม
๙.๓ กตญั ูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย
๙.๔ ใฝหาความรู หมั่นศึกษาเลา เรียนทงั้ ทางตรงและทางออ ม
๙.๕ รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๙.๖ มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวงั ดีตอผูอ น่ื เผอื่ แผแ ละแบงปน
๙.๗ เขาใจ เรียนรูการเปนประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่ถูกตอง
๙.๘ มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรูจักการเคารพผใู หญ
๙.๙ มสี ตริ ตู วั รคู ดิ รทู าํ รปู ฏบิ ตั ติ ามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั
๙.๑๐ รจู กั ดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดาํ รสั ของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจาย
จําหนา ย และพรอมที่จะขยายกจิ การเมื่อมคี วามพรอม เมื่อมภี มู คิ ุมกนั ทดี่ ี
๙.๑๑ มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ ไมยอมแพตออํานาจฝายต่ําหรือกิเลส
มีความละอายเกรงกลัวตอ บาปตามหลักของศาสนา
๙.๑๒ คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องสวนรวมและของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง
จากคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคของผูเรียนจากแหลง ตา ง ๆ
ทก่ี ลา วมาแลว ขา งตน ไดส งั เคราะหแ ลว นาํ มาจดั เปน กลมุ คณุ ธรรมเพอ่ื พจิ ารณากจิ กรรมในการพฒั นา
และการประเมนิ เปน ๓ กลุม ทง้ั นี้ สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมคุณธรรมอนื่ ไดอ ีกตามความตอ งการ
ของสถานศึกษา

กลมุ ที่ ๑ คุณธรรมเพอื่ การพัฒนาตน
เปาหมาย : ผเู รียนพัฒนาคุณธรรมของตนไดเ ตม็ ตามศกั ยภาพและดํารงตนอยางมคี วามสุข
โดยไมเ บียดเบยี นผูอืน่
ประกอบดวยคุณธรรม ๖ ประการ คือ รักสะอาด ความสนใจใฝรู ความเชื่อม่ันในตนเอง
การพึ่งตนเอง การรักษาศีล ๕ หรือหลักธรรมข้ันพื้นฐานของศาสนาท่ีตนนับถือ และการหลีกเล่ียง
อบายมขุ ซ่งึ เชื่อมโยงความสัมพนั ธไดด งั แผนภาพตอ ไปน้ี

5แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมของผ้เู รยี น
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

ÖćøĀúÖĊ đúĊ÷ę ÜĂïć÷öč× øĆÖÿąĂćé

ÖćøøĆÖþćýúĊ Ħ ĀøČĂĀúĆÖíøøö ÖćøóĆçîćêî ÙüćöÿîĔÝĔòøś šĎ
×ĆîĚ óîČĚ åćî×ĂÜýćÿîćìêęĊ îîïĆ ëČĂ

ÖćøóÜęċ êîđĂÜ ÙüćöđßęĂČ öîęĆ ĔîêîđĂÜ

นยิ ามศพั ท
๑. รักสะอาด หมายถึง การรักษาความสะอาดทางดานจิตใจ โดยมีการพัฒนาจิตใจของ
ตนเองใหสะอาดผอ งใสอยูเสมอ และการรกั ษาความสะอาดดา นรางกาย กายภาพ สง่ิ แวดลอม
๒. ความสนใจใฝรู หมายถึง ความตง้ั ใจศึกษาเลาเรียน ความพยายาม ความกระตอื รือรน
ของบคุ คลท่ีจะเรยี นรสู งิ่ ใหม ๆ หรือเรียนรูใหลึกซึ้ง กวา งขวางมากขน้ึ
๓. ความเชื่อมั่นในตนเอง หมายถึง ความม่ันใจ และม่ันคงอยูในเหตุในผลตาม
แนวความคิดหลักการทํางาน และการกระทําของตนเองท่ีจะทํางานใหสําเร็จลุลวงไดอยางถูกตอง
เหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ
๔. การพงึ่ ตนเอง หมายถงึ ความสามารถและทกั ษะในการดําเนินชีวติ ดว ยตนเอง ทง้ั ดาน
ชวี ิตสวนตัว การเรยี น และการทํางานอยางมีความสขุ
๕. การรกั ษาศลี ๕ หรือหลักธรรมข้นั พ้นื ฐานของศาสนาที่ตนนบั ถือ หมายถึง การหมนั่
ประพฤติปฏิบัติตามหลักศีล ๕ หรือหลักธรรมข้ันพ้ืนฐานของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อปรับพฤติกรรม
ของตนเองใหละเวนจากการกระทําที่เปนโทษ เบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การทะเลาะวิวาท
ทํารายรางกายกัน การลักขโมย การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร การหลอกลวงฉอโกง การเสพสุรา
ยาเสพติด และของมึนเมาท้งั หลาย เปน ตน
๖. การหลีกเลย่ี งอบายมุข หมายถึง การละเวน หรอื ไมยงุ เกีย่ วกับสิง่ ท่ีนําชวี ิตของตนไปสู
ความเส่อื ม เชน การเท่ยี วกลางคนื การพนนั การหมกมนุ กับการเที่ยวเลน ที่กอ ใหเ กิดโทษ การติดเกม
การคบคนชวั่ เปนมติ ร การเกียจครา นในการศึกษาเลาเรยี นและการทาํ งาน เปน ตน

6 แนวทางการประเมินคณุ ธรรมของผูเ้ รียน
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)

กลุม ที่ ๒ คณุ ธรรมเพอ่ื การพฒั นาการทํางาน
เปา หมาย : ความสําเรจ็ ของการทาํ งานรายบคุ คลและการทํางานกลุม
ประกอบดวยคณุ ธรรม ๖ ประการ คอื ความประหยัด ความมวี นิ ัย ความอุตสาหะ ความ
รบั ผดิ ชอบ ความซอ่ื สัตยส ุจริต และความมีนํ้าใจ ซึ่งเชอื่ มโยงความสัมพนั ธไดด งั แผนภาพตอไปน้ี

ÙüćööĊîćĚĞ ĔÝ ÙüćöðøąĀ÷éĆ

ÙüćöàČęĂÿĆê÷ÿŤ čÝøĉê การพฒั นา ÙüćööüĊ îĉ ÷Ć
การทาํ งาน

ÙüćöøĆïñĉéßĂï ÙüćöĂêč ÿćĀą

นิยามศพั ท
๑. ความประหยดั หมายถงึ การใชท รพั ยากรหรอื สงิ่ ของตา ง ๆ ทง้ั ของตนเองและสว นรวม
อยา งพอประมาณ มีเหตมุ ผี ล และระมดั ระวัง เพือ่ ใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ และความคุมคา
๒. ความมวี ินยั หมายถึง การประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคับ กตกิ า และ
ขอตกลงตา ง ๆ ของสังคม
๓. ความอุตสาหะ หมายถึง ความมุงม่ัน ต้ังใจ เพียรพยายามทําหนาที่การงานท้ังของ
ตนเองและสว นรวมอยางตอเนอ่ื ง สมาํ่ เสมอดว ยความอดทน เพ่ือใหเ กิดความสาํ เรจ็ ในการทํางาน
๔. ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ัติตามบทบาทหนา ที่ของตน ทง้ั ในฐานะ
ผูนําและผูตามท่ีดีของกลุมและสังคม ดวยความต้ังใจ พากเพียร ละเอียดรอบคอบ และมีเหตุมีผล
รวมท้ังยอมรับผลแหงการกระทาํ นน้ั
๕. ความซ่อื สัตยสจุ รติ หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ัติถูกตอ ง ตรงตอ ความเปนจริง ท้ังกาย
วาจา ใจ ท้ังตอ ตนเองและผูอ่ืน
๖. ความมนี าํ้ ใจ หมายถงึ การแสดงออกถงึ ความเออ้ื เฟอ เผอ่ื แผ เออ้ื อาทร ชว ยเหลอื เกอ้ื กลู
กันและกัน เอาใจใส ใหความสนใจในชีวิตความเปนอยูของผูอื่น เห็นอกเห็นใจ และเห็นคุณคาของ
เพ่อื นมนุษยเพอ่ื ใหส ามารถทาํ งานประสบผลสาํ เรจ็

7แนวทางการประเมินคุณธรรมของผ้เู รยี น
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

กลมุ ที่ ๓ คุณธรรมเพอื่ การพัฒนาการอยูรวมกันในสังคม
เปา หมาย : สงั คมอยเู ยน็ เปน สุขรวมกนั
ประกอบดวยคุณธรรม ๖ ประการ คือ ความกตัญูกตเวที ความเสียสละ ความสามัคคี
ความมีมนุษยสัมพันธ ความเปนประชาธิปไตย และจิตสาธารณะ ซึ่งเชื่อมโยงความสัมพันธได
ดังแผนภาพตอ ไปน้ี

Ýĉêÿćíćøèą ÙüćöÖêâĆ ťÖĎ êđüìĊ

ÙüćöđðîŨ ðøąßćíðĉ ĕê÷ การพฒั นา ÙüćöđÿĊ÷ÿúą
การอยรู วมกัน

ในสังคม

ÙüćöööĊ îčþ÷ÿöĆ óîĆ íŤ ÙüćöÿćöĆÙÙĊ

นยิ ามศัพท
๑. ความกตัญูกตเวที หมายถึง การแสดงออกถึงการรูคุณ และการสนองคุณตอ
พอแม บุพการี บคุ คลในครอบครวั ผมู ีพระคุณ ครู โรงเรียน ชมุ ชน สงั คม ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย
๒. ความเสียสละ หมายถึง การมีนํ้าใจ แบงปนใหแกผูอื่น ดวยกําลังกาย กําลังใจ
กําลงั ทรัพย หรือกําลงั ปญญา
๓. ความสามัคคี หมายถึง ความพรอมเพรียง ความกลมเกลียวเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน
ในการทาํ กจิ กรรมทด่ี ีงามเปน หมคู ณะ โดยเหน็ แกป ระโยชนส วนรวมมากกวา สว นตวั
๔. ความมีมนุษยสัมพันธ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนใหมีสัมพันธภาพที่ดีกับผูอื่น
เพ่อื ความสงบสุขและความสําเร็จของตนเองและหมคู ณะ
๕. ความเปนประชาธิปไตย หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาที่ของ
ตนเอง และเคารพในสิทธิของผูอ่ืนโดยเทาเทียมเสมอกัน ใชเหตุผลและสติปญญาในการตัดสินใจ
ใหสอดคลองกบั หลกั ธรรมาภิบาล

8 แนวทางการประเมนิ คุณธรรมของผู้เรยี น
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)

๖. จติ สาธารณะ หมายถึง จิตท่คี ดิ สรา งสรรค เปนกุศล และมงุ ทาํ ความดีท่เี ปน ประโยชน
ตอ สวนรวม

กระบวนการพัฒนาคุณธรรมของผเู รยี น

กอนการประเมินคุณธรรมของผูเรียน สถานศึกษามีบทบาทและหนาท่ีสําคัญในการพัฒนา
และสงเสริมใหเกิดการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคใหเต็ม
ศกั ยภาพของผเู รยี น โดยการจดั สรรเวลาและสง เสรมิ ใหจ ดั กจิ กรรมตา ง ๆ อยา งหลากหลาย ทงั้ ภายใน
สถานศึกษาและในทองถ่ินหรือสังคม ตลอดจนกระตุนใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรม หรือสรางสรรค
กิจกรรมอยางหลากหลาย เพ่ือผูเรียนไดสํารวจความสนใจ พัฒนาความรูความสามารถของตนและ
ปรับประยุกตสูชีวิตจริง อีกทั้งสถานศึกษาควรจะตองเชื่อมโยงกิจกรรมตาง ๆ เหลานั้นเขาสูชั้นเรียน
ขยายใหก วา งขวางเปน ระดบั สถานศกึ ษา สชู มุ ชนและสงั คม โดยสถานศกึ ษาทาํ หนา ทใี่ นดา นการบรหิ าร
กิจกรรมภายในชั้นเรียนและในสถานศึกษา และประสานความรวมมือกับชุมชนและสังคมในการทํา
กิจกรรมนอกสถานศึกษา ดังตัวอยางโครงการ/กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมท่ีสถานศึกษาเปนผูจัด หรือ
กิจกรรม/โครงการสงเสริมภูมิปญญาทองถ่ินของโรงเรียน และกิจกรรมสรางสรรคสังคม (แสดงใน
ภาคผนวก ก) โดยผูเก่ยี วขอ งควรมบี ทบาทในการพัฒนาคณุ ธรรมของผูเรยี นดงั นี้

๑. บทบาทของครู ครูควรทําหนาท่ีเปนที่ปรึกษาและผูสนับสนุนใหผูเรียนทํากิจกรรม
โครงงานหรือโครงการตาง ๆ ทั้งในระดับกลุมสาระการเรียนรู ภายในหองเรียน หรือในระดับ
สถานศกึ ษาและชมุ ชน ท้ังน้ี เพอ่ื เปนการปลูกฝงคุณธรรมในดานการพฒั นาตน การพฒั นาการทาํ งาน
และการพฒั นาการอยูรว มกันในสังคม โดยแนะนําแหลงขอ มูลตา ง ๆ ที่เปน บคุ คล องคก ร หนว ยงาน
และแหลงเรียนรูตาง ๆ อยางไรก็ตาม ครูพึงแจงใหผูเรียนเก็บรวบรวมรองรอยหลักฐานการทํา
กิจกรรมโครงงานหรือโครงการตาง ๆ จัดทําเปนแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) และเขียนวิเคราะห
จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาของกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือเปนแนวทางปรับปรุงตนเองและการทํากิจกรรม
คร้งั ตอไป

๒. บทบาทของผูปกครอง ผูปกครองควรสนับสนุนชวยเหลือและมีสวนรวมในกิจกรรม
ตา ง ๆ ของผเู รยี นในความปกครอง เพอื่ ใหผ เู รยี นมกี าํ ลงั ใจในการทาํ ความดแี ละยงั เปน โอกาสใหผ ปู กครอง
รับรูพฤติกรรมการทํากิจกรรมของผูเรียน ขณะเดียวกันก็สามารถทําบทบาทเปนผูประเมินการทํา
กิจกรรมนั้น ๆ ดวย เนอื่ งจากผูปกครองเปนผทู ่ใี กลช ดิ กับผูเ รียนมากที่สดุ ถอื ไดวา เปน เบา หลอมและ
เปน ตน แบบการพัฒนาคณุ ธรรมทส่ี ําคัญท่ีสุด เปนผมู ีสว นรวมในการปลกู ฝง สงเสริมคณุ ธรรมโดยตรง
นอกจากน้ี ผูปกครองยังอาจใหผ เู รยี นไดไ ปรว มกจิ กรรมเพื่อสังคมท่ีผูปกครองทาํ อยไู ดอ กี ดวย

9แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

๓. บทบาทของผเู รียน ผเู รียนเปน ผปู ฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา ง ๆ ดวยตนเอง เพอื่ พัฒนาคุณธรรม
จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยอาจเรมิ่ ตน จากการเปน ผเู ขา รว มกจิ กรรมตา ง ๆ
ไปสกู ารเปน ผนู าํ การจดั กจิ กรรม หรอื สรา งสรรคก จิ กรรมใหม ๆ และเมอื่ สน้ิ ปก ารศกึ ษาแตล ะระดบั ชน้ั
ผูเรียนควรคัดเลือกผลงานเดนที่ไดปฏิบัติในรอบปนั้น ๆ จํานวนไมเกิน ๓ ผลงาน เพ่ือเก็บไว
ในแฟมสะสมผลงานดีเดน โดยอาจเขียนคําอธิบายส้ันๆ ประกอบผลงานตามหัวขอตอไปน้ีหรือ
ตามทสี่ ถานศึกษากําหนด

๓.๑ ช่ือโครงการ/กิจกรรมหรือการปฏิบัติ ลักษณะของกิจกรรม สถานที่ทํากิจกรรม
(ความยาวไมเ กินครึ่งหนา กระดาษ เอ๔)

๓.๒ บทบาทหนาทีข่ องผเู รยี นในการทาํ กิจกรรมน้ัน ๆ
๓.๓ ผลที่เกดิ ข้ึน แบงออกเปน

๑) ผลของการดาํ เนินการตามโครงการ/กจิ กรรม
๒) ผลที่เกิดกับผูเรียนในดานองคความรูที่เกิดข้ึน ดานคุณธรรม จริยธรรม
และดานการนําไปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั
๓) ผลกระทบอื่น ๆ
๓.๔ ความประทับใจของผูเ รยี นทีม่ ีตอการทําโครงการ/กิจกรรมนน้ั
๓.๕ หลักฐานรองรอยที่แสดงถึงการปฏิบัติกิจกรรมนั้น เชน สมุดบันทึกความดี
คํารับรองของครูที่ปรึกษาโครงการ/กิจกรรม ผูรับประโยชนจากโครงการ รูปถาย ส่ือมัลติมิเดีย
สอ่ื สารสนเทศตาง ๆ และเอกสารทีเ่ กี่ยวขอ ง ฯลฯ แตล ะผลงานมีความยาวไมเกิน ๕ หนากระดาษ เอ๔
๔. บทบาทของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาซึ่งเปน
หนวยงานตนสังกัดสถานศึกษาโดยตรง ควรมีบทบาทหนาท่ีในการสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษา
พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรียนอยางท่ัวถึง โดยใหมี
การทํากิจกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม และบําเพ็ญประโยชนเพ่ือสังคมใหมากข้ึน และมีการกํากับ
นเิ ทศ ตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน อีกทัง้ ควรมีการศึกษาวิจยั และประเมินผลลัพธของการพัฒนาผเู รยี น
ดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค นอกจากนี้ ควรสรา งภาคเี ครอื ขา ยทง้ั
องคก รภาครฐั และเอกชนรว มกนั ในการพฒั นาผเู รยี นดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค
๕. บทบาทของหนวยงานระดับนโยบาย ควรสรางความรวมมือ รวมแรง รวมใจของ
ผูท่ีเกี่ยวของในการพัฒนาและสงเสริมผูเรียน และควรมีเวทีใหผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
ทํากิจกรรมเพ่ือสังคมเปนที่ประจักษไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู นอกจากนี้ ควรมีการศึกษาวิจัย
และพฒั นาผลการดาํ เนนิ งานโครงการ

10 แนวทางการประเมินคณุ ธรรมของผเู้ รยี น
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)

แนวทางการประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผูเ รียน

แนวทางการประเมินคุณธรรมฯ ที่จะกลาวตอไปนี้มุงเนนผูเรียนท่ีมีความประสงคนําเสนอ
ผลงานเพอื่ ขอรบั การพจิ ารณาคดั เลอื กเขา ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษาตามโครงการพเิ ศษ อยา งไรกต็ าม
สถานศึกษาอาจพิจารณาปรับปรุงแนวทางการประเมินคุณธรรมฯ น้ี เพื่อใชประเมินนักเรียนท่ัวไป
ตามวัตถปุ ระสงคอื่น ๆ กไ็ ด

การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค อาจแบงเปน
๓ ระดับ ไดแก

๑. ระดับสถานศกึ ษา
๒. ระดับเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
๓. ระดบั สถาบนั อดุ มศึกษา
การประเมินระดับสถานศกึ ษา
การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน
ในระดับสถานศึกษาเปนการประเมินโดยคณะกรรมการ ครูผูสอนหรือผูท่ีเกี่ยวของ โดยประเมินจาก
แฟม สะสมผลงานดีเดนรายปข องผูเ รียน ซง่ึ ควรประเมินเปนป ๆ ไป และอาจเปรยี บเทียบผลการประเมิน
ในแตล ะป เพอ่ื แสดงพัฒนาการของผเู รยี นแตล ะคน การประเมินคณุ ธรรมฯ ควรมขี ั้นตอนดังตอ ไปน้ี
ขั้นตอนการประเมนิ คุณธรรมฯ จากแฟม สะสมผลงาน
๑. แตง ตัง้ คณะกรรมการ
๒. ตรวจสอบความนาเช่ือถือของขอมูลในแฟมสะสมผลงานโดยภาพรวม ใชเกณฑการ
ตรวจสอบความนา เช่ือถือของขอมลู ในแฟม สะสมผลงาน ดงั นี้

แฟมสะสมผลงาน (Portfolio) คอื แฟมท่ีรวบรวมขอ มลู พื้นฐานสว นตัว และผลงานท่ี
เกิดจากการลงมือปฏิบัติอยางเปนกระบวนการ หลักฐานรองรอยท่ีนําเสนอสามารถสะทอนใหเห็น
ภาพความสามารถทแ่ี ทจรงิ ของเจา ของแฟมไดอยางชัดเจน

11แนวทางการประเมินคณุ ธรรมของผู้เรยี น
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

เกณฑการตรวจสอบความนา เชือ่ ถือของขอมูลในแฟมสะสมผลงาน

ระดบั ความนาเชือ่ ถือ คําอธบิ ายคุณภาพ

๔ หลกั ฐานและขอ มลู ตาง ๆ มีความสอดคลอ งกันทง้ั หมดและยนื ยนั
สภาพความเปน จรงิ

๓ หลักฐานและขอ มลู ตาง ๆ มีความสอดคลองกัน และยนื ยันสภาพความเปน จรงิ
เปน สวนใหญ

๒ หลักฐานและขอ มูลตา ง ๆ มีความสอดคลอ งกนั เปนสว นนอย
๑ หลกั ฐานและขอ มลู ตางๆ ไมส อดคลอ งกนั

๓. แฟมสะสมผลงานท่ีไดรับการประเมินความนาเชื่อถือของขอมูลในแฟมสะสมผลงาน
โดยภาพรวมต้ังแตระดับ ๓ ข้ึนไป จะนําไปประเมินระดับคุณธรรมแตละคุณธรรมของผูเรียน
โดยใชเกณฑก ารประเมนิ คุณธรรม (หนา ๑๓-๒๗)

สวนแฟมสะสมผลงานที่ไดรับการประเมินตํ่ากวาระดับ ๓ ครูควรชี้แจงขอบกพรอง
ตาง ๆ ใหผ ูเ รยี นไดท ราบเพือ่ ปรับปรุงแกไ ขในโอกาสตอไป

๔. นาํ ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ธรรมของผเู รยี นจากขอ ๓ ไปประเมนิ เพอ่ื จดั ระดบั คณุ ภาพ
ตามเกณฑการประเมินระดับกลุมคุณธรรม (หนา ๒๘) แลวบันทึกในแบบบันทึกผลการประเมินฯ
ของผเู รยี นแตละคน (หนา ๒๙)

๕. แจงผลการประเมินใหผูเรียนแตละคนทราบ และรวมปรึกษาหารือกับผูเรียน
เพอ่ื รับฟง ความคิดเหน็ จดุ เดน จดุ ทค่ี วรพัฒนา และแนวทางการพฒั นา

ทั้งน้ี สถานศึกษาอาจปรับปรุงวิธีการประเมินใหเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและ
ควรพัฒนาระบบการประเมินแฟมสะสมผลงานอยางตอเน่ืองและเปนรูปธรรม นอกจากน้ี
สถานศึกษาพึงสรางกระบวนการใหผูปกครอง ผูเรียนไดเรียนรูไปพรอมกัน เพื่อสงเสริมใหผูปกครอง
มีความเขาใจ มีสวนรวมในการปลูกฝงและสงเสริมคุณธรรมของผูเรียนในปกครองไดอยางเหมาะสม

และสามารถพัฒนาคุณธรรมของตนไดอยางเปน ระบบ

12 แนวทางการประเมินคุณธรรมของผ้เู รยี น
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

เกณฑก ารใหระดบั คะแนน : คุณธรรมเพ่อื การพัฒนาตน

คณุ ธรรม คณุ ลักษณะ ระดบั คะแนน
ท่ีตอ งการประเมนิ ๔๓๒๑

๑. รักสะอาด หมายถงึ ๑. การแตง กายสะอาด ถูกระเบยี บ มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม

การรักษาความสะอาด และกาลเทศะ และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน

ทางดานจติ ใจ โดยมีการ ๒. การดแู ลรกั ษารางกายตนเองใหส ะอาด เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ

พฒั นาจิตใจของตนเอง ๓. การดูแลรกั ษาจิตใจของตนเองใหผอ งใส ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคุณลกั ษณะ

ใหส ะอาดผอ งใสอยูเสมอ สะอาด สงบ ทต่ี องการประเมิน ทตี่ อ งการประเมนิ ทต่ี อ งการประเมนิ ท่ีตองการประเมนิ

และการรกั ษาความสะอาด ๔. การเขา รว มกจิ กรรมท่ีเกย่ี วกับการพัฒนา ครบทง้ั ๕ ขอ ขอ ๑-๔ ๓ ขอ ๒ ขอ

ดา นรางกาย กายภาพ จิตใจ การรักษาความสะอาดส่งิ ตาง ๆ จากขอ ๑-๔ จากขอ ๑-๔

ส่ิงแวดลอม ตลอดจนการรกั ษาความสะอาดของ

สงิ่ แวดลอ ม

๕. การเปนแบบอยา งหรือแกนนําในการ

ดําเนนิ กจิ กรรมเก่ียวกบั การพฒั นาจิตใจ

การรกั ษาความสะอาดสิ่งตา ง ๆ ตลอดจน

การรกั ษาความสะอาดของสง่ิ แวดลอ ม

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ๒. ความสนใจใฝรู หมายถึง ๑. ความตง้ั ใจศึกษาเลาเรียน มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
ความต้ังใจศกึ ษาเลา เรยี น
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 13๒๕๕๗) ความพยายาม ความ ๒. ความพยายามในการศึกษาเรียนรอู ยาง และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
กระตือรอื รน ของบคุ คล
ที่จะเรียนรสู ิง่ ใหม ๆ ลึกซ้ึง เชิงประจักษ เชงิ ประจักษ เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ
หรอื เรียนรใู หล ึกซ้งึ
กวา งขวางมากขึ้น ๓. ความกระตือรอื รน ในการเรยี นรสู งิ่ ใหม ๆ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคุณลกั ษณะ

อยูเสมอ ทีต่ อ งการประเมนิ ทต่ี อ งการประเมนิ ทตี่ อ งการประเมนิ ทีต่ องการประเมิน

๔. ความสามารถในการนาํ ความรจู ากการ ครบท้ัง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

ศกึ ษาเรียนรูมาสรา งผลงานจนเปนท่ี จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

ยอมรบั (ระดับโรงเรียน/ระดับจังหวัด/

ระดับเขตพื้นท่/ี ระดับภาค/ระดบั ประเทศ)

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะ ระดับคะแนน
ที่ตอ งการประเมิน
14 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ๔๓๒๑
๓. ความเช่ือมัน่ ในตนเอง ๑. ความกลา แสดงออกในเชิงบวก มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม
และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
หมายถงึ ความมัน่ ใจ ๒. การตัดสินใจอยางมเี หตุผล เชิงประจกั ษ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจักษ เชิงประจักษ
ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ
และมนั่ คงอยใู นเหตุในผล ๓. ความสามารถในการแกป ญหา/ปรบั ตัว ที่ตองการประเมิน ทต่ี อ งการประเมนิ ทตี่ อ งการประเมนิ ทต่ี องการประเมนิ
ครบทั้ง ๔ ขอ ๓ ขอ ๒ ขอ ๑ ขอ
ตามแนวความคิด หลกั การ ใหเขา กับสถานการณแ ละสิ่งแวดลอม
จากขอ ๑-๔ จากขอ ๑-๔ จากขอ ๑-๔
ทํางาน และการกระทาํ ๔. ความเปน ผูน าํ ท่แี สดงออกถงึ ความเชือ่ ม่นั

ของตนเองทีจ่ ะทาํ งานให ในตนเอง

สาํ เร็จลลุ ว งไดอ ยาง

ถกู ตอ ง เหมาะสมและ

มปี ระสิทธภิ าพ

๔. การพ่งึ ตนเอง หมายถึง ๑. ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจําวัน มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม

ความสามารถและทักษะ ดว ยตนเอง และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน

ในการดาํ เนินชีวติ ดวย ๒. ความสามารถในการศกึ ษาหาความรู เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ

ตนเอง ทั้งดา นชีวิตสวนตัว ตาง ๆ ดวยตนเอง ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลักษณะ

การเรยี นและการทํางาน ๓. ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานดว ยตนเอง ทต่ี องการประเมนิ ทต่ี อ งการประเมนิ ทต่ี อ งการประเมนิ ท่ตี อ งการประเมิน

อยา งมีความสุข อยางมีความสุข ครบทัง้ ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

๔. การเปน แบบอยา งของการพ่งึ ตนเองในการ จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

ปฏิบตั กิ ิจวตั รประจาํ วัน การศึกษา

หาความรหู รอื การปฏิบตั งิ าน

คณุ ธรรม คณุ ลักษณะ ระดบั คะแนน
ที่ตองการประเมิน ๔๓๒๑

๕. การรกั ษาศลี ๕ หรอื ๑. การมีสวนรวมในกจิ กรรม/โครงการ มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม

หลักธรรมขั้นพน้ื ฐานของ สรา งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมของ และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน

ศาสนาที่ตนนับถือ โรงเรยี น/ชมุ ชน เชิงประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจักษ

หมายถงึ การหมัน่ ๒. การประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามหลักศีล ๕ ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ ตามคุณลักษณะ

ประพฤตปิ ฏิบัตติ ามหลัก หรอื หลักธรรมข้นั พื้นฐานของศาสนา ทตี่ องการประเมนิ ท่ีตอ งการประเมนิ ท่ีตอ งการประเมิน ทตี่ อ งการประเมิน

ศีล ๕ หรือหลกั ธรรม ท่ีตนนบั ถือ ครบท้งั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ๑ ขอ

ขนั้ พ้นื ฐานของศาสนาทีต่ น ๓. การเปนแบบอยางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ จากขอ ๑-๒

นบั ถือ เพือ่ ปรับพฤติกรรม ตนตามหลกั ศลี ๕ หรอื หลกั ธรรมขน้ั พน้ื ฐาน

ของตนเองใหล ะเวน จาก ของศาสนาที่ตนนับถือ

การกระทาํ ทเ่ี ปน โทษ ๔. การเปน แกนนาํ หรอื ผูนาํ รณรงคใ หส มาชกิ

เบยี ดเบยี นตนเอง และ ในชมุ ชน/สงั คมประพฤติปฏิบัตติ นตาม

ผูอ ่นื เชน การทะเลาะ หลักศีล ๕ หรอื หลักธรรมข้นั พนื้ ฐาน

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน วิวาท ทํารายรา งกายกัน ของศาสนาที่ตนนับถือ

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 15๒๕๕๗) การลักขโมย การมี

เพศสัมพันธก อ นวัย

อนั ควร การหลอกลวง

ฉอโกง การเสพสรุ า

ยาเสพตดิ และของมนึ เมา

ทงั้ หลาย เปน ตน

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คุณธรรม คุณลักษณะ ระดบั คะแนน
ที่ตองการประเมนิ ๔๓๒๑
16 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)
๖. การหลกี เล่ยี งอบายมุข ๑. การประพฤติตนไมย งุ เกีย่ วกบั มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม

หมายถึง การละเวน หรอื สงิ่ ที่นําชีวิตของตนไปสคู วามเสื่อม ไดแ ก และหลักฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน

ไมย ุงเก่ยี วกบั สงิ่ ท่ีนาํ ชีวิต ๑.๑ ตดิ สุราหรือของมึนเมา เชิงประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจกั ษ

ของตนไปสูความเสอื่ ม ๑.๒ ชอบเที่ยวกลางคนื ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ

เชน การเทีย่ วกลางคนื ๑.๓ ชอบเท่ยี วดูการละเลน ทีก่ อ ใหเ กดิ โทษ ทีต่ องการประเมิน ที่ตอ งการประเมิน ทต่ี อ งการประเมนิ ทีต่ อ งการประเมนิ

การพนนั การหมกมุน ๑.๔ ตดิ การพนนั ครบท้งั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ๑ ขอ

กับการเทีย่ วเลนที่กอ ๑.๕ คบคนชั่วเปน มติ ร จากขอ ๑-๒

ใหเกิดโทษ การตดิ เกม ๑.๖ เกียจครา นในการศึกษาเลา เรียน

การคบคนช่ัวเปน มติ ร และการทาํ งาน

การเกยี จครา นใน ๒. การมสี วนรว มในการจดั กจิ กรรมรณรงค

การศกึ ษาเลา เรียน ใหน กั เรียนในโรงเรยี น หรอื คนในชุมชน/สงั คม

และการทํางาน เปนตน ไมยุง เกย่ี วกบั อบายมขุ

๓. การเปนท่ยี อมรับใหเปนแบบอยา งในการ

ประพฤตติ นไมยงุ เกี่ยวกบั อบายมุข

๔. ความสามารถในการชักจูงเพอ่ื นหรือ

คนใกลชิดใหหลกี เลี่ยงออกหา งจาก

อบายมขุ

เกณฑการใหระดบั คะแนน : คุณธรรมเพอื่ การพฒั นาการทํางาน

คุณธรรม คณุ ลกั ษณะ ระดับคะแนน
ทต่ี อ งการประเมิน ๔๓๒๑

๑. ความประหยดั หมายถงึ ๑. การใชท รพั ยากรของตนเอง (เชน เงิน มีพฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม

การใชทรพั ยากรหรอื วัสดอุ ุปกรณ นา้ํ ไฟฟา เปน ตน) และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน

สิ่งของตา ง ๆ ทั้งของ อยางพอประมาณ มีเหตุมีผล คุมคา เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจักษ

ตนเองและสว นรวม เกดิ ประโยชนสูงสดุ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ

อยางพอประมาณ ๒. การใชทรพั ยากรของสว นรวม (เชน เงนิ ท่ีตอ งการประเมิน ทีต่ อ งการประเมิน ท่ตี อ งการประเมิน ที่ตองการประเมนิ

มีเหตุมีผล และระมดั ระวงั วัสดอุ ปุ กรณ นาํ้ ไฟฟา เปนตน ) ครบทั้ง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

เพอื่ ใหเกดิ ประโยชน อยางพอประมาณ มเี หตมุ ผี ล คุมคา จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

สงู สุด และความคมุ คา เกดิ ประโยชนส ูงสดุ

๓. การรวมกจิ กรรมอนรุ ักษห รือรณรงคก ารใช

ทรัพยากรและพลงั งานอยา งคุมคา

และเกิดประโยชนสงู สุด

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ๔. การเปน แกนนาํ ผนู ํา หรือแบบอยา ง

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 17๒๕๕๗) ในการใชท รพั ยากรทง้ั ของตนเอง และ

สว นรวมอยา งคมุ คา และเกิดประโยชน

สงู สดุ

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะ ระดบั คะแนน
ที่ตอ งการประเมิน
18 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ๔๓๒๑

๒. ความมีวินยั หมายถงึ ๑. การปฏิบตั ติ นตามขอ ตกลง กติกา กฎ มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม

การประพฤติปฏิบัตติ น ระเบียบของกลมุ และครอบครัว และหลักฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน

ตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคบั ๒. การปฏบิ ตั ิตนตามกฎ ระเบยี บ ขอบงั คับ เชงิ ประจักษ เชิงประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจักษ

กติกา และขอตกลงตาง ๆ กตกิ า และขอ ตกลงตา ง ๆ ของโรงเรียน ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคุณลกั ษณะ

ของสังคม ๓. การปฏบิ ัตติ นตามกฎ ระเบยี บ ท่ตี องการประเมิน ทตี่ อ งการประเมิน ท่ีตองการประเมนิ ท่ีตอ งการประเมนิ

ขอ บงั คบั กตกิ า และขอ ตกลงตา ง ๆ ครบท้ัง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

ของสงั คม จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

๔. การเปนแกนนาํ ผนู ํา หรอื แบบอยา งของ

การปฏบิ ัติตนตามกฎ ระเบยี บ ขอบังคับ

กตกิ า และขอ ตกลงตาง ๆ ของสังคม

คุณธรรม คุณลักษณะ ระดบั คะแนน
ทต่ี องการประเมิน ๔๓๒๑

๓. ความอตุ สาหะ หมายถงึ ๑. การปฏิบตั งิ านสวนตนดว ยความอดทน มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม

ความมุงมน่ั ต้ังใจ มงุ มน่ั ตั้งใจ เพียรพยายามอยางตอเน่อื ง และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน

เพียรพยายาม ทําหนาที่ สมา่ํ เสมอจนงานสําเร็จ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจักษ

การงานทั้งของตนเอง ๒. การปฏบิ ตั ิงานสว นรวมดว ยความอดทน ตามคุณลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลักษณะ

และสว นรวมอยางตอ เนอ่ื ง มุงมน่ั ต้ังใจ เพียรพยายามอยางตอ เนื่อง ท่ีตองการประเมนิ ท่ตี องการประเมนิ ทต่ี องการประเมิน ที่ตองการประเมิน

สมํา่ เสมอดว ยความอดทน สมํ่าเสมอจนงานสําเรจ็ ครบท้งั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ขอ ๑

เพื่อใหเ กดิ ความสาํ เรจ็ ๓. การเปนแบบอยางในการปฏิบัติงานทัง้

ในการทํางาน สวนตนและสวนรวมดว ยความอดทน

มงุ ม่ัน ตง้ั ใจ เพียรพยายามอยางตอ เน่อื ง

สมา่ํ เสมอ จนงานสําเร็จเปน ท่ียอมรับ

ของโรงเรยี น

๔. การเปน ผนู าํ หรือแกนนาํ ในการปฏบิ ตั ิงาน

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน สว นรวมดวยความอดทน มงุ ม่นั ตั้งใจ

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 19๒๕๕๗) เพยี รพยายามอยางตอเนอ่ื ง สม่ําเสมอ

จนงานสําเรจ็ เปน ทีย่ อมรบั ของชุมชน

และสังคม

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะ ระดบั คะแนน
ทีต่ อ งการประเมนิ ๔๓๒๑
20 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)
๔. ความรับผดิ ชอบ หมายถงึ ๑. การประพฤติปฏิบัตติ ามบทบาทหนาท่ี มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม

การประพฤตปิ ฏิบัตติ าม ของตนดว ยความตัง้ ใจ พากเพียร ละเอยี ด และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน

บทบาทหนาทีข่ องตน รอบคอบ และมีเหตมุ ีผล รวมท้ังยอมรับ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจกั ษ

ท้ังในฐานะผนู าํ และผูตาม ผลแหง การกระทาํ นนั้ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ

ท่ีดีของกลมุ และสังคม ๒. การประพฤตปิ ฏิบตั ติ ามบทบาทหนาที่ ท่ตี องการประเมนิ ท่ตี องการประเมนิ ทต่ี องการประเมิน ที่ตอ งการประเมิน

ดว ยความตัง้ ใจ พากเพยี ร ของตน ท้งั ในฐานะผูน ํา และผตู ามท่ดี ี ครบทัง้ ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ขอ ๑

ละเอียดรอบคอบ และ ของกลุม และสงั คมดวยความตั้งใจ พากเพยี ร

มเี หตุมผี ล รวมท้งั ยอมรับ ละเอียดรอบคอบ และมเี หตมุ ีผล รวมทั้ง

ผลแหง การกระทาํ น้ัน ยอมรับผลแหงการกระทํานนั้

๓. การเปนแบบอยางในการประพฤติปฏบิ ตั ิ

ตามบทบาทหนา ที่ของตน ทั้งในฐานะผูนํา

และผูตามที่ดีของกลุมและสงั คมดวย

ความตัง้ ใจ พากเพียร ละเอียดรอบคอบ

และมีเหตุมีผล รวมทงั้ ยอมรบั ผลแหง

การกระทาํ นั้น

๔. การเปน ผูน ําหรือแกนนําในการประพฤติ

ปฏิบัติตามบทบาทหนาทขี่ องตน ท้ังใน

ฐานะผนู าํ และผูต ามท่ดี ีของกลุมและสังคม

ดวยความตัง้ ใจ พากเพียร ละเอยี ดรอบคอบ

และมีเหตุมผี ล รวมทัง้ ยอมรบั

ผลแหง การกระทํานัน้

คุณธรรม คณุ ลักษณะ ระดบั คะแนน
ท่ีตองการประเมนิ ๔๓๒๑
๕. ความซ่อื สัตยส ุจริต
หมายถึง การประพฤติ ๑. การประพฤติปฏบิ ตั ติ นถกู ตอ ง ตรงตอ ความ มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
ปฏิบัตถิ ูกตอง ตรงตอ
ความเปนจริง ทงั้ กาย เปน จรงิ ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ ในเรือ่ ง และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน
วาจา ใจ ทัง้ ตอ ตนเอง
และผูอืน่ เชน ของตนเอง เชงิ ประจักษ เชิงประจักษ เชงิ ประจักษ เชิงประจกั ษ
- ไมล อกการบาน
- ไมล อกขอ สอบ ๒. การประพฤติปฏบิ ัตติ นถูกตอง ตรงตอ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลักษณะ
- ไมโ กหก
- ไมล กั ขโมย ความเปน จริง ทั้งทางกาย วาจา ใจ ที่ตองการประเมนิ ที่ตอ งการประเมนิ ที่ตอ งการประเมนิ ที่ตอ งการประเมิน
- ไมน ําผลงานของคนอ่นื
มาเปนของตนเอง ในเรือ่ งที่เกี่ยวขอ งกบั ผูอ ื่น ครบทง้ั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ขอ ๑
ฯลฯ
๓. การเปน แบบอยา งในการประพฤติ

ปฏบิ ัติตนถูกตอ ง ตรงตอ ความเปนจรงิ

ท้งั ทางกาย วาจา ใจ ท้งั ตอ ตนเอง

และผอู ่ืน

๔. การเปนผูนําหรือแกนนําในการรณรงค

ใหป ระพฤตปิ ฏิบตั ิตนถูกตอ ง ตรงตอ

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ความเปน จริง ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 21๒๕๕๗) ท้ังตอตนเองและผูอน่ื

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คุณธรรม คุณลกั ษณะ ระดับคะแนน
ท่ีตองการประเมนิ ๔๓๒๑
22 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ๖. ความมีน้ําใจ หมายถงึ
การแสดงออกถงึ ความ ๑. การแสดงออกถึงความเอือ้ เฟอ เผ่อื แผ มพี ฤตกิ รรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม
เอื้อเฟอ เผ่อื แผ เออ้ื อาทร เอือ้ อาทร ชวยเหลือเกือ้ กูลกันในกลุมเพอ่ื น และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
ชว ยเหลอื เก้ือกูลกัน
และกัน เอาใจใส ให หรือเพอ่ื นรว มงาน เชิงประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชิงประจักษ
ความสนใจในชวี ิต
ความเปนอยูของผูอน่ื ๒. การแสดงความเอาใจใส ใหค วามสนใจ ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลักษณะ
เหน็ อกเหน็ ใจ และเหน็
คุณคาของเพ่ือนมนุษย ในชีวิตความเปน อยูของเพือ่ นหรือ ทต่ี อ งการประเมิน ทีต่ อ งการประเมิน ท่ตี องการประเมนิ ทีต่ องการประเมนิ
เพอื่ ใหสามารถทํางาน
ประสบผลสําเรจ็ เพื่อนรว มงาน เห็นอกเหน็ ใจ เห็นคุณคา ครบทงั้ ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

ในเพอื่ นมนษุ ย จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

๓. การมสี วนรว มในการชว ยเหลอื เก้อื กลู

ผูป ระสบความเดือดรอน ไมว า จะเปน

เพ่อื น เพือ่ นรว มงาน หรอื ผอู ืน่

๔. การเปนผนู าํ หรอื แกนนาํ ในการชว ยเหลอื

เก้ือกลู ผูประสบความเดือดรอน

ไมวา จะเปนเพอ่ื น เพื่อนรว มงาน

หรอื ผอู ืน่

เกณฑการใหระดับคะแนน : คุณธรรมเพื่อการพฒั นาการอยรู ว มกนั ในสงั คม

คุณธรรม คณุ ลกั ษณะ ระดับคะแนน
ทีต่ องการประเมนิ ๔๓๒๑

๑. ความกตัญูกตเวที ๑. การดูแลเอาใจใสพ อ แม บพุ การี บคุ คล มพี ฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม

หมายถงึ การแสดงออก ในครอบครัว ครู ผูมีพระคณุ และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน
ถึงการรูค ุณและการ
สนองคณุ ตอ พอ แม ๒. การสนองคณุ โรงเรยี น ชมุ ชน สงั คม ชาติ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจักษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ

ศาสนา และพระมหากษัตรยิ  ตามคุณลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ

บพุ การี บคุ คล ๓. การเปน แบบอยา งในการดูแลเอาใจใส ทตี่ องการประเมิน ทตี่ องการประเมนิ ที่ตอ งการประเมนิ ทต่ี องการประเมนิ

ในครอบครวั ผมู พี ระคุณ พอแม บพุ การี บคุ คลในครอบครวั ครู ครบทัง้ ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ๑ ขอ
ครู โรงเรียน ชุมชน สังคม ผมู พี ระคณุ รวมทงั้ การสนองคุณโรงเรียน จากขอ ๑-๒

ชาติ ศาสนา และ ชมุ ชน สงั คม ชาติ ศาสนา และ

พระมหากษัตรยิ  พระมหากษตั รยิ 

๔. การเปน ผนู าํ หรอื แกนนาํ ในการรณรงคใหม ี

การดูแลเอาใจใสพอแม บพุ การี บุคคล

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ในครอบครัว ครู ผมู พี ระคุณ รวมทั้ง

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 23๒๕๕๗) การสนองคณุ โรงเรียน ชุมชน สงั คม ชาติ

ศาสนา และพระมหากษัตรยิ 

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คณุ ธรรม คุณลักษณะ ระดบั คะแนน
ทีต่ องการประเมิน
24 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ๒. ความเสยี สละ หมายถึง ๔๓๒๑
การมีนํ้าใจ แบง ปน ๑. การแบง ปน ใหแกผูอน่ื ดว ยการอุทิศเวลา
ใหแ กผูอืน่ ดวยกําลังกาย หรือกําลงั กาย มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม มีพฤตกิ รรม
กําลงั ใจ กาํ ลงั ทรพั ย
หรอื กําลังปญญา ๒. การแบงปนใหแกผอู ่ืนดวยการบริจาค และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน
ทรพั ย หรอื ส่ิงของ
๓. ความสามคั คี หมายถึง เชิงประจกั ษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจักษ
ความพรอ มเพรยี ง ความ ๓. การแบงปนใหแกผ อู นื่ ดวยการใหกําลังใจ
กลมเกลียวเปนนา้ํ หนึง่ หรอื กาํ ลังสติปญ ญา ตามคุณลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ
ใจเดยี วกันในการทํา
กิจกรรมท่ดี ีงามเปน ๔. การเปน แบบอยา ง เปน ผูน ําหรอื แกนนาํ ทีต่ อ งการประเมิน ทตี่ องการประเมิน ทต่ี องการประเมิน ท่ตี องการประเมิน
หมคู ณะ โดยเห็นแก ในการแบง ปนใหแ กผ อู ื่นดว ยกาํ ลงั กาย
ประโยชนส ว นรวม กาํ ลังใจ กาํ ลงั ทรพั ย หรือกาํ ลังสตปิ ญญา ครบท้งั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ
มากกวาสวนตวั
๑. การทํากจิ กรรมท่ดี งี ามเปน หมคู ณะ จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓
ดวยเหน็ แกค วามพรอมเพรียง
มีพฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม มพี ฤติกรรม
๒. การทาํ กจิ กรรมทด่ี งี ามเปน หมูคณะดวย
เห็นแกความกลมเกลียวเปน น้ําหน่ึง และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
ใจเดียวกนั
เชงิ ประจกั ษ เชิงประจักษ เชงิ ประจักษ เชิงประจักษ
๓. การทํากจิ กรรมท่ดี งี ามเปน หมูคณะ
ดว ยเหน็ แกป ระโยชนส วนรวมมากกวา ตามคุณลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ
สวนตัว
ท่ตี องการประเมนิ ท่ีตองการประเมนิ ท่ตี อ งการประเมิน ที่ตอ งการประเมิน
๔. การเปน แบบอยาง เปน ผูน าํ หรอื แกนนํา
ในการทาํ กิจกรรมท่ดี ีงามเปนหมคู ณะ ครบท้ัง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ
ดว ยเหน็ แกค วามพรอมเพรยี ง ความ
กลมเกลียวเปนน้าํ หนงึ่ ใจเดียวกัน จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓
เห็นแกป ระโยชนสว นรวมมากกวาสวนตวั

คุณธรรม คณุ ลักษณะ ระดับคะแนน
ที่ตองการประเมนิ
๔๓๒๑

๔. ความมีมนษุ ยสัมพันธ ๑. การสรา งความสัมพันธท ่ีดกี บั เพ่ือน มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม มีพฤติกรรม
และหลักฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
หมายถงึ การประพฤติ หรอื ผใู กลชดิ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชงิ ประจักษ เชงิ ประจกั ษ

ปฏบิ ัตติ นใหม ีสัมพันธภาพ ๒. การสรา งความสมั พนั ธท ี่ดีกบั ผอู ่ืน

ทด่ี กี ับผอู ื่นเพอ่ื ความ กอใหเกิดความสงบสุขของตนเอง ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ

สงบสุขและความสาํ เรจ็ และหมูค ณะ ท่ตี อ งการประเมนิ ทีต่ องการประเมนิ ที่ตอ งการประเมนิ ที่ตอ งการประเมนิ

ของตนเองและหมคู ณะ ๓. การสรางความสมั พนั ธท่ดี กี ับผอู ืน่ ได ครบท้งั ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

เหมาะสมกบั กาลเทศะ กอ ใหเกดิ จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

ความสําเร็จของตนเองและหมคู ณะ

๔. การเปนแบบอยา ง เปน ผูนาํ หรือแกนนาํ

ในการสรางความสัมพันธท ่ดี กี ับผอู ่นื

ไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ กอ ใหเกดิ

ความสงบสุข ความสําเร็จของตนเอง

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน และหมูคณะ

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 25๒๕๕๗)

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คณุ ธรรม คุณลกั ษณะ ระดับคะแนน
ที่ตองการประเมิน ๔๓๒๑
26 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ๕. ความเปนประชาธิปไตย
หมายถงึ การประพฤติ ๑. การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธแิ ละหนา ที่ มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤตกิ รรม มีพฤติกรรม
ปฏบิ ัตติ นตามสิทธิ
และหนา ท่ีของตนเอง ของตนเอง และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน และหลกั ฐาน
และเคารพในสิทธขิ อง
ผอู นื่ โดยเทา เทียม ๒. การเคารพในสทิ ธิของผอู น่ื โดยเทา เทียม เชงิ ประจักษ เชงิ ประจกั ษ เชิงประจักษ เชงิ ประจกั ษ
เสมอกนั ใชเ หตผุ ลและ
สติปญญาในการตดั สินใจ เสมอกนั ตามคุณลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคุณลกั ษณะ
ใหสอดคลอ งกบั หลัก
ธรรมาภิบาล ๓. การใชเ หตผุ ลและสติปญ ญาในการตัดสนิ ใจ ทต่ี องการประเมนิ ทต่ี องการประเมนิ ทีต่ องการประเมนิ ท่ตี อ งการประเมนิ

ใหสอดคลอ งกับหลกั ธรรมาภิบาล ครบทั้ง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ๒ ขอ ๑ ขอ

๔. การเปน แบบอยา ง เปน ผนู าํ หรือแกนนํา จากขอ ๑-๓ จากขอ ๑-๓

ในการประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามสทิ ธิและ

หนา ท่ีของตนเอง และเคารพในสิทธิของผอู น่ื

โดยเทา เทยี มเสมอกัน ใชเ หตุผลและ

สติปญ ญาในการตดั สินใจใหส อดคลอง

กบั หลกั ธรรมาภิบาล

คณุ ธรรม คุณลกั ษณะ ระดับคะแนน
ทต่ี อ งการประเมิน ๔๓๒๑
๖. จติ สาธารณะ หมายถึง
จิตทคี่ ิดสรา งสรรค เปน ๑. การเขารวมในกจิ กรรมท่ีเปน ประโยชนต อ มพี ฤติกรรม มพี ฤตกิ รรม มพี ฤติกรรม มีพฤติกรรม
กุศล และมงุ ทําความดี
ทีเ่ ปน ประโยชนต อ ชุมชนและสังคม และหลกั ฐาน และหลกั ฐาน และหลักฐาน และหลักฐาน
สวนรวม
๒. การอาสาทํากิจกรรมที่เปน ประโยชนตอ เชิงประจักษ เชิงประจกั ษ เชงิ ประจกั ษ เชิงประจักษ

ชุมชนและสงั คม ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลักษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ ตามคณุ ลกั ษณะ

๓. การเปนแบบอยา งในการทาํ กิจกรรม ทีต่ อ งการประเมนิ ท่ตี องการประเมิน ท่ีตองการประเมนิ ทีต่ องการประเมนิ

ทเ่ี ปน ประโยชนตอ ชุมชนและสังคม ครบท้ัง ๔ ขอ ขอ ๑-๓ ขอ ๑-๒ ขอ ๑

๔. การเปนผนู าํ หรอื แกนนําในการทาํ กจิ กรรม

ท่เี ปน ประโยชนต อชุมชนและสังคม

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน D วธิ ีการประเมินและแหลง ขอ มลู เพมิ่ เตมิ
๑. บนั ทึกการเยี่ยมบา น
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 27๒๕๕๗) ๒. บนั ทกึ การตรวจเคร่ืองแตงกาย
๓. สมุดบนั ทึกความดี
๔. เกยี รติบัตร/รางวัลตาง ๆ
๕. ภาพกจิ กรรม
๖. พจิ ารณารองรอยหลักฐานอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วของ
๗. สัมภาษณน กั เรียน หรอื ผเู ก่ียวขอ ง

เกณฑก ารประเมนิ ระดับกลมุ คุณธรรม

ระดบั เกณฑก ารประเมิน

ดีเย่ยี ม ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับ ๔ ทุกคณุ ธรรมฯ หรือ
๒. ไดผลการประเมินระดับ ๔ ไมน อ ยกวา ๔ คุณธรรม และไมมคี ณุ ธรรมใด
ไดร ะดบั ตาํ่ กวา ๓

ดี ๑. ไดผลการประเมินระดบั ๔ ตงั้ แต ๑ คุณธรรมข้นึ ไป และไมม ีคณุ ธรรมใด
ไดร ะดับตาํ่ กวา ๓ หรอื

๒. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ๔ ไมนอยกวา ๔ คณุ ธรรม ไดร ะดบั ๓ จํานวน
๑ คุณธรรม และไดร ะดับ ๒ จํานวน ๑ คณุ ธรรม หรือ

๓. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ๓ ทุกคณุ ธรรม
ผาน ๑. ไดผลการประเมินระดับ ๓ หรือ ๔ ตั้งแต ๑ คุณธรรมข้ึนไป และไมม ีคุณธรรมใด

ไดระดับตา่ํ กวา ๒ หรอื
๒. ไดผ ลการประเมินระดับ ๓ หรือ ๔ ไมน อยกวา ๔ คุณธรรม และไดระดับ ๑

ไมเ กิน ๒ คณุ ธรรม หรือ
๓. ไดผ ลการประเมินระดับ ๒ ทกุ คุณธรรม
ไมผ าน ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับ ๑ ต้ังแต ๓ คุณธรรมข้ึนไป หรือ
๒. ไมเ ขาเกณฑร ะดับดีเยี่ยม ดี และผาน

หมายเหตุ ในกรณสี ถานศกึ ษากาํ หนดคณุ ธรรมมากกวา กลมุ ละ ๖ คณุ ธรรม ตอ งกาํ หนดสดั สว นใหม
ใหเ หมาะสมโดยเทียบเคยี งเกณฑขา งตน ซ่งึ มแี นวทางการกาํ หนดเกณฑดงั นี้
ระดบั ดเี ยยี่ ม ควรไดรับผลการประเมินระดับ ๔ ไมนอยกวารอยละ ๗๐ ของคุณธรรม
ทงั้ หมดและไมค วรมคี ณุ ธรรมใดไดร บั ผลการประเมนิ ในระดบั ตา่ํ กวา ๓ หรอื
เทียบเทา
ระดบั ดี ควรไดรับผลการประเมินระดับ ๓ ไมนอยกวารอยละ ๗๐ ของคุณธรรม
ทง้ั หมด หรอื เทยี บเทา
ระดับผาน ควรไดรับผลการประเมินระดับ ๒ ไมนอยกวารอยละ ๗๐ ของคุณธรรม
ทง้ั หมด หรอื เทียบเทา

28 แนวทางการประเมินคุณธรรมของผูเ้ รยี น
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

แบบบันทึกผลการประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
ของ...............................................................โรงเรียน...............................................................ชั้น……………………สงั กัด........................................





ระดบั ทไ่ี ด

คณุ ธรรม
ัรกสะอาด
แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ความสนใจใ ฝ ูร
ความเชื่อ ่มันในตนเอง
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 29๒๕๕๗) การพ่ึงตนเอง
การรักษาศีล ๕ ห ืรอห ัลกธรรม
้ขัน ้พืนฐานของศาสนา ี่ทตน ันบถือ
การหลีกเลี่ยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความอุตสาหะ
ความรับผิดชอบ
ความซ่ือ ัสต ยสุจ ิรต
ความมี ํ้นาใจ
ความกตัญ ูกตเว ีท
ความเสียสละ
ความสามัคคี
ความมีมนุษยสัมพัน ธ
ความเ ปนประชา ิธปไตย
ิจตสาธารณะ

กลุม คุณธรรมเพ่อื การพัฒนาตน คุณธรรมเพือ่ การพัฒนาการทาํ งาน คุณธรรมเพ่อื การพัฒนาการอยูรวมกนั ในสงั คม

ผลการประเมิน ดเี ยีย่ ม ดี ผา น ไมผาน ดเี ยย่ี ม ดี ผาน ไมผาน ดเี ยี่ยม ดี ผาน ไมผ าน

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น ตัวอยา ง
แบบบนั ทกึ ผลการประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
30 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) ของ...............................................................โรงเรียน...............................................................ช้ัน……………………สังกัด........................................

๔x x x xx xx

x x xx xxx x x

๒ x

๑ x

ระดบั ที่ได ๔ ๔ ๔ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๔ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒ ๔ ๓ ๔ ๑

คุณธรรม ัรกสะอาด
ความสนใจใ ฝ ูร
ความเชื่อ ่มันในตนเอง
การพึ่งตนเอง
การรักษาศีล ๕ ห ืรอห ัลกธรรม
้ขัน ืพ้นฐานของศาสนา ี่ทตน ันบถือ
การหลีกเลี่ยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความอุตสาหะ
ความรับผิดชอบ
ความซ่ือ ัสต ยสุจ ิรต
ความมี ํ้นาใจ
ความกตัญ ูกตเว ีท
ความเสียสละ
ความสามัคคี
ความมีมนุษยสัมพัน ธ
ความเ ปนประชา ิธปไตย
ิจตสาธารณะ

กลุม คุณธรรมเพ่อื การพฒั นาตน คณุ ธรรมเพอื่ การพฒั นาการทํางาน คุณธรรมเพอื่ การพฒั นาการอยูรวมกันในสังคม

ผลการประเมิน ดีเยย่ี ม ดี ผาน ไมผา น ดีเยี่ยม ดี ผาน ไมผ า น ดเี ย่ียม ดี ผา น ไมผา น
3
3 3

การประเมนิ ระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
การประเมินคุณธรรมฯ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ใชสําหรับการคัดเลือกบุคคลผูมีผลงาน
ดีเดนดานคุณธรรมฯ สมควรเปนตัวแทนของเขตพื้นที่การศึกษาเพ่ือการยกยองเชิดชู การใหรางวัล
การใหโ อกาสในการศกึ ษาตอ หรือการแขงขันตา ง ๆ มขี นั้ ตอนการประเมนิ ดังน้ี
๑. ใหโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาคัดเลือกผูมีผลงานดีเดนดานคุณธรรมเพ่ือเปนผูแทน
ของโรงเรยี น แลว สงรายชื่อพรอมทั้งแฟมสะสมผลงานและแบบบันทึกผลการประเมินฯ ไปทีเ่ ขตพ้นื ที่
การศกึ ษา
๒. แตงตั้งคณะกรรมการประเมินคุณธรรมฯ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาอยางนอยควร
ประกอบดว ย ผูอาํ นวยการสาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
ผแู ทนหนว ยงานในเขตพน้ื ท่ีการศึกษาที่เก่ียวขอ ง และผูทรงคณุ วุฒิในสาขาทีเ่ กยี่ วของ
๓. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ธรรมฯ อาจดําเนนิ การคดั เลอื กดว ยวธิ กี ารดงั ตอ ไปน้ี

๓.๑ กาํ หนดวัตถปุ ระสงค วิธีการ และเกณฑก ารพิจารณาคดั เลอื ก
๓.๒ แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาแฟมสะสมผลงานของผูเรียน แบบบันทึก
ผลการประเมินคุณธรรม และขอมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ เชน รายงานของผูบริหารโรงเรียน ฯลฯ เพ่ือ
ความถกู ตอ งและเปน ธรรมในการพิจารณา
๓.๓ คณะกรรมการอาจสัมภาษณนักเรียนที่เปนเจาของผลงานยอดเย่ียม แลว
พจิ ารณาจดั อันดับตามความเขม ของผลงาน
๓.๔ รว มกันพิจารณาตัดสินผลการคดั เลือกตามวัตถปุ ระสงคท ่ีกาํ หนด
อน่ึง คณะกรรมการประเมินอาจจะใหผูบริหารหรือครูท่ีไดรับมอบหมายนําเสนอผลงาน
และผลการประเมินของนักเรียนท่ีเปนผูแทนของโรงเรียนเพื่อยืนยันและรับประกันตอที่ประชุม
คณะกรรมการประเมินคณุ ธรรมฯ

การประเมนิ ระดบั สถาบันอุดมศึกษา
ดําเนนิ การตามทีส่ ถาบนั อุดมศกึ ษากําหนด
ในกรณีที่เปนการประเมินคุณธรรมเพ่ือใหโอกาสในการศึกษาตอ เขตพื้นที่การศึกษาอาจ
ดาํ เนนิ การประสานกบั สถาบนั อุดมศึกษาดังรายละเอยี ดตอ ไปน้ี
๑. สถาบนั อุดมศึกษากําหนดจาํ นวนรับนสิ ติ /นกั ศกึ ษาตามโครงการฯ
๒. พิจารณาคัดเลือกนักเรียนท่ีเขตพื้นที่การศึกษาสงใหตามวิธีการที่สถาบันอุดมศึกษา
กาํ หนด
๓. สถาบนั อดุ มศกึ ษาและเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาควรมกี ารปฐมนเิ ทศผไู ดร บั การคดั เลอื กรว มกนั
๔. สถาบันอุดมศกึ ษาและเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาควรมกี ารตดิ ตามและประเมินผลรวมกัน

31แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรมของผูเ้ รียน
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)

แผนภมู แิ สดงกระบวนการคัดเลือกนกั เรยี นเขาศกึ ษาตอ ในสถาบันอดุ มศึกษา

แจง ใหดําเนินการ กําหนด
คัดเลือก จาํ นวนรบั

ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา สถาบันอุดมศกึ ษา

แตง ตง้ั แตง ตั้ง

คณะกรรมการคดั เลือก คณะกรรมการคัดเลอื ก นักเรียนทไ่ี ดรับ
การคัดเลือก
พจิ ารณา แตง ตง้ั
คัดเลือกนกั เรยี นตาม
• แฟมสะสมผลงาน คณะอนุกรรมการ วธิ กี ารของสถาบัน
• แบบบนั ทึกคุณธรรมฯ (ถามี) อุดมศึกษาน้นั ๆ

คดั เลอื ก พิจารณา กาํ หนด
นกั เรียนที่ไดรบั
การคดั เลอื ก • แฟมสะสมผลงาน
• แบบบนั ทกึ คณุ ธรรมฯ
• ขอมูลเพิ่มเตมิ : รายงาน

ของผบู รหิ าร/ครู สมั ภาษณ
นกั เรียน
ฯลฯ

คดั เลือก

นักเรียนที่ไดรบั
การคัดเลือก

32 แนวทางการประเมินคณุ ธรรมของผ้เู รยี น
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

แนวทางการนาํ ผลการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
ไปใช

ผลการประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค อาจนําไปใชไ ด
หลายลักษณะดงั น้ี

๑. ระดับสถานศึกษา
๑.๑ ใชเ ปน สว นหนง่ึ ของการประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ ง หรอื การประเมนิ

คุณลักษณะอันพงึ ประสงคในแตล ะระดบั ชน้ั
๑.๒ ใชเปนสวนหน่ึงของขอมูลพื้นฐาน เพื่อปรึกษาหารือรวมกันระหวางผูเรียน ครู

และผูปกครอง ในการทจ่ี ะพฒั นาคณุ ธรรมของผเู รียนใหบรรลเุ ปา หมายทก่ี ําหนด
๑.๓ ใชเปนองคประกอบในการคัดเลอื กเขาศึกษาตอในระดบั อุดมศกึ ษา

๒. ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา อาจนาํ ไปใชเ ปน ขอ มลู พนื้ ฐานเพอื่ นาํ เสนอสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ท่มี ีขอ ตกลงรวมกันในการรวมสานตอการพฒั นาคุณธรรมของเยาวชนไทยใหเปนคนดขี องสงั คมตอไป

๓. ระดับสถาบันอุดมศึกษา อาจนําไปใชเปนขอมูลในการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
เขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ท้ังในระบบรับตรง หรือโควตาพิเศษตามขอตกลงระหวางเขตพื้นที่
การศกึ ษากับมหาวทิ ยาลยั ในพื้นท่ี

ขอ เสนอแนะ

๑. กิจกรรมท่ีจะนํามาใชในการคัดเลือกน้ัน ผูเรียนตองปฏิบัติอยางตอเนื่อง โดยมุงเนน
เพ่อื การเสรมิ สรา งคุณธรรม จริยธรรม คานยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ท้งั นี้ ผลของการปฏบิ ัติ
กิจกรรม จะพิจารณาจากแฟมสะสมผลงานและแบบบันทึกผลการประเมินคุณธรรมของผูเรียนที่มี
หลักฐานการทํากิจกรรมชัดเจน เชอื่ ถอื ได

๒. หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ งควรมกี ารประเมนิ โครงการเพอ่ื เปน ขอ มลู สารสนเทศในการปรบั ปรงุ
แกไขและดาํ เนนิ การตอไป

๓. หนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน ควรสรางเครือขายในพื้นท่ีเพื่อสงเสริมและ
พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องนกั เรียนอยางเปน ระบบ

๔. สถาบันอุดมศึกษา ควรดําเนินการโครงการเด็กดีมีท่ีเรียนกอนการรับนิสิต/นักศึกษา
ตามโครงการอน่ื ๆ และพจิ ารณาขยายพืน้ ท่ีบรกิ ารรับนสิ ิต/นักศึกษา ใหครอบคลมุ ท่วั ประเทศ

33แนวทางการประเมนิ คุณธรรมของผู้เรียน
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. แนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ตามหลกั สตู รการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค รุ สุ ภาลาดพราว, ๒๕๔๖.

กระทรวงศึกษาธกิ าร. คุณธรรมพืน้ ฐาน ๘ ประการ. กรุงเทพฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ, ม.ป.ป.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. (พิมพครง้ั ที่ ๒)
กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๕๓.

ประเวศ วะสี, ศ.นพ. ระบบการศึกษาท่ีคุณธรรมนําความรู. กรุงเทพฯ : สํานักงานมาตรฐาน
การศกึ ษาและพัฒนาการเรียนรู สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, ๒๕๕๐.

ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรงุ เทพฯ : นานมีบคุ สพ ับ
ลเิ คชนั่ ส, ๒๕๔๖.

ศนู ยส ง เสรมิ และพัฒนาพลังแผน ดนิ เชงิ คุณธรรม. รายงานการวจิ ัยโครงการเรงสรา งคุณลักษณะทดี่ ี
ของเดก็ และเยาวชนไทย. กรงุ เทพฯ : ศูนยค ุณธรรม, ๒๕๔๙.

สาํ นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานครปฐม เขต ๑. นครปฐมโมเดล. นครปฐม : สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
นครปฐม เขต ๑, ม.ป.ป.

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน. นโยบาย สพฐ. ป ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช ุมนมุ
สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั , ๒๕๕๐.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. การวัดและประเมินผูเรียนดานคุณธรรมจริยธรรม.
กรุงเทพฯ : กลมุ งานประเมินผล ๑ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาต,ิ ๒๕๔๔.

สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต.ิ เศรษฐกจิ พอเพยี งคอื อะไร. กรงุ เทพฯ :
ศูนยประสานงานกลางการดําเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สํานักงาน
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๐.

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน. แนวทางการจดั
กิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
พมิ พค รง้ั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๕๓.
. แนวทางการพฒั นาการวดั และประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ
ชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั , ๒๕๕๔.

Robert M. Thorndike and Tracy M. Thorndike. Measurement and Evaluation in
Psychology and Education (8th Edition). Pearson Education Limited, 2011.

Susan Jacob, Dawn M. Decker and Timothy S. Hartshorne. Ethics and Law for School
Psychologists. (6th Edition). John Wiley & Son, New Jersey United State. 2010.

Susan M. Brookhart. How to Create and Use Rubrics for Formative Assessment
and Grading. Association for Supervision & Curriculum Development, United
State, 2013.

34 แนวทางการประเมินคุณธรรมของผูเ้ รียน
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕๗)



แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น ตัวอยา งโครงการ/กจิ กรรมสง เสรมิ คุณธรรมทส่ี ถานศึกษาเปน ผจู ดั

36 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗) คุณธรรม คณุ ธรรม คุณธรรม
เพ่ือการพฒั นาตน เพือ่ การพัฒนาการทาํ งาน เพื่อการพฒั นาการอยรู ว มกนั ในสังคม

โครงการ/กิจกรรม รักสะอาด
ความสนใจใ ฝ ูร
ความเ ื่ชอมั่นในตนเอง
การ ึ่พงตนเอง
รักษาศีล ๕ ห ืรอห ัลกธรรมข้ัน ืพ้นฐาน
ของศาสนาที่ตน ันบ ืถอ
การห ีลกเ ี่ลยงอบาย ุมข
ความประห ัยด
ความ ีมวิ ันย
ความ ุอตสาหะ
ความ ัรบผิดชอบ
ความ ่ซือ ัสต ยสุจ ิรต
ความมี นําใจ
ความก ัตญูกตเว ีท
ความเ ีสยสละ
ความสา ัมค ีค
ความมีม ุนษย ัสมพันธ
ความเ ปนประชา ิธปไตย
ิจตสาธารณะ

๑. การแขงกีฬา 3 3 3 3 3333 3
๒. วนั ไหวคร/ู วันแม/วันพอ
๓. คา ยคุณธรรม 3 33 3
๔. กจิ กรรมตอตานยาเสพติด 33 3
๕. คายวิชาการ 33 3 3 33 3
๖. คายอาสาพัฒนา
๗. กิจกรรมอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ ม 3333 3 33 33 3
๘. กจิ กรรมออมทรัพย 33 3
๙. ธนาคารโรงเรยี น 3 33 33333 333
๑๐. กจิ กรรมสงเสรมิ การอา น 33 3
๑๑. กจิ กรรมสภานักเรียน 3 33333333 3333 33 3
๑๒. กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ 33 3
33 33 33 3 3 33 3 333
บําเพ็ญประโยชน/ยวุ กาชาด/
นักศกึ ษาวชิ าทหาร 3 333333
๑๓. กจิ กรรมโครงงาน
๑๔. โครงการสง เสริมภูมิปญ ญาทองถ่นิ 3 333 33 33

333 3 333 33

333 333 3 3333

33 33 33333 3 333

33 33 33 3 3 3 33 3 333

3 33 3 33 33 3 333

ตัวอยางโครงการ/กจิ กรรมสงเสรมิ ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ

คุณธรรม คุณธรรม คณุ ธรรม
เพอ่ื การพฒั นาการอยรู วมกันในสังคม
เพื่อการพฒั นาตน เพื่อการพัฒนาการทํางาน

โครงการ/กจิ กรรม ัรกสะอาด
ความสนใจใ ฝ รู
ความเ ่ืชอม่ันในตนเอง
การ ่พึงตนเอง
รักษาศีล ๕ หรือห ัลกธรรม
ข้ัน ื้พนฐานของศาสนาท่ีตนนับ ืถอ
การห ีลกเ ่ีลยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความอุตสาหะ
ความรับผิดชอบ
ความ ืซ่อ ัสต ย ุสจ ิรต
ความมีนําใจ
ความกตัญ ูกตเว ีท
ความเ ีสยสละ
ความสามัค ีค
ความมีม ุนษย ัสมพัน ธ
ความเ ปนประชา ิธปไตย
จิตสาธารณะ

โครงการสงเสริมภูมปิ ญญาทอ งถนิ่ 3333 33 3 33 33 33 33
๑. สาํ รวจภมู ิปญญาทอ งถนิ่ ตามบรบิ ทของโรงเรียน
แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน ๒. นําผลการสํารวจ มาจัดกลุมภมู ปิ ญญาทองถน่ิ
๓. สบื คน ขอ มลู จากแหลงการเรียนรตู า ง ๆ เชน หองสมุด
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 37๒๕๕๗)
อนิ เทอรเน็ต วิทยากรในทองถ่ิน
๔. ประชุมวางแผน เพ่ือจัดกิจกรรมสงเสริมภมู ิปญญา

ทองถนิ่ เชน การละเลนพน้ื บา น สมนุ ไพรไทย
การทาํ เคร่ืองใช ดนตรพี น้ื เมือง ฯลฯ
๕. ประชมุ ช้แี จง เพ่อื จดั กลุมนกั เรียนตามความถนดั
และความสนใจ
๖. แตล ะกลุม กาํ หนดกิจกรรม อนรุ ักษภ ูมปิ ญญาทองถน่ิ
โดยเนน ความสอดคลองและเหมาะสมตามประเภท
ของภูมิปญ ญาทองถน่ิ
๗. แตงตงั้ คณะทํางานของนกั เรยี นแตละกลมุ
๘. กําหนดครทู ่ปี รึกษาประจํากลมุ ตามความสามารถ
๙. เขยี นโครงการอนุรักษภูมิปญ ญาทองถิน่ ย่นื ตอ
หัวหนา สถานศึกษาเพื่อขออนมุ ตั ิ
๑๐. ดําเนนิ การตามโครงการ
๑๑. ประเมนิ ผลโครงการ
๑๒. รายงานผล เผยแพร ประชาสัมพันธต อ สาธารณชน

ตัวอยางโครงการ/กิจกรรมสรา งสรรคส งั คม

เปนกิจกรรมทําความดีท่ีผูเรียนริเร่ิมขึ้นเองหรือเขารวมกับชุมชน หรือองคกรภายนอก
นอกเหนือจากกิจกรรมที่โรงเรียนกําหนดข้ึน กิจกรรมท่ีเขารวมจําแนกตามลักษณะการทํากิจกรรม
ไดเปน ๔ กลมุ หลัก ดังนี้

๑. กลุมพัฒนาทกั ษะ เปน กจิ กรรมท่ผี เู รียนไดเพมิ่ พนู ความรู เขา รวมฝกฝนทักษะสงเสรมิ
สขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ของตนเองและผอู น่ื เชน ดนตรี กฬี า ศลิ ปหตั ถกรรม ภาวะผนู าํ และนนั ทนาการ
เปน ตน

๒. กลุมบําเพ็ญประโยชนและบริการสังคม เปนกิจกรรมท่ีผูเรียนใหความชวยเหลือ
และบริการแกผูอื่น ชุมชนและสังคม เชน ชวยเหลือผูปวยในโรงพยาบาล งานสถานสงเคราะห
มลู นิธกิ ภู ัย การกศุ ล การจราจร เปนตน

๓. กลุมสํารวจ ศึกษา คนควา สรางองคความรูใหม เปนกิจกรรมที่ผูเรียนไดศึกษา
คนควาในสาขาวิชาตาง ๆ และไดเรียนรูจุดมุงหมายของสิ่งท่ีปฏิบัติ ขอกําหนด กระบวนการทํางาน
บทบาท ภาระหนาท่ีของผูปฏิบัติและหนวยงาน คุณคาของงานตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชากรในชมุ ชน การพฒั นาสงั คมและประเทศชาติ เชน รว มงานวจิ ยั เพอื่ แกป ญ หา การพฒั นาความรู
ดานภาษา ดานวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี เปนตน

๔. กลุมสรางกระแสความดี เปนกิจกรรมที่ผูเรียนไดเขารวมในการเรียนรูวิธีการ
ดําเนินชีวิตของคนดีในชุมชน และนําแนวทางมาพัฒนาตน รวมทั้งเผยแพรแกชุมชน สังคม เชน
คายพทุ ธบตุ ร แผนทีค่ วามดี ถนนคนดี พุทธศาสนาวนั อาทิตย สมชั ชาคุณธรรม เปนตน

นอกจากนี้ ผเู รยี นอาจเสนอกจิ กรรมท่นี อกเหนอื จาก ๔ กลุม ดงั กลา วไดอกี

ขอ แนะนําในการดําเนินการ

๑. ผูเรียนควรปรึกษาหารือกับอาจารยท่ีปรึกษา แลวติดตอประสานกับชุมชน องคกร
แจง ความตอ งการในการเขา รว มกจิ กรรมและเขยี นโครงการทชี่ ดั เจนนาํ เสนอสถานศกึ ษารบั ทราบ ทงั้ น้ี
โดยความเห็นชอบจากผปู กครองดวย

๒. สถานศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ และจัดใหมีอาจารยท่ีปรึกษาโครงการให
คําปรึกษาสงเสรมิ กํากับ ติดตามการดาํ เนินงาน

๓. ผูเรียนจัดทําแฟมสะสมผลงาน แลวนําเสนอใหชุมชน องคกร และอาจารยที่ปรึกษา
รับรู/รบั รองและรว มประเมินการปฏิบัตกิ จิ กรรมของผเู รียน

38 แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)

ตัวอยา งโครงการ/กิจกรรมสรา งสรรคสงั คม

คณุ ธรรม คณุ ธรรม คุณธรรม
เพือ่ การพัฒนาตน เพือ่ การพัฒนาการทํางาน เพ่ือการพัฒนาการอยรู ว มกันในสงั คม

โครงการ/กิจกรรม ัรกสะอาด
ความสนใจใ ฝ รู
ความเ ่ืชอม่ันในตนเอง
การ ่พึงตนเอง
รักษาศีล ๕ หรือห ัลกธรรม
ข้ัน ื้พนฐานของศาสนาท่ีตนนับ ืถอ
การห ีลกเ ่ีลยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความอุตสาหะ
ความรับผิดชอบ
ความ ืซ่อ ัสต ย ุสจ ิรต
ความมีนําใจ
ความกตัญ ูกตเว ีท
ความเ ีสยสละ
ความสามัค ีค
ความมีม ุนษย ัสมพัน ธ
ความเ ปนประชา ิธปไตย
จิตสาธารณะ

๑. กลุมพัฒนาทักษะ เชน ดนตรี กีฬา ศลิ ปหัตถกรรม 33 33 3 3 3 33 33 33 33
ภาวะผูนํา นนั ทนาการ เปนตน
แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน
ตวั อยา ง : โครงการสงเสรมิ ดนตรีพน้ื บาน เชน โปงลาง
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 39๒๕๕๗) สะลอ ซอซึง ฯลฯ
กระบวนการหลักทผี่ ูเรียนปฏิบัติ

- เรียนรกู ับชุมชน
- รวมแสดง
- สอนรุนนอง
ตัวอยาง : โครงการชมรมแอโรบิคเพอ่ื สขุ ภาพชมุ ชน
- รวมกลุมเพอ่ื น
- ประสานกบั องคกรปกครองสว นทอ งถิน่ (อปท.)
- จัดสถานท่ีและอปุ กรณ
- เชิญชวนประชาชนมารว ม
- บริหารจัดการกลุม

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผู้เรยี น คุณธรรม คณุ ธรรม คณุ ธรรม
เพอื่ การพัฒนาตน เพื่อการพฒั นาการทาํ งาน เพอื่ การพัฒนาการอยรู ว มกันในสงั คม
40 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)
โครงการ/กิจกรรม ัรกสะอาด
ความสนใจใ ฝ ูร
ความเ ่ืชอม่ันในตนเอง
การพึ่งตนเอง
รักษาศีล ๕ ห ืรอห ัลกธรรม
ข้ัน ื้พนฐานของศาสนาที่ตนนับ ืถอ
การห ีลกเ ่ีลยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความ ุอตสาหะ
ความ ัรบผิดชอบ
ความ ื่ซอ ัสต ย ุสจริต
ความมี ํนาใจ
ความก ัตญ ูกตเว ีท
ความเ ีสยสละ
ความสามัค ีค
ความมีมนุษย ัสม ัพนธ
ความเปนประชา ิธปไตย
จิตสาธารณะ

๒. กลมุ บาํ เพ็ญประโยชนแ ละบริการสงั คม เชน 3 3 3 33 3 3 3 33 33 33 33
ชว ยเหลอื ผปู วยโรงพยาบาล สถานสงเคราะห
มลู นิธิกูภ ยั การกุศล การจราจร เปนตน 3333 333 3 33 33 33

ตวั อยา ง : โครงการเยาวชนอนรุ ักษส ่งิ แวดลอม (อนรุ ักษ
แมน า้ํ คลอง ปา ชุมชน สตั ว)
กระบวนการหลกั ที่ผเู รียนปฏบิ ตั ิ

- รวมกลมุ เพื่อนศกึ ษา สาํ รวจ สภาพแวดลอ มในชมุ ชน
- ทํากจิ กรรมอนุรกั ษ
- เชิญชวนชุมชนเขารวมกจิ กรรม
๓. กลมุ สํารวจ ศกึ ษา คน ควา สรา งองคค วามรูใหม
ตวั อยาง : โครงการนกั วจิ ัยรุนจว๋ิ
กระบวนการหลกั ทผ่ี เู รียนปฏิบตั ิ
- ศกึ ษาวธิ กี ารตรวจสอบสารปนเปอนในอาหารของ

ชมุ ชน รว มกบั หนวยงานอื่น ๆ เชน สาธารณสขุ
มหาวิทยาลัย

คุณธรรม คุณธรรม คณุ ธรรม
เพือ่ การพัฒนาตน เพือ่ การพัฒนาการทํางาน เพอ่ื การพัฒนาการอยูรวมกันในสังคม

โครงการ/กิจกรรม ัรกสะอาด
ความสนใจใ ฝ ูร
ความเ ่ืชอม่ันในตนเอง
การพึ่งตนเอง
รักษาศีล ๕ ห ืรอห ัลกธรรม
ข้ัน ื้พนฐานของศาสนาที่ตนนับ ืถอ
การห ีลกเ ่ีลยงอบาย ุมข
ความประหยัด
ความมีวิ ันย
ความ ุอตสาหะ
ความ ัรบผิดชอบ
ความ ื่ซอ ัสต ย ุสจริต
ความมี ํนาใจ
ความก ัตญ ูกตเว ีท
ความเ ีสยสละ
ความสามัค ีค
ความมีมนุษย ัสม ัพนธ
ความเปนประชา ิธปไตย
จิตสาธารณะ

๔. กลุมสรางกระแสความดี 33 3 3 33 3 3 3 33 3 333
ตวั อยาง : โครงการทําแผนท่คี วามดี
กระบวนการหลกั ทผ่ี เู รียนปฏิบตั ิ

- เด็ก ๆ รวมกลมุ สรา งแบบสาํ รวจ
- สํารวจคนดที ม่ี ีผลงานในชุมชน
- ศึกษากระบวนการทาํ งานของบคุ คลและกลมุ คน
- ประมวลผล เผยแพร ขยายผล

แนวทางการประเมินคุณธรรมของผเู้ รียน

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 41๒๕๕๗)




Click to View FlipBook Version