The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat, 2019-10-16 01:08:36

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลัก 12 ประการ

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ

คา่ นยิ มหลักของคนไทย
๑๒ ประการ

สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



แนวทางการพฒั นาและประเมนิ
คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ISBN : 978-616-395-847-1
จดั พิมพโ์ ดย : สำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑ : ๒๕๖๐
จ�ำนวนพิมพ์ : ๓๕,๐๐๐ เลม่
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ.-- กรุงเทพฯ : ส�ำนัก, 2560.
160 หน้า.
1. คา่ นยิ ม. I. ชอื่ เร่ือง.
153.45
ISBN 978-616-395-847-1

พมิ พท์ ่ี โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั
๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พมิ พ์ผู้โฆษณา

ค�ำนำ�

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการยกระดับการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล
ควบคไู่ ปกับการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม การสร้างวนิ ยั ความยึดมนั่ ในสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ การมีจิตสาธารณะ ความตระหนักถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าส่วนตน และ
เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องในหลักการประชาธิปไตย เคารพความคิดเห็นของผู้อ่ืน ยอมรับ
ความแตกต่างหลากหลายทางความคิด อุดมการณ์ และความเชือ่ รวมท้ังรคู้ ุณค่าและสบื สานวัฒนธรรมและ
ขนบธรรมเนยี มประเพณีอนั ดีงามของไทย ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาลที่จะพฒั นาพลเมอื งให้เข้มแขง็
สร้างคนในชาติให้มีค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ การพัฒนาให้เด็กและเยาวชนมีคุณลักษณะ
ตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ นั้น ต้องบ่มเพาะและปลูกฝังอย่างเหมาะสม สม่�ำเสมอ ต่อเน่ือง
และตอ้ งใชเ้ วลาในการพฒั นาจนเกดิ เปน็ คณุ ลกั ษณะทตี่ ดิ ตวั ไปอยา่ งยงั่ ยนื สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขน้ั พนื้ ฐาน โดยสำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษาจงึ ไดจ้ ดั ทำ� แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา่ นยิ มหลกั
ของคนไทย ๑๒ ประการ เพอ่ื เปน็ แนวทางใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งมรี ปู แบบในการจดั กจิ กรรม
ทีเ่ สริมสรา้ งค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของสถานศกึ ษา
เอกสาร “แนวทางการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ” เล่มน้ี มุ่งหวัง
ให้สถานศึกษาได้รู้และเข้าใจความหมาย หลักการพัฒนา จุดเน้นและวิธีการเรียนรู้ ตลอดจนแนวทาง
ในการพัฒนาและประเมินค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ อีกท้ังให้เห็นภาพความสอดคล้องระหว่าง
คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ กบั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ขอขอบคณุ ผมู้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งทุกคนทร่ี ่วมคดิ รว่ มทำ�
เพื่อให้เอกสารเล่มน้ีส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าคงจะเป็นประโยชน์แก่สถานศึกษา หน่วยงานท่ีจัด
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และผูเ้ กย่ี วข้องน�ำไปเป็นแนวทางในการด�ำเนนิ งานตอ่ ไป

(นายการณุ สกุลประดิษฐ์)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน



สารบญั

หน้า
ค�ำนำ�
ตอนท่ี ๑ บทน�ำ .............................................................................................................................. ๑
ความส�ำคญั . ............................................................................................................................ ๑
ความหมายของคา่ นิยม ........................................................................................................... ๔
การพัฒนาคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ .................................................................... ๕
ข้ันตอนการพัฒนาค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ........................................................ ๖
บทบาทผูม้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ ง ......................................................................................................... ๘
ตอนที่ ๒ แนวทางการพฒั นาและประเมินค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ............................. ๙
หลักการพฒั นาคา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ............................................................. ๙
แนวทางการพัฒนาคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ. ...................................................... ๙
จุดเน้นและวิธีการเรยี นรู้คา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ. .............................................. ๑๐
แนวทางการวดั และประเมนิ ผล ............................................................................................... ๑๒
ความหมาย ตัวชวี้ ดั พฤติกรรมท่ีแสดงออกของคา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ............ ๑๓
ความสอดคลอ้ งระหว่างค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ กบั
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน. ................................ ๒๓
ตอนท่ี ๓ ตัวอยา่ งการพฒั นาและประเมินคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ .............................. ๒๕
• แนวทางที่ ๑ บูรณาการเขา้ กบั การจัดการเรยี นการสอนทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู ้............... ๒๖
• แนวทางท่ี ๒ บรู ณาการในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น .................................................... ๖๘
• แนวทางท่ี ๓ สอดแทรกในกจิ วัตรประจำ� วันของสถานศึกษา. .............................................. ๑๐๓
• แนวทางที่ ๔ จัดท�ำโครงการเพ่อื ปลูกฝงั และพัฒนาค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ... ๑๐๙
ตอนท่ี ๔ การสรปุ และรายงานผล. .................................................................................................. ๑๒๓
เอกสารอ้างอิง… ………………………………………………………………………………….…………………….....…… ๑๓๑
ภาคผนวก....................................................................................................................................... ๑๓๒
• คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ............................................................................................................. ๑๓๓
• แนวคดิ ทฤษฎพี ฒั นาการที่เก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ... ๑๔๑
• หนงั สือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๑๓๒๔
ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ เรอื่ ง แนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับคา่ นยิ มหลกั ๑๒ ประการ
สู่การปฏิบตั .ิ ........................................................................................................................ ๑๕๒
คณะผ้จู ดั ท�ำ.................................................................................................................................... ๑๕๔

สารบัญแผนภาพ

หนา้

แผนภาพที่ ๑.๑ ขน้ั ตอนการพัฒนาค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ. ............................................... ๖
แผนภาพท่ี ๒.๑ จุดเนน้ คา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ของแตล่ ะระดบั ช้ัน… ……………...………..… ๑๐
แผนภาพที่ ๒.๒ วิธีการเรยี นรูค้ า่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ทีเ่ หมาะสมกบั วัย
และศักยภาพผู้เรยี น ........................................................................................................ ๑๑

๑ตอนท่ี
บทนำ�

ความสาํ คญั

ส ภ ำ พ สั ง ค ม ป ั จ จุ บั น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย

ได้รับอิทธิพลจำกวิวัฒนำกำรควำมเจริญ
ของโลกยุคโลกำภิวัตน์ ซึ่งส่งผลต่อกำร
เปล่ียนแปลงสภำพแวดล้อม วิถีชีวิต และ
พฤตกิ รรมของคนในสงั คมไทยในแงม่ มุ ตำ่ ง ๆ
อย่ำงรวดเร็ว อำทิ มีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทำงด้ำนเทคโนโลยีท่ีทันสมัย กำรติดต่อ
ส่ือสำรกันอย่ำงรวดเร็ว กำรเลือกรับส่ือ
ที่ขำดกำรคัดสรรถึงควำมถูกต้อง เหมำะสม ส่งผลให้สังคมไทย คนไทย มีค่ำนิยม จิตส�ำนึกและพฤติกรรม
ทเ่ี ปล่ียนแปลงไปจำกอดีต เกดิ ควำมแตกตำ่ งทำงควำมคิด ก่อให้เกดิ ควำมขัดแยง้ กนั กำรเกดิ ทุจริตคอรปั ชนั่
ในทุกภำคส่วน ท้ังภำครัฐและภำคเอกชน ควำมผูกพันในครอบครัวลดน้อยลง กำรเกิดปัญหำวิกฤตทำง
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม โดยเฉพำะเด็กและเยำวชน ซ่ึงเป็นก�ำลงั สำ� คญั และอนำคตของชำต ิ กำ� ลงั ประสบปัญหำ
ครอบครวั แตกแยก ขำดควำมอบอนุ่ กำรใชค้ วำมรนุ แรง ตดิ เกม ตดิ สงิ่ เสพตดิ มเี พศสมั พนั ธก์ อ่ นวยั อนั ควร และ
บรโิ ภคส่อื ทีไ่ มเ่ หมำะสม ขำดวจิ ำรณญำณในกำรคัดสรรที่จะเลือกรับส่ิงทีด่ ี และวฒั นธรรมทีพ่ งึ ประสงค์มำใช ้
โดยให้ควำมส�ำคัญกบั วัตถมุ ำกกวำ่ คณุ ค่ำทำงจติ ใจ ซ่งึ ปญั หำดงั กลำ่ วนับวนั จะทวีควำมรุนแรงมำกยง่ิ ข้ึน
จงึ อำจกลำ่ วไดว้ ำ่ สงั คมไทยกำ� ลงั เกดิ วกิ ฤตควำมเสอื่ มถอยดำ้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
ตระหนักถงึ ควำมส�ำคัญทจี่ ะสร้ำงพลเมืองที่มีคุณภำพ พัฒนำเดก็ และเยำวชนไทยใหเ้ ป็นพลเมอื งท่ีดขี องชำติ
ในอนำคต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบำยของรัฐบำลท่ีสร้ำงควำมม่ันคงแก่ประเทศชำติและแก้ไขวิกฤตของสังคม
อยำ่ งย่งั ยนื โดยให้คนในชำตมิ คี ่ำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ดังน้ี

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 1

๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๒. ซ่อื สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสง่ิ ทีด่ งี ามเพือ่ สว่ นรวม
๓. กตัญตู ่อพอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครบู าอาจารย์
๔. ใฝห าความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรยี นทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม
๕. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
๖. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดตี ่อผอู้ ่ืน เผอ่ื แผ่และแบ่งปน

2 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๗. เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเปนประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์
ทรงเปน ประมุขที่ถกู ตอ้ ง

๘. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยร้จู ักการเคารพผ้ใู หญ่
๙. มีสตริ ้ตู วั รคู้ ิด รทู้ า� รู้ปฏบิ ตั ิตามพระราชดา� รัสของ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๙
๑๐. รู้จกั ด�ารงตนอย่โู ดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดา� รสั

ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลท่ี ๙ รจู้ ักอดออมไว้ใช้
เมอื่ ยามจ�าเปน มไี ว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจ�าหน่าย
และพรอ้ มที่จะขยายกจิ การเม่อื มคี วามพรอ้ ม เมอ่ื มีภมู คิ ุม้ กันท่ดี ี
๑๑. มคี วามเข้มแขง็ ทั้งรา่ งกายและจิตใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออา� นาจฝายต่�า
หรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลัวตอ่ บาปตามหลักของศาสนา
๑๒. คา� นึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวมและของชาตมิ ากกว่าผลประโยชน์
ของตนเอง

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 3

จำกนโยบำยดงั กลำ่ ว สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน โดยสำ� นกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
เห็นควำมส�ำคัญในกำรปลูกฝังค่ำนิยม และปลุกจิตส�ำนึกให้เกิดขึ้นบนพื้นฐำนของควำมตระหนัก
และน�ำไปปฏิบตั จิ นเป็นวิถชี ีวิต ตลอดจนรักษำหรอื อนรุ ักษ์ไดอ้ ยำ่ งยั่งยนื จงึ เหน็ ควรมีแนวทำงในกำรพัฒนำ
และประเมินคำ่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร

ความหมายของคานิยม

พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ควำมหมำยของค่ำนิยมว่ำ เป็นสิ่งท่ีบุคคล
หรอื สงั คมยึดถอื เป็นเคร่ืองชว่ ยตดั สนิ ใจ และกำ� หนดกำรกระทำ� ของตนเอง
พจนำนุกรมศัพท์ศึกษำศำสตร์ ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ให้ควำมหมำยของ
คำ่ นยิ ม (Values) หมำยถงึ ลกั ษณะทบ่ี คุ คลหรอื สงั คมยดึ ถอื เปน็ เกณฑ ์ แรงจงู ใจในกำรคดิ ตดั สนิ ใจและกำ� หนด
มำตรฐำนพฤติกรรมของตนเองหรอื สงั คม ค่ำนยิ มอำจดหี รือไมด่ กี ไ็ ด ้ ขน้ึ อย่กู ับสิ่งทใี่ ชเ้ ปน็ เกณฑ์ตัดสนิ
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมำรุต พัฒผล (๒๕๕๗) ได้ให้ควำมหมำยของค่ำนิยมไว้ว่ำ แนวควำมคิด
ควำมประพฤต ิ หรือสภำพกำรกระท�ำใด ๆ ท่ีบคุ คลหรือสังคมนิยมชมชอบ หรือเหน็ วำ่ เป็นสิ่งทีม่ ีคณุ คำ่ ควรแก่
กำรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ จงึ ยอมรบั ยดึ ถอื เปน็ แนวประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ นั อยำ่ งสมำ�่ เสมอ หรอื อยำ่ งนอ้ ยกช็ วั่ ระยะเวลำหนงึ่
เพ่อื ใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมำยของตนหรอื สงั คม
จำกควำมหมำยดังกล่ำวข้ำงต้น สรุปได้ว่ำ “ค่านิยม” หมำยถึง แนวความคิด ความเชื่อ
อุดมการณ์ สิง่ ที่บคุ คลหรือสังคมยึดถือเปน แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ยา่ งสม่�าเสมอ หรอื อยา่ งนอ้ ย
กช็ ัว่ ระยะเวลาหนึ่งเพ่ือใหบ้ รรลุจดุ มุ่งหมายของตนหรอื ของสังคม

4 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

การพฒั นาคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

กำรปลกู ฝงั และพฒั นำคำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ในสถำนศกึ ษำ มแี นวทำงในกำรปฏบิ ตั ดิ งั นี้
๑. กำรจดั บรรยำกำศและสง่ิ แวดลอ้ ม
๑.๑ จัดสภำพแวดล้อมและสร้ำงบรรยำกำศที่เอ้ือต่อกำรพฒั นำผู้เรียน
๑.๒ บุคลำกรทกุ คนในสถำนศกึ ษำเปน็ แบบอยำ่ งท่ีดี
๒. กำรจัดกิจกรรม
๒.๑ เหมำะสมกับวัย ควำมตอ้ งกำร ควำมสำมำรถ และควำมสนใจของผเู้ รยี น
๒.๒ พัฒนำคำ่ นยิ มหลักไดช้ ัดเจน สร้ำงควำมร้สู กึ และจิตใจของผู้เรยี นในเชิงบวก
๒.๓ กระตุน้ และฝกทักษะกำรคดิ กำรปฏบิ ตั ิของผูเ้ รยี นอยำ่ งเหมำะสม ตอ่ เน่ือง สม�่ำเสมอ
๒.๔ ใชค้ ำ� ถำมใหผ้ เู้ รยี นตระหนกั รใู้ นกำรคดิ กำรกระทำ� ของตนเอง และเรยี นรทู้ จ่ี ะพฒั นำปรบั ปรงุ
ตนเอง
๒.๕ ยกตวั อยำ่ งบคุ คลในชมุ ชนหรอื สงั คมทชี่ ว่ ยสรำ้ งแรงบนั ดำลใจ (Idol) ในกำรพฒั นำคำ่ นยิ มหลกั
ให้กบั ผู้เรียน
๓. กำรสง่ เสรมิ สนบั สนุนในสถำนศกึ ษำ
๓.๑ ใหค้ ำ� ปรึกษำ แนะน�ำ และชว่ ยเหลือตำมควำมเหมำะสม
๓.๒ มกี ำรตดิ ตำม สงั เกตกำรปฏิบตั ิ ให้แรงเสริมและข้อมลู ปอ นกลับ

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 5

ขนั้ ตอนการพฒั นาคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

กำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ให้กับผู้เรียนในสถำนศึกษำ
ควรด�ำเนินกำรอย่ำงต่อเน่ือง จนกระท่ังผู้เรียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกอย่ำงชัดเจน เป็นรูปธรรมและย่ังยืน
มขี นั้ ตอนในกำรดำ� เนนิ งำนดงั ตอ่ ไปน้ี

ขนั้ ตอนที ่ ๑ แต่งตั้งผ้รู บั ผดิ ชอบ
ขัน้ ตอนท ่ี ๒ ศึกษำคำ่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร
และแนวทำงกำรพฒั นำ
ข้ันตอนที ่ ๓ วเิ ครำะหแ์ ละประเมินตนเอง
ขั้นตอนท ี่ ๔ ก�ำหนดแนวทำงกำรพัฒนำค่ำนยิ มหลกั
ของคนไทย ๑๒ ประกำร
ข้นั ตอนท่ ี ๕ เลือก/พฒั นำ/สร้ำงเทคนคิ วธิ กี ำรและเคร่อื งมอื ประเมิน
ขน้ั ตอนท ี่ ๖ ด�ำเนนิ กำรพฒั นำและประเมินผูเ้ รียน
ขัน้ ตอนที่ ๗ นิเทศ ก�ำกับ ตดิ ตำม
ขัน้ ตอนท่ี ๘ ประเมนิ สรุปและรำยงำนผล
แผนภาพท่ี ๑.๑ ขน้ั ตอนกำรพัฒนำค่ำนิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร

จำกแผนภำพที ่ ๑.๑ สถำนศึกษำสำมำรถปรับใช้ใหเ้ หมำะสมกบั บรบิ ทของตนเอง ดังน้ี
ขน้ั ตอนท่ี ๑ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ สถำนศึกษำแต่งต้ังคณะกรรมกำรพัฒนำและประเมินผล

ค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ของสถำนศึกษำ และก�ำหนดบทบำทหน้ำที่ของบุคลำกรทุกฝำยให้มี
ส่วนร่วมในกำรพัฒนำ ซ่ึงอำจเป็นคณะกรรมกำรชุดเดียวกับคณะกรรมกำรพัฒนำและประเมินผล
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๑

ขน้ั ตอนที่ ๒ ศึกษาค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ และแนวทางการพัฒนา ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
ศึกษำควำมหมำย ตัวช้ีวัด พฤติกรรมท่ีแสดงออก แนวทำงกำรพัฒนำและประเมินค่ำนิยมหลักของคนไทย
๑๒ ประกำร

ขน้ั ตอนท่ี ๓ วิเคราะห์และประเมินตนเอง สถำนศึกษำวิเครำะห์กำรจัดกิจกรรมท่ีปลูกฝัง
และพฒั นำค่ำนยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

6 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๑. สถำนศกึ ษำสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และมแี นวทำงกำรจดั กจิ กรรมไดเ้ หมำะสมกบั บรบิ ทหรอื ไม่
๒. บุคลำกรในสถำนศึกษำ มีกำรจัดกิจกรรมที่ปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลัก
ครอบคลุมตัวช้วี ดั หรือไม่ มำกน้อยเพยี งใด
๓. ผูเ้ รียนมีพฤตกิ รรมที่แสดงออกตำมคำ่ นิยมหลักหรือไม่
เม่ือวิเครำะห์แล้ว พบวำ่
๑. มีกำรส่งเสริมสนับสนุน และมีแนวทำงกำรจัดกิจกรรมที่ปลูกฝังและพัฒนำ
ค่ำนิยมหลักแต่ยังไม่ครอบคลุมตัวชี้วัด พฤติกรรมท่ีแสดงออกของผู้เรียนยังไม่เป็นไปตำมค่ำนิยมหลัก
ให้สถำนศึกษำก�ำหนดแนวทำงกำรพัฒนำในข้ันตอนที่ ๔ ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถำนศึกษำ เพื่อพัฒนำ
ผู้เรยี นใหม้ ีพฤติกรรมตำมคำ่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร
๒. มีกำรส่งเสริมสนับสนุน มีแนวทำงกำรจัดกิจกรรมท่ีปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลัก
ครอบคลมุ ตวั ชีว้ ัด ให้ดำ� เนนิ กำรต่อไปและพฒั นำให้ดีย่งิ ขึน้

ข้นั ตอนท่ี ๔ กา� หนดแนวทางการพัฒนาคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
แนวทำงกำรพฒั นำค่ำนยิ มหลกั มี ๔ แนวทำง คอื
๑. บูรณำกำรเขำ้ กับกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทกุ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้
๒. บรู ณำกำรในกำรจัดกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น
๓. สอดแทรกในกจิ วัตรประจ�ำวันของสถำนศึกษำ
๔. จดั ท�ำโครงกำรเพอ่ื ปลูกฝงั และพัฒนำค่ำนยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร
สถำนศึกษำสำมำรถเลือกแนวทำงกำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมให้แก่ผู้เรียน โดยใช้
แนวทำงข้ำงต้นแนวทำงใดแนวทำงหนึ่ง หรือผสมผสำนหลำย ๆ แนวทำง หรือแนวทำงอื่น ๆ ท่ีนอกเหนือ
จำกน้ีให้เหมำะสมกบั บรบิ ทของสถำนศกึ ษำ ทง้ั นเ้ี นน้ กำรปฏบิ ตั จิ ริง เปน็ รปู ธรรม จนเกดิ พฤติกรรมท่ีย่งั ยืน

ข้นั ตอนที่ ๕ เลือก/พัฒนา/สร้างเทคนิควิธีการและเคร่ืองมือประเมิน เมื่อสถำนศึกษำก�ำหนด
แนวทำงกำรพัฒนำตำมขั้นตอนที่ ๔ แล้ว เพ่ือให้กำรด�ำเนินงำนบรรลุผล จ�ำเป็นต้องมีเทคนิควิธีกำรและ
เคร่ืองมอื ประเมนิ ผลควำมสำ� เรจ็ ในกำรด�ำเนนิ กำร ซึ่งสำมำรถด�ำเนินกำรได้ดังนี้
๑. เลอื กเทคนิควธิ ีกำรและเคร่อื งมือประเมินทีม่ ีอยมู่ ำใช้
๒. พฒั นำเทคนคิ วิธีกำรและเครือ่ งมือประเมนิ จำกทมี่ อี ยเู่ ดิม
๓. สร้ำงเทคนคิ วิธกี ำรและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ขน้ึ มำใหม่

ขนั้ ตอนที่ ๖ ด�าเนินการพัฒนาและประเมินผู้เรียน สถำนศึกษำจัดกิจกรรมพัฒนำค่ำนิยมหลัก
ของคนไทย ๑๒ ประกำร ตำมแนวทำงกำรพัฒนำและเทคนคิ วิธกี ำรท่สี ถำนศกึ ษำก�ำหนด และประเมนิ ผู้เรยี น
เป็นระยะ ๆ และน�ำผลกำรประเมนิ มำใชใ้ นกำรพัฒนำผูเ้ รยี นอย่ำงต่อเน่อื ง สม่�ำเสมอ

ข้นั ตอนท่ี ๗ นิเทศ ก�ากับ ติดตาม สถำนศึกษำด�ำเนินกำรนิเทศ ก�ำกับ ติดตำมเป็นระยะ ๆ
เพ่ือส่งเสริมสนบั สนนุ ใหก้ ำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร สมั ฤทธิผล

ขัน้ ตอนที่ ๘ ประเมนิ สรปุ และรายงานผล สถำนศึกษำประเมนิ วิเครำะห์กำรดำ� เนินงำนด้วยวิธกี ำร
ทหี่ ลำกหลำย สรปุ ภำพรวมของกำรดำ� เนนิ งำน นำ� ผลกำรประเมนิ มำใชว้ ำงแผน เพอ่ื กำ� หนดแนวทำงกำรพฒั นำ
ใหด้ ยี ่งิ ขนึ้ ต่อไป และรำยงำนผลกำรพฒั นำค่ำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ตอ่ ผู้ท่เี กย่ี วขอ้ ง

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 7

บทบาทผูมีสวนเกีย่ วของ

ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในกำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ได้แก่ ผู้บริหำร ครู
ผปู้ กครอง คณะกรรมกำรสถำนศึกษำข้ันพืน้ ฐำน และชมุ ชน ควรมีบทบำทดังนี้
๑. ปฏบิ ตั ิตนให้เป็นแบบอย่ำงทดี่ ี
๒. ยกย่องเชิดชูผู้ที่มคี ณุ ลักษณะตำมคำ่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร
๓. จดั สภำพแวดล้อมที่เอ้ือต่อกำรพัฒนำคำ่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร
๔. ส่งเสริมสนับสนนุ กำรจัดกิจกรรมทปี่ ลกู ฝังและพฒั นำคำ่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร
๕. มสี ว่ นรว่ มในกำรพฒั นำค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร อย่ำงหลำกหลำย

8 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

๒ตอนที่

แนวทำงกำรพัฒนำและประเมนิ คำนิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร

หลกั การพัฒนาคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

กำรปลูกฝังและพัฒนำค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ มีหลักกำร
ในกำรพัฒนำ ดังน้ี
๑. กำรสร้ำงควำมตระหนักให้ผู้เรียนเห็นควำมส�ำคัญของค่ำนิยมหลักเป็นส่ิงส�ำคัญ เพรำะกำรพัฒนำ
คำ่ นิยมไม่สำมำรถบอกหรอื สัง่ ให้ทำ� ได้ ผูเ้ รียนตอ้ งเหน็ คณุ คำ่ ของคำ่ นิยมน้ันและตดั สนิ ใจปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง
๒. กำรพฒั นำค่ำนิยมตอ้ งใชเ้ วลำในกำรฝก ปฏิบตั ิอยำ่ งตอ่ เนือ่ ง สม�ำ่ เสมอ จนเป็นกจิ นสิ ัย
๓. กำรเปดโอกำสให้ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในกำรก�ำหนดกจิ กรรมท่ีปลูกฝงั และพัฒนำค่ำนิยมหลักจะทำ� ให้
ผ้เู รยี นเหน็ ควำมส�ำคญั ของตนเอง และยอมรบั ที่จะปฏิบัติ
๔. กำรใช้บุคคลตัวอย่ำงที่แสดงพฤติกรรมสะท้อนค่ำนิยม ท�ำให้ผู้เรียนได้แบบอย่ำงในกำรปฏิบัติตน
จึงควรใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผู้ก�ำหนดเอง
๕. กำรใช้กิจกรรมท่หี ลำกหลำยจะท�ำใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรู้อย่ำงมคี วำมสุข สนุกกบั กิจกรรม ส่งผลให้ผเู้ รยี น
เหน็ คุณค่ำของค่ำนยิ มหลกั

แนวทางการพฒั นาคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

กำรปลกู ฝงั และพฒั นำคำ่ นยิ มหลกั มแี นวทำงในกำรพฒั นำอยำ่ งหลำกหลำย ในทน่ี นี้ ำ� เสนอแนวทำงหลกั
๔ แนวทำง ดังนี้
๑. บรู ณำกำรเข้ำกับกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทุกกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้
๒. บรู ณำกำรในกำรจัดกจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน
๓. สอดแทรกในกจิ วตั รประจำ� วนั ของสถำนศึกษำ
๔. จดั ทำ� โครงกำรเพ่อื ปลกู ฝงั และพฒั นำ
คำ่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 9

จุดเนนและวธิ ีการเรียนรูคานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ค่ำนิยมหลักควรปลูกฝังและพัฒนำให้ครบทั้ง ๑๒ ประกำร ให้กับผู้เรียนอย่ำงสม่�ำเสมอและต่อเนื่อง
เนน้ กำรปฏบิ ตั จิ รงิ ในชวี ติ ประจำ� วนั จนเกดิ เปน็ พฤตกิ รรมทยี่ ง่ั ยนื จงึ กำ� หนดจดุ เนน้ และวธิ กี ำรเรยี นรอู้ ยำ่ งเขม้ ขน้
ในแต่ละระดบั ชนั้ ดังนี้

๑. รกั ชำติ ศำสนำ พระมหำกษตั ริย ์
ป.๑-๓ ๓. กตัญูต่อพอ่ แม่ คร ู อำจำรย์

๘. มรี ะเบียบวนิ ัย เคำรพกฎหมำย

๒. ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน
ป.๔-๖ ๔. ใฝห ำควำมร้ ู หม่นั ศกึ ษำเลำ่ เรยี น

๑๑. มีควำมเขม้ แข็งท้งั รำ่ งกำยและจิตใจ

๕. รักษำวัฒนธรรมประเพณไี ทย
ม.๑-๓ ๗. เขำ้ ใจเรยี นรกู้ ำรเปน็ ประชำธปิ ไตย

๙. มีสติรู้ตวั รคู้ ิด รูท้ �ำ รู้ปฏบิ ตั ิตำมพระรำชด�ำรัสฯ

๖. มีศลี ธรรม รกั ษำควำมสตั ย ์ หวงั ดีตอ่ ผู้อืน่ เผอ่ื แผแ่ ละแบง่ ปัน
๑๐. ด�ำรงตนโดยใช้หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ม.๔-๖ ๑๒. คำ� นงึ ถึงประโยชนข์ องส่วนรวมและของชำติ

มำกกวำ่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

แผนภาพท่ี ๒.๑ จุดเน้นคำ่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ของแต่ละระดบั ช้นั

10 แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

วธิ ีการเรียนรู้

ระดบั เรยี นรู้ ๑. มคี วำมรักชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์
ประถมศึกษา ผำ่ นบทเพลง ๒. ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอุดมกำรณ์ในสิ่งทีด่ ีงำมเพอื่ ส่วนรวม
๓. กตัญูต่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบำอำจำรย์
ระดบั นทิ ำน ๔. ใฝห ำควำมร้ ู หมั่นศึกษำเล่ำเรียนท้ังทำงตรงและทำงออ้ ม
มธั ยมศกึ ษา เหตุกำรณ/์ ๕. รักษำวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงำม
กำรศกึ ษำจำก ๖. มีศีลธรรม รักษำควำมสตั ย ์ หวงั ดีตอ่ ผู้อื่น เผอ่ื แผแ่ ละแบง่ ปัน
แหล่งเรยี นรู้ ๗. เขำ้ ใจเรียนรกู้ ำรเป็นประชำธิปไตย อันมพี ระมหำกษตั ริย์
ทรงเป็นประมุขท่ีถูกตอ้ ง
เรยี นรู้ ๘. มีระเบยี บวนิ ัย เคำรพกฎหมำย ผนู้ ้อยรจู้ ักกำรเคำรพผูใ้ หญ่
ผ่ำนกำรศกึ ษำ ๙. มสี ตริ ู้ตัว รคู้ ดิ รทู้ ำ� ร้ปู ฏิบัติตำมพระรำชด�ำรสั ของ
เปรยี บเทยี บ พระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ ัว รัชกำลที ่ ๙
๑๐. ร้จู กั ด�ำรงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
วิเครำะห์
สังเครำะห์ ตำมพระรำชด�ำรสั ของพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั รชั กำลท ี่ ๙
ชีวประวตั ิ รู้จกั อดออมไว้ใช้เมือ่ ยำมจ�ำเปน็ มีไว้พอกินพอใช ้ ถ้ำเหลือ
บุคคลสำ� คญั ก็แจกจ่ำยจ�ำหน่ำย และพรอ้ มที่จะขยำยกจิ กำร
บคุ คลที่ทำ� เม่อื มคี วำมพร้อม เม่อื มีภมู ิคมุ้ กนั ที่ด ี
คณุ ประโยชน์
ตอ่ สว่ นรวม หรอื ๑๑. มคี วำมเข้มแข็งท้ังรำ่ งกำยและจติ ใจ ไม่ยอมแพ้
เหตุกำรณ์สำ� คัญ ต่ออ�ำนำจฝำยต�่ำหรอื กิเลส มีควำมละอำยเกรงกลวั ตอ่ บำป
ในอดตี ตำมหลกั ของศำสนำ
และปจั จบุ ัน ๑ ๒. คำ� นึงถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชำติ
มำกกว่ำผลประโยชน์ของตนเอง

แผนภาพที่ ๒.๒ วธิ ีกำรเรียนรคู้ ำ่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ที่เหมำะสมกับวัยและศกั ยภำพผู้เรียน

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 11

แนวทางการวัดและประเมินผล

กำรวัดและประเมินผลค่ำนิยมหลักของผู้เรียนควรใช้วิธีกำรและเครื่องมือให้เหมำะสมและหลำกหลำย
เช่น กำรสอบถำม กำรสงั เกตพฤติกรรม กำรสมั ภำษณ ์ กำรประเมินตนเอง กำรใชแ้ บบวดั สถำนกำรณ ์ เป็นตน้
ดังตัวอยำ่ งตอ่ ไปน้ ี

แนวทางการปลูกฝงและพฒั นา วธิ กี ารวดั และประเมิน เครือ่ งมือ
แนวทางที่ ๑ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม
บูรณำกำรเขำ้ กบั กำรจดั สอบถำมผูเ้ กยี่ วขอ้ ง แบบสอบถำม
กำรเรียนกำรสอน สัมภำษณ์ แบบสัมภำษณ์
ทุกกลุ่มสำระกำรเรยี นร ู้ ประเมนิ ตนเอง แบบประเมินตนเอง
ตรวจผลงำน เกณฑก์ ำรประเมินชนิ้ งำน/ภำระงำน
ฯลฯ ฯลฯ
แบบสังเกตพฤติกรรม
แนวทางที่ ๒ สงั เกตพฤตกิ รรม เกณฑ์กำรประเมินชิน้ งำน/ภำระงำน
บูรณำกำรในกำรจดั ตรวจผลงำน ฯลฯ
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รยี น ฯลฯ แบบสงั เกตพฤติกรรม
ฯลฯ
แนวทางที่ ๓ สงั เกตพฤติกรรม
สอดแทรกในกจิ วัตรประจ�ำวนั ฯลฯ แบบสังเกตพฤติกรรม
ของสถำนศกึ ษำ แบบสอบถำม
แบบสัมภำษณ์
แนวทางที่ ๔ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินตนเอง
จัดท�ำโครงกำรเพอื่ ปลกู ฝัง สอบถำมผู้เกีย่ วขอ้ ง เกณฑ์กำรประเมินชน้ิ งำน/ภำระงำน
และพฒั นำคำ่ นิยมหลัก สมั ภำษณ์ ฯลฯ
ของคนไทย ๑๒ ประกำร ประเมินตนเอง
ตรวจผลงำน
ฯลฯ

12 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ความหมาย ตวั ชี้วัด พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกของคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

เพ่ือใหส้ ถำนศึกษำด�ำเนินกำรวัดและประเมินผลคำ่ นยิ มหลกั ได้ถกู ต้อง ตรงประเดน็ ครอบคลุม จึงได้
ก�ำหนดควำมหมำย ตัวชี้วัด และตัวอย่ำงพฤติกรรมท่ีแสดงออกให้เป็นกรอบในกำรประเมิน ซ่ึงสถำนศึกษำ
สำมำรถนำ� ไปปรบั ใช้ใหเ้ หมำะสมกับบรบิ ทของสถำนศกึ ษำ

ข้อ ๑ มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หมำยถึง ควำมภำคภูมิใจในควำมเป็นไทย
และส�ำนึกในคุณของแผ่นดิน เข้ำใจและเล่ือมใสหลักศำสนำที่ตนนับถือ และซำบซึ้งในพระมหำกรุณำธิคุณ
ของสถำบันพระมหำกษัตริย์

ตวั ชี้วดั ตวั อยา่ งพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก
๑.๑ สำ� นกึ และภมู ใิ จในควำมเป็นไทย ๑.๑.๑ ยืนตรงเคำรพธงชำติ รอ้ งเพลงชำตไิ ทย และอธิบำย
ควำมหมำยของเพลงชำติได้ถูกต้อง
๑.๑.๒ บอก อธิบำยควำมหมำยของสัญลักษณข์ องชำติ
๑.๑.๓ เข้ำร่วมกจิ กรรมทแี่ สดงออกถงึ ควำมรักชำติ
๑.๑.๔ แสดงควำมสำมคั ค ี ปรองดอง ในกำรอยู่รว่ มกัน
ของคนในชำติ
๑.๑.๕ บอก อธบิ ำย แสดงศิลปะ ดนตร ี นำฏศิลป  กฬี ำไทย
๑.๑.๖ เขำ้ ร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตร ี นำฏศลิ ป กีฬำไทย
๑.๑.๗ บอก อธิบำยควำมเปน็ มำ และสะทอ้ นควำมรู้เกย่ี วกับ
สถำปตั ยกรรมไทย
๑.๑.๘ แต่งกำยตำมวัฒนธรรมประเพณีของท้องถิน่
๑.๑.๙ ใชภ้ ำษำไทยในกำรสอ่ื สำรอย่ำงถูกตอ้ ง
๑.๑.๑๐ อธบิ ำยสะทอ้ นควำมรู้สกึ เก่ยี วกับประวัติศำสตร์
ควำมเปน็ มำของชำติไทยและบรรพบรุ ษุ ของไทย

ฯลฯ

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 13

ตัวช้วี ัด ตัวอยา่ งพฤติกรรมทีแ่ สดงออก

๑.๒ เขำ้ ใจเลือ่ มใสหลกั ศำสนำทต่ี นนบั ถือ ๑.๒.๑ อธิบำยควำมหมำยและควำมสำ� คัญของหลักธรรม
ตำมศำสนำท่ีตนนบั ถอื
๑.๒.๒ เขำ้ ร่วมกจิ กรรมทำงศำสนำทตี่ นนับถือ
๑.๒.๓ ปฏบิ ัติตนตำมหลักศำสนำท่ีตนนับถือ
๑.๒.๔ ปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยำ่ งท่ดี ขี องศำสนิกชน
ฯลฯ

๑.๓ ซำบซ้ึงในพระมหำกรุณำธิคณุ ของ ๑.๓.๑ แสดงควำมเคำรพเมือ่ ได้ยินเสียงเพลง
สถำบันพระมหำกษตั ริย์ สรรเสรญิ พระบำรมี
๑.๓.๒ อธบิ ำยควำมหมำยของเพลง และร้องเพลง
สรรเสรญิ พระบำรมีได้อย่ำงถูกต้อง
๑.๓.๓ เข้ำรว่ มกจิ กรรมในวนั สำ� คญั ท่ีเก่ยี วกบั
สถำบันพระมหำกษัตรยิ ์
๑.๓.๔ บอก อธิบำยสะท้อนควำมรู้สกึ ต่อพระรำชกรณยี กจิ
๑.๓.๕ เข้ำรว่ มกจิ กรรมและมีส่วนร่วมในกำรจัดกจิ กรรม
ท่ีเก่ยี วกับสถำบนั พระมหำกษัตริย์
๑.๓.๖ น้อมน�ำหลักกำร แนวคิดตำมพระรำชด�ำรสั
มำเป็นแนวทำงในกำรด�ำเนินชวี ติ
๑.๓.๗ นอ้ มนำ� หลักกำร แนวคิดตำมพระรำชด�ำรสั
พระรำชกรณียกิจไปปฏิบตั ใิ นครอบครวั ในชมุ ชน
๑.๓.๘ แสดงออกถงึ ควำมจงรักภกั ดตี ่อสถำบนั พระมหำกษตั รยิ ์

ฯลฯ

14 แนวทางการพฒั นาและประเมินคานิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ ๒ ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งท่ีดีงามเพื่อส่วนรวม หมำยถึง กำรประพฤติ
ตรงตำมควำมจริงทง้ั กำย วำจำ ใจ ใหก้ ำรชว่ ยเหลอื ผู้อื่นและสังคม ยอมรับสภำพควำมยำกล�ำบำก มีแนวคิด
หลักกำรในกำรปฏิบัตสิ ่งิ ที่ดงี ำมเพ่ือส่วนรวม

ตัวช้วี ดั ตวั อยา่ งพฤตกิ รรมที่แสดงออก
๒.๑ พดู ควำมจริง ปฏิบัตติ ำมค�ำพูด ๒.๑.๑ พดู ควำมจรงิ
ของตนเอง ตรงไปตรงมำ ไม่คดโกง ๒.๑.๒ ปฏิบตั ติ ำมค�ำสญั ญำ
๒.๑.๓ ไมน่ ำ� สง่ิ ของหรือผลงำนของผ้อู นื่ มำเป็นของตนเอง
๒.๑.๔ ไม่หำประโยชน์ในทำงทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง

ฯลฯ

๒.๒ แบ่งปันหรอื ให้ควำมช่วยเหลือผู้อืน่ ๒.๒.๑ แบง่ ปนั ทรัพย ์ สงิ่ ของให้ผู้อื่น
และส่วนรวมด้วยทรัพย์สนิ ก�ำลังกำย ๒.๒.๒ ชว่ ยเหลอื งำนของห้องเรยี น
คำ� พดู และควำมคดิ โดยไมห่ วงั ๒.๒.๓ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ื่นดว้ ยทรพั ย์สนิ กำ� ลงั กำย ก�ำลังใจ
ผลตอบแทน และสติปญั ญำ
๒.๒.๔ อำสำทำ� งำนให้ผู้อนื่ และสว่ นรวมตำมกำ� ลงั
และควำมสำมำรถของตน
๒.๒.๕ ชว่ ยพอ่ แม ่ ผูป้ กครอง และครูท�ำงำน
๒.๒.๖ เข้ำร่วมกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์หรือเพอ่ื แก้ปัญหำ
ใหแ้ กโ่ รงเรยี น ชุมชน และสังคม
ฯลฯ

๒.๓ ไม่ทอ้ ถอย ใส่ใจ จดจอ่ กบั สิ่งตำ่ ง ๆ ๒.๓.๑ เมอื่ ประสบปัญหำหรือควำมยำกล�ำบำกในกำรเรียน
ไดเ้ ปน็ เวลำนำน ยืนหยดั ในสงิ่ ทถ่ี ูกตอ้ ง หรอื กำรท�ำงำนใด ๆ ก็ไม่ทอ้ ถอย ไม่ยกเลิกกลำงคัน
และควบคุมกำรแสดงออกทำงกำย ยังคงดำ� เนนิ ตอ่ ไปจนสำ� เรจ็
วำจำ และอำรมณ์ เม่ือประสบกับ ๒.๓.๒ สำมำรถอำ่ นหนังสอื ท�ำงำน ทำ� กิจกรรมตำ่ ง ๆ
ควำมยำกล�ำบำก ได้เป็นเวลำนำน ๆ
๒.๓.๓ ปฏิเสธค�ำชกั ชวนทีไ่ ม่ถกู ต้อง
๒.๓.๔ เมือ่ ประสบกับเหตกุ ำรณ์ทท่ี �ำให้เกดิ อำรมณ์ตำ่ ง ๆ
เช่น โกรธ โมโห เสียใจ น้อยใจ เศร้ำใจ ก็สำมำรถ
ระงับอำรมณไ์ ด้ ไม่แสดงกริ ยิ ำท่ีไมเ่ หมำะสม
ฯลฯ

๒.๔ มแี นวคดิ หลกั กำรในกำรปฏบิ ัติ ๒.๔.๑ มีควำมมุง่ ม่นั ในกำรท�ำสง่ิ ที่เป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม
สิง่ ที่ดงี ำมเพือ่ สว่ นรวม ฯลฯ

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 15

ข้อ ๓ กตัญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ หมำยถึง กำรรู้จักบุญคุณและตอบแทนบุญคุณ
ของพ่อแม ่ ผ้ปู กครอง และครูอำจำรย์

ตวั ชีว้ ัด ตัวอย่างพฤติกรรมท่ีแสดงออก

๓.๑ รู้บุญคุณและตอบแทนบญุ คุณพอ่ แม ่ ๓.๑.๑ บอก อธบิ ำยควำมสำ� คญั ควำมดีของพอ่ แม ่
ผ้ปู กครอง และครูอำจำรย์ ผ้ปู กครอง คร ู อำจำรย์
๓.๑.๒ ปฏบิ ัตติ ำมคำ� ส่งั สอนของพ่อแม ่ ผ้ปู กครอง ครู อำจำรย์
๓.๑.๓ แสดงควำมรกั ควำมเคำรพต่อพ่อแม ่ ผู้ปกครอง ครู
อำจำรย์
๓.๑.๔ เอำใจใส ่ ดูแล ช่วยเหลอื พอ่ แม ่ ผ้ปู กครอง ครู อำจำรย์
๓.๑.๕ รกั ษำชื่อเสยี งของตนเอง พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครู อำจำรย์
และวงศ์ตระกูล
ฯลฯ

ข้อ ๔ ใฝห าความรู้ หมั่นศึกษาเลา่ เรยี นทง้ั ทางตรง และทางออ้ ม หมำยถงึ ควำมต้งั ใจเพยี รพยำยำม
ในกำรศึกษำเล่ำเรยี น โดยแสวงหำควำมรทู้ ้งั ในและนอกโรงเรียน

ตวั ช้ีวัด ตวั อย่างพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก
๔.๑ ตงั้ ใจเพียรพยำยำมในกำรศกึ ษำ ๔.๑.๑ สนใจ ตัง้ ใจเรยี น
เล่ำเรยี น ๔.๑.๒ ซกั ถำมเม่อื เกดิ ควำมสงสัยจนเขำ้ ใจกระจ่ำง
๔.๑.๓ ปฏิบตั กิ ิจกรรมกำรเรยี นร้อู ยำ่ งเต็มควำมสำมำรถ
๔.๑.๔ ปรบั ปรุงและพัฒนำกำรเรยี นของตนเองอยำ่ งตอ่ เน่อื ง
๔.๑.๕ กระตือรอื ร้นในกำรเรียนร้สู ่ิงใหม ่ ๆ
๔.๑.๖ แลกเปลี่ยนควำมร้ดู ้วยวธิ ตี ำ่ ง ๆ

ฯลฯ

๔.๒ แสวงหำควำมรทู้ ั้งในและนอกโรงเรยี น ๔.๒.๑ ศกึ ษำคน้ คว้ำขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ จำกแหล่งเรียนรตู้ ำ่ ง ๆ
ในโรงเรียน ชุมชน ท้องถ่นิ
๔.๒.๒ สืบค้นข้อมูลจำกแหล่งเรยี นรูต้ ำ่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็
สอบถำมผู้ร ู้ อ่ำนหนงั สือ ขำ่ ว เปน็ ตน้
ฯลฯ

16 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ข้อ ๕ รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม หมำยถึง กำรเห็นคุณค่ำและควำมส�ำคัญ มีควำม
ภำคภูมิใจ อนรุ กั ษส์ ืบทอดวฒั นธรรมและประเพณไี ทยอันดีงำม

ตวั ชี้วัด ตวั อย่างพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก

๕.๑ ปฏิบตั ิตนตำมวฒั นธรรมประเพณีไทย ๕.๑.๑ แสดงมำรยำทงดงำมแบบไทย เช่น กำรไหว้
ดว้ ยควำมภำคภมู ิใจ กำรกรำบพระ กรำบผู้ใหญ่ กำรสนทนำกบั บุคคล
ระดบั ตำ่ ง ๆ กำรพูดจำไพเรำะ กำรรับ-สง่ ของแกพ่ ระภกิ ษุ
กำรย้มิ แบบไทย กำรยนื เดนิ นัง่ นอน เปน็ ต้น
๕.๑.๒ มมี ำรยำทในกำรรบั ประทำนอำหำร
๕.๑.๓ มีมำรยำทในกำรอย่รู ว่ มกับผ้อู ่ืน (ควำมเกรงใจ)
๕.๑.๔ แต่งกำยแบบไทยอย่ำงเหมำะสมตำมกำลเทศะ
๕.๑.๕ ใช้ภำษำไทยและภำษำท้องถ่นิ ในกำรสือ่ สำร
๕.๑.๖ ร่วมแรงช่วยเหลอื งำนผอู้ ่ืน
ฯลฯ

๕.๒ เขำ้ รว่ มกจิ กรรมทำงวฒั นธรรม ๕.๒.๑ เข้ำร่วมกจิ กรรมทำงวฒั นธรรมประเพณีไทย
ประเพณีไทย ประเพณีทอ้ งถน่ิ และกจิ กรรมทำงศำสนำ

ฯลฯ

๕.๓ เปน็ แบบอยำ่ งทด่ี ีในกำรปฏิบตั ิตน ๕.๓.๑ แต่งกำยแบบไทยในชีวิตประจำ� วันอย่ำงเหมำะสม
เพ่อื อนรุ กั ษ์วฒั นธรรมประเพณไี ทย ตำมกำลเทศะ
๕.๓.๒ ใช้ภำษำไทยและภำษำท้องถ่นิ ในกำรสอ่ื สำร
ในชวี ิตประจ�ำวันอยำ่ งถูกต้องเหมำะสมกับกำลเทศะ
๕.๓.๓ รว่ มกิจกรรมอนุรักษว์ ัฒนธรรมประเพณไี ทย
๕.๓.๔ เปน็ ผู้นำ� และดำ� เนนิ กจิ กรรมอนุรักษว์ ฒั นธรรม
ประเพณไี ทย

ฯลฯ

๕.๔ สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีไทย ๕.๔.๑ ร่วมกจิ กรรมสืบทอดวฒั นธรรมประเพณีไทย
ให้ย่งั ยืนคงอยตู่ ่อไป ๕.๔.๒ เปน็ ผนู้ ำ� และดำ� เนินกิจกรรมสบื ทอดวฒั นธรรม
ประเพณไี ทย

ฯลฯ

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 17

ข้อ ๖ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ืน เผื่อแผ่และแบ่งปน หมำยถึง กำรปฏิบัติตน
ตำมข้อปฏิบตั ิท่ีดีงำม รกั ษำคำ� พูด คิดดี มคี วำมจริงใจ รู้จักกำรให้และแบง่ ปนั ผู้อ่ืน

ตัวชีว้ ดั ตัวอยา่ งพฤติกรรมท่ีแสดงออก
๖.๑ ปฏิบัตติ นตำมขอ้ ปฏบิ ัตทิ ด่ี ีงำม ๖.๑.๑ ไม่ทำ� รำ้ ยหรอื เบียดเบียนผู้อน่ื ทง้ั ทำงรำ่ งกำยและจิตใจ
๖.๑.๒ ไมน่ �ำทรัพย ์ สง่ิ ของ หรอื ผลงำนของผอู้ ืน่ มำเป็นของตน
๖.๒ รกั ษำคำ� พดู โดยไม่ได้รับอนุญำต
๖.๓ ปรำรถนำดี มีควำมจรงิ ใจต่อผ้อู นื่ ๖.๑.๓ ให้เกยี รต ิ ไม่ลว่ งละเมดิ ทำงเพศ หรอื ละเมิดรำ่ งกำยผูอ้ น่ื
๖.๔ รูจ้ ักใหแ้ ละแบ่งปนั แก่ผู้อ่นื ๖.๑.๔ ไมพ่ ูดเทจ็ พดู ส่อเสยี ด พดู ใหร้ ้ำยผู้อืน่
๖.๑.๕ ประกอบกจิ กำรตำ่ ง ๆ และใช้ชวี ิตอย่ำงมสี ติไมป่ ระมำท

ฯลฯ
๖.๒.๑ ปฏบิ ตั ิตำมขอ้ ตกลง ค�ำสญั ญำ

ฯลฯ

๖.๓.๑ ใหค้ �ำแนะน�ำแกผ่ ู้อื่นด้วยควำมปรำรถนำดี
๖.๓.๒ ตักเตือนผู้อ่ืนเม่ือเห็นว่ำจะมีอันตรำย
หรือทำ� ในส่งิ ท่ไี ม่ถูกต้อง

ฯลฯ
๖.๔.๑ แบ่งปนั ทรัพย์ สิ่งของใหแ้ ก่ผูท้ ม่ี ีควำมต้องกำร
๖.๔.๒ ให้ของฝำก ของขวัญ ของที่ระลึกแก่ผ้อู นื่
ตำมโอกำสอันควร

ฯลฯ

18 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ ๗ เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน ประมุขท่ถี กู ต้อง หมำยถึง
กำรแสดงถึงกำรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจท่ีถูกต้อง ปฏิบัติตนตำมหน้ำท่ีและสิทธิของตนเอง เคำรพสิทธิของผู้อื่น
ภำยใต้กำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข

ตัวช้ีวัด ตวั อยา่ งพฤติกรรมทแ่ี สดงออก

๗.๑ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตำมสิทธิและ ๗.๑.๑ ใช้สิทธิและหนำ้ ท่ใี นกำรเลือกตัง้ ตัวแทนหรือหวั หนำ้ ห้อง
หน้ำที่ของตน เคำรพสทิ ธิและหน้ำที่ หรอื สภำนักเรยี น กำรเลือกต้ังผแู้ ทนในระดับท้องถ่ิน
ของผู้อื่น ภำยใตร้ ะเบียบและกฎหมำย และระดับประเทศ

๗.๑.๒ ใช้สิทธิในกำรรับบริกำรทำงกำรศึกษำ กำรรักษำพยำบำล
๗.๑.๓ เคำรพสิทธแิ ละหนำ้ ทข่ี องผู้อนื่

ฯลฯ

๗.๒ ประพฤติปฏิบตั ิตนโดยยดึ แนวทำง ๗.๒.๑ ปฏบิ ัตติ ำมกฎระเบียบของห้องเรยี น โรงเรียน
กำรปกครองตำมระบอบประชำธปิ ไตย และตำมกฎหมำย กฎระเบียบของสงั คม

อันมีพระมหำกษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ๗.๒.๒ ประนีประนอมในกำรทำ� งำน และกำรแกป้ ัญหำในกล่มุ
ห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน
๗.๒.๓ รว่ มมอื ในกำรทำ� งำนของกลุ่ม หอ้ งเรยี น โรงเรียน
ชุมชน และองค์กรอ่ืนของสงั คม
๗.๒.๔ ใช้เหตผุ ลในกำรแสดงควำมคิดเห็นและตดั สนิ ใจ
ในกำรปฏิบัติงำน และกำรโตแ้ ย้งในกรณตี ำ่ ง ๆ
๗.๒.๕ รบั ฟังควำมคิดเห็นของผอู้ ื่นทั้งทีเ่ ห็นดว้ ยและเหน็ ต่ำง
ฯลฯ

แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 19

ขอ้ ๘ มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรูจ้ กั การเคารพผู้ใหญ่ หมำยถึง กำรปฏบิ ตั ิตำมขอ้ ตกลง
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับ และกฎหมำย มคี วำมเคำรพต่อผูใ้ หญ่

ตัวชว้ี ดั ตัวอยา่ งพฤติกรรมท่ีแสดงออก
๘.๑ มรี ะเบียบวนิ ยั ๘.๑.๑ ปฏบิ ตั ิตนตำมข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ

๘.๒ เคำรพกฎหมำย ของครอบครวั ห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ท้องถิ่น สังคม
๘.๓ เคำรพผู้ใหญ ่ ๘.๑.๒ ตรงตอ่ เวลำในกำรปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่ำง ๆ

ฯลฯ
๘.๒.๑ ปฏบิ ัตติ นตำมกฎหมำย

ฯลฯ

๘.๓.๑ แสดงกริ ิยำ ไหว้ กรำบ สนทนำ ใชค้ ำ� พูดท่สี ุภำพ
ถูกตอ้ งเหมำะสมกับวยั และกำลเทศะ
๘.๓.๒ รับฟังคำ� ตักเตือน ค�ำสอน คำ� แนะน�ำ ข้อเสนอแนะ

ฯลฯ

ข้อ ๙ มสี ติรตู้ ัว รคู้ ดิ รู้ทา� ร้ปู ฏิบตั ติ ามพระราชด�ารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๙
หมำยถงึ กำรนอ้ มนำ� พระรำชดำ� รสั ของพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั รชั กำลท ี่ ๙ มำเปน็ หลกั ในกำรดำ� เนนิ ชวี ติ
ให้มสี ติ รตู้ วั รคู้ ิด รทู้ ำ� รปู้ ฏิบัติ

ตัวชี้วดั ตวั อยา่ งพฤติกรรมที่แสดงออก

๙.๑ ด�ำเนนิ ชวี ติ อยำ่ งมีสตริ ูต้ วั รู้คิด รทู้ �ำ ๙.๑.๑ วำงแผนปฏบิ ตั ิงำน กิจกรรม โดยผำ่ นกระบวนกำรคิด
รู้ปฏิบัติ อยำ่ งรอบคอบเหมำะสมกับวยั
๙.๑.๒ ปฏิบัตติ นเก่ยี วกับกำรเรียน กำรคบเพอ่ื น
กำรอยูร่ ว่ มกบั ผ้อู ่ืนในสังคม กำรทำ� งำนอยำ่ งมีสติ
คิดรอบคอบ ไม่ประมำท เหมำะสมกับวัย

ฯลฯ

20 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ข้อ ๑๐ รู้จักด�ารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด�ารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจ�าเปน มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือ
กแ็ จกจา่ ยจา� หนา่ ย และพรอ้ มทจ่ี ะขยายกจิ การเมอ่ื มคี วามพรอ้ ม เมอ่ื มภี มู คิ มุ้ กนั ทดี่ ี หมำยถงึ กำรดำ� เนนิ ชวี ติ
ตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งตำมพระรำชดำ� รสั ของพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั รชั กำลท ่ี ๙ ใหม้ คี วำม
พอประมำณ มีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ตลอดจนใช้ควำมรู้และคุณธรรมเพ่ือให้เกิดควำมสมดุล
และพรอ้ มรบั ตอ่ กำรเปลี่ยนแปลงในทุกดำ้ นทงั้ ดำ้ นเศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดล้อม และวฒั นธรรม

ตัวช้ีวัด ตัวอย่างพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก
๑๐.๑ มคี วำมพอประมำณ ๑๐.๑.๑ ร้จู กั อดออมไว้ใชย้ ำมจ�ำเป็น และเอ้อื เฟอ เผือ่ แผผ่ อู้ ืน่
๑๐.๑.๒ ใช้ทรัพยำกรของตนและสว่ นรวมอยำ่ งประหยดั คุ้มค่ำ
๑๐.๒ มีเหตุผล และเก็บรกั ษำดแู ลอย่ำงดี
๑๐.๑.๓ ไมเ่ อำเปรียบผอู้ นื่ ไมท่ ำ� ให้ตนเองและผ้อู ืน่ เดอื ดร้อน
๑๐.๓ มภี ูมิคุ้มกันในตัวท่ดี ี พร้อมใหอ้ ภัยเมือ่ ผ้อู น่ื กระท�ำผิดพลำด

ฯลฯ
๑๐.๒.๑ เลือกรบั ประทำนอำหำรหรอื ขนม เครื่องดม่ื ต่ำง ๆ
ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ รำ่ งกำย ไมเ่ กดิ โรคภัยตำมมำ
๑๐.๒.๒ ใช้และเลอื กใช้เครื่องอปุ โภคบรโิ ภคใหเ้ กดิ ประโยชน์
สูงสดุ ไม่นึกถึงแต่ควำมสะดวกสบำยอยำ่ งเดียว
๑๐.๒.๓ เลือกปฏิบตั ิกิจกรรมหรือชิ้นงำนท่เี หมำะสมกับ
ควำมสำมำรถของตนเอง และพัฒนำใหด้ ีย่งิ ข้นึ
บนพนื้ ฐำนของควำมรู้และคุณธรรม

ฯลฯ
๑๐.๓.๑ วำงแผนกำรเรยี น กำรท�ำงำน กำรใช้จำ่ ย
และกำรใชช้ วี ติ ประจำ� วันบนพน้ื ฐำนของควำมรู้
ข้อมลู ข่ำวสำร
๑๐.๓.๒ ร้เู ท่ำทนั กำรเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภำพแวดลอ้ ม

ยอมรบั และปรับตัวเพอื่ อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ืน่ ไดอ้ ย่ำงมีควำมสขุ
ฯลฯ

แนวทางการพฒั นาและประเมินคานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 21

ข้อ ๑๑ มคี วามเข้มแข็งทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออา� นาจฝายต่า� หรอื กิเลส มีความละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา หมำยถึง กำรปฏิบัติตนที่แสดงถึงกำรมีร่ำงกำยและจิตใจที่เข้มแข็ง
ม่นั คง มีควำมละอำยเกรงกลวั ต่อบำป

ตัวชว้ี ัด ตวั อย่างพฤติกรรมทแ่ี สดงออก
๑๑.๑ มสี ุขภำพรำ่ งกำยสมบูรณแ์ ข็งแรง ๑๑.๑.๑ นำ้� หนัก สว่ นสูงเป็นไปตำมเกณฑ์
๑๑.๑.๒ มีสมรรถนะทำงกำยเปน็ ไปตำมเกณฑ์
๑๑.๒ มจี ิตใจทเี่ ข้มแขง็ ม่นั คง ๑๑.๑.๓ ทนทำนต่อควำมเหน็ดเหนอื่ ย ควำมเจ็บปวด

ฯลฯ
๑๑.๒.๑ ควบคมุ อำรมณ์และกำรแสดงออกของตนเอง
ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม
๑๑.๒.๒ สำมำรถเอำชนะกเิ ลส คอื ควำมโลภ โกรธ หลง ได้
๑๑.๒.๓ คิดบวก คดิ ดี

ฯลฯ

๑๑.๓ มคี วำมละอำยเกรงกลวั ต่อบำป ๑๑.๓.๑ ปฏิบตั ิตนโดยคำ� นงึ ถึงควำมถูกตอ้ ง ละอำย
และเกรงกลวั ตอ่ กำรกระท�ำผดิ

ฯลฯ

ข้อ ๑๒ ค�านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง หมำยถึง
กำรปฏิบัติตนโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ต่อส่วนรวมและประเทศชำติ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือรักษำ
ประโยชนส์ ว่ นรวม

ตวั ชว้ี ัด ตวั อย่างพฤติกรรมทแี่ สดงออก

๑๒.๑ ปฏบิ ัติตนโดยคำ� นึงถงึ ผลประโยชน์ ๑๒.๑.๑ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมที่เปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชน
ของส่วนรวมและประเทศชำติ สังคม และประเทศชำติ

ฯลฯ

๑๒.๒ เสยี สละประโยชนส์ ว่ นตนเพ่อื รักษำ ๑๒.๒.๑ สละเวลำ ทรัพย์ สิ่งของ ควำมสขุ สว่ นตวั ทตี่ นพงึ ได้
ประโยชน์ส่วนรวม เพอ่ื ช่วยเหลือกิจกรรมของส่วนรวมโดยไม่หวัง
ส่งิ ตอบแทน
ฯลฯ

22 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ความสอดคลองระหวางคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
กับคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

คำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร สอดคลอ้ งกบั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ์ ๘ ประกำร ตำมหลกั สตู ร
แกนกลำงกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑ ดังตำรำงท่ี ๑.๑

ตารางที่ ๑.๑ แสดงควำมสอดคล้องระหว่ำงค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร กับคุณลักษณะ
อนั พึงประสงคต์ ำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน พุทธศกั รำช ๒๕๕๑

ค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

๑. มคี วำมรกั ชำต ิ ศำสนำ พระมหำกษตั รยิ ์ ๑. รักชำต ิ ศำสน ์ กษตั ริย์

๒. ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมกำรณ์ ๒. ซ่อื สตั ยส์ ุจริต
ในส่ิงทด่ี ีงำมเพอื่ ส่วนรวม ๖. มงุ่ มนั่ ในกำรท�ำงำน
๖.๑ ทำ� งำนดว้ ยควำมเพยี รพยำยำมและอดทน
เพื่อใหง้ ำนสำ� เรจ็ ตำมเปำ หมำย

๓. กตัญูต่อพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครูบำอำจำรย์ ๗. รักควำมเป็นไทย
๗.๑ ภำคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมคี วำม
กตัญูกตเวที

๔. ใฝหำควำมร้ ู หมนั่ ศึกษำเล่ำเรียนท้ังทำงตรง ๔. ใฝเรียนรู้
และทำงอ้อม

๕. รกั ษำวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงำม ๗. รักควำมเปน็ ไทย

๖. มีศีลธรรม รกั ษำควำมสัตย์ หวังดตี อ่ ผอู้ ืน่ ๒. ซื่อสัตยส์ จุ ริต
เผือ่ แผ่และแบ่งปนั

๗. เขำ้ ใจเรยี นรกู้ ำรเปน็ ประชำธปิ ไตย ๑. รักชำติ ศำสน ์ กษัตรยิ ์
อนั มพี ระมหำกษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ทถี่ กู ตอ้ ง ๑.๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นตำมสทิ ธแิ ละหนำ้ ทพ่ี ลเมอื งดี
ของชำติ
๓. มีวินัย
๓.๑ ปฏบิ ัติตำมข้อตกลง กฎเกณฑ ์ ระเบยี บ
ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 23

ค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

๘. มีระเบียบวนิ ัย เคำรพกฎหมำย ๓. มีวนิ ยั
ผู้น้อยรู้จักกำรเคำรพผ้ใู หญ่ ๗. รักควำมเปน็ ไทย
๗.๑.๑ แตง่ กำยและมมี ำรยำทงดงำมแบบไทย
มีสัมมำคำรวะ กตัญกู ตเวที
ตอ่ ผมู้ ีพระคณุ

๙. มีสตริ ูต้ ัว รู้คดิ ร้ทู ำ� รปู้ ฏิบตั ิตำมพระรำชด�ำรัส ๕. อยอู่ ยำ่ งพอเพียง
ของพระบำทสมเด็จพระเจำ้ อย่หู วั รชั กำลท่ี ๙

๑๐. รจู้ กั ด�ำรงตนอยโู่ ดยใช้หลักปรัชญำของ ๕. อยู่อย่ำงพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงตำมพระรำชดำ� รัสของ
พระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ วั รัชกำลที่ ๙
ร้จู กั อดออมไวใ้ ช้เม่อื ยำมจ�ำเป็น
มีไวพ้ อกินพอใช ้ ถ้ำเหลอื กแ็ จกจำ่ ยจ�ำหนำ่ ย
และพรอ้ มท่ีจะขยำยกิจกำรเมอ่ื มคี วำมพรอ้ ม
เมื่อมภี มู คิ ้มุ กนั ที่ดี

๑๑. มคี วำมเขม้ แข็งทง้ั รำ่ งกำยและจติ ใจ ๒. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต
ไมย่ อมแพต้ ่ออำ� นำจฝำยตำ�่ หรือกเิ ลส ๒.๑.๒ ปฏิบัตติ นโดยค�ำนึงถึงควำมถูกตอ้ ง
มคี วำมละอำยเกรงกลวั ตอ่ บำป ละอำยและเกรงกลวั ตอ่ กำรกระทำ� ผดิ
ตำมหลกั ของศำสนำ ๒.๒.๑ ไม่ถอื เอำสง่ิ ของหรอื ผลงำนของผ้อู น่ื
มำเป็นของตนเอง
๒.๒.๒ ปฏบิ ัติตนต่อผูอ้ น่ื ด้วยควำมซอ่ื ตรง
๒.๒.๓ ไม่หำประโยชน์ในทำงทไ่ี ม่ถกู ต้อง

๑๒. คำ� นงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องสว่ นรวมและของชำติ ๘. มจี ิตสำธำรณะ
มำกกวำ่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

หมายเหตุ นยิ ำม ตัวชวี้ ัด พฤติกรรมทแี่ สดงออกของคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ำมหลักสตู รแกนกลำง
กำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำนอยใู่ นภำคผนวก
จำกตำรำงที่ ๑.๑ จะเหน็ ควำมสอดคล้องระหว่ำงค่ำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร กับคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ในส่วนที่สอดคล้องกัน
กำรจัดกิจกรรมและประเมินผลสำมำรถด�ำเนินกำรไปด้วยกันได้ แต่ในส่วนท่ีไม่ปรำกฏในคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนให้สถำนศึกษำปฏิบัติตำมตัวอย่ำงแต่ละแนวทำง
ท่ีเสนอไว้ในตอนท่ ี ๓ ของเอกสำรเล่มนี้

24 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๓ตอนท่ี

ตัวอยำงกำรพัฒนำและประเมนิ คำนยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร

ตำมหนังสือส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๑๓๒๔ ลงวันที่ ๒๙
กนั ยำยน ๒๕๕๗ เรือ่ ง แนวปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั ค่ำนิยมหลกั ๑๒ ประกำรส่กู ำรปฏบิ ตั ิ สถำนศกึ ษำตอ้ งดำ� เนนิ กำร
ปลูกฝังและพฒั นำคำ่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำร ดังนนั้ สถำนศกึ ษำอำจเลอื กแนวทำงใดแนวทำงหน่งึ
หรือหลำยแนวทำงในกำรพัฒนำใหเ้ หมำะสมกับสภำพและบริบทของตนเอง
แนวทำงที่ ๑ บูรณำกำรเข้ำกบั กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทุกกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้
แนวทำงท ่ี ๒ บูรณำกำรในกำรจดั กิจกรรมพฒั นำผเู้ รียน
แนวทำงท ่ี ๓ สอดแทรกในกจิ วตั รประจำ� วนั ของสถำนศึกษำ
แนวทำงท่ ี ๔ จดั ท�ำโครงกำรเพือ่ ปลูกฝังและพฒั นำคำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร
ต่อไปนี้เป็นตัวอยำ่ งกำรพัฒนำและประเมินค่ำนยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ตำมแนวทำงข้ำงต้น

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 25

แนวทางที่ ๑ บูรณาการเขา กับการจดั การเรียนการสอนทุกกลมุ สาระการเรยี นรู

กำรพฒั นำและประเมนิ คำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร โดยกำรบรู ณำกำรเขำ้ กบั กำรจดั กำรเรยี น
กำรสอนทกุ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้ ู อำจดำ� เนนิ กำรได้ดังน้ี
๑. พจิ ำรณำโครงสร้ำงรำยวิชำวำ่ สำมำรถสอดแทรกคำ่ นยิ มใดไดบ้ ้ำง ในหน่วยกำรเรียนร้ใู ด แล้วปรับ
โครงสรำ้ งรำยวิชำน้นั
๒. ออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้และแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยสอดแทรกค่ำนิยมและตัวช้ีวัดตำมท่ีระบุ
ในโครงสร้ำงรำยวิชำท่ีปรับ
๓. ประเมินผลค่ำนิยมโดยด�ำเนินกำรตำมแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ แล้วรวบรวมผลกำรประเมินที่ได้
น�ำไปสรปุ เม่อื ส้นิ ภำคเรียน

26 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ตวั อยา่ ง
โครงสร้างรายวิชา

กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๒
รหัสวิชา ง๑๒๑๐๑ จ�านวน ๔๐ ชวั่ โมง

หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระส�าคัญ เวลา ชน้ิ งาน/ คา่ นิยม
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู/้ (ช่วั โมง) ภาระงาน ขอ้ ท่ี
รวบยอด
ตวั ชว้ี ัด

๑ เรียนร้งู ำนบำ้ น ง ๑.๑ ป.๒/๑ กำรท�ำงำนบำ้ นเพ่อื ชว่ ยเหลือ ๔ เขียนบนั ทกึ ขอ้ ๒
ง ๑.๑ ป.๒/๒ ตนเองและครอบครวั กำรช่วยเหลือ (๒.๒.๕)
ง ๑.๑ ป.๒/๓ ควรค�ำนึงถึงวธิ ีกำรทำ� งำน งำนบ้ำน ขอ้ ๓
กำรเลอื กใชว้ ัสด ุ อุปกรณ์ (๓.๑.๔)
และเครอ่ื งมอื ในกำรทำ� งำน ขอ้ ๘
ใหเ้ หมำะสมกับงำน (๘.๑.๑)
เพือ่ ควำมปลอดภยั
และประหยดั

๒ บ้ำนเรือนงำมตำ ง ๑.๑ ป.๒/๑ กำรท�ำงำนบ้ำนเพอ่ื ช่วยเหลือ ๖ กำรทำ� ควำม ข้อ ๒
ง ๑.๑ ป.๒/๒ ตนเองและครอบครวั สะอำดบ้ำนเรอื น (๒.๒.๕)
ง ๑.๑ ป.๒/๓ เป็นกำรท�ำงำนที่ตอ้ งใชท้ กั ษะ และตกแตง่ ข้อ ๓
ง ๒.๑ ป.๒/๑ กำรจดั กำร ทักษะกำรทำ� งำน ใหส้ ะอำด (๓.๑.๑)
รว่ มกัน ร้ปู ระโยชน์ของส่งิ ของ สวยงำม ขอ้ ๘
เครอื่ งใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวัน (๘.๑.๑)
กำรเลอื กใชว้ ัสดุ อุปกรณ์
และเคร่อื งมือในกำรท�ำงำน
มจี ิตสำ� นกึ ในกำรใชพ้ ลงั งำน
อย่ำงเหมำะสม ปลอดภัย
เพื่อกำรด�ำรงชีวิตและครอบครัว

๓ สนกุ กบั ง ๓.๑ ป.๒/๑ กำรสบื คน้ ขอ้ มูลโดยใช้ ๗ กำรสบื คน้ ข้อมลู ข้อ ๔
คอมพวิ เตอร์ ง ๓.๑ ป.๒/๓ กระบวนกำรทำงเทคโนโลยี ตำมควำมสนใจ (๔.๒)
คนละ ๑ เรือ่ ง
สำรสนเทศเพอื่ กำรเรียนรู้ โดยใช้
จำ� เปน็ ตอ้ งรูช้ ื่อและหนำ้ ท่ี คอมพวิ เตอร์
ของอุปกรณพ์ ้ืนฐำน
ที่เป็นสว่ นประกอบหลกั
ของคอมพิวเตอร์

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 27

หน่วย ช่อื หนว่ ย มาตรฐาน สาระส�าคัญ เวลา ชน้ิ งาน/ คา่ นิยม
ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้/ (ชัว่ โมง) ภาระงาน ขอ้ ท่ี
๔ ข้อมูลน่ำรู้ รวบยอด
ตวั ช้วี ดั
ง ๓.๑ ป.๒/๑ ขอ้ มลู บำงอยำ่ งมีทัง้ ประโยชน์ ๖ กำรรวบรวมข้อมูล ข้อ ๑๐
ง ๓.๑ ป.๒/๒ และโทษต่อกำรด�ำเนินชีวติ ตำมควำมสนใจ (๑๐.๒)
ดังนนั้ จงึ ต้องมีกำรพจิ ำรณำ ของนักเรียน (๑๐.๓)
เพอื่ ใหร้ ูเ้ ท่ำทันข้อมลู ขำ่ วสำร คนละ ๑ เรอื่ ง
รู้จกั เลอื กใช้ขอ้ มลู จำก
แหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ช่อื ถือได้
อยำ่ งมีเหตผุ ล เก็บรักษำ
แหล่งข้อมูลใหค้ งอยู่และ
ใช้งำนไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ
บงั เกิดผลตอ่ กำรด�ำเนินชวี ติ

๕ เกษตรครัวเรือน ง ๑.๑ ป.๒/๑ กำรท�ำงำนเพอ่ื ชว่ ยเหลือ ๗ ท�ำแปลงเกษตร ขอ้ ๑
ง ๑.๑ ป.๒/๒ ตนเองและครอบครัว ในครวั เรอื น (๑.๓.๗)
ง ๑.๑ ป.๒/๓ ควรค�ำนึงถึงกำรดำ� เนินชวี ิต อย่ำงน้อย ขอ้ ๒
ง ๒.๑ ป.๒/๔ ตำมหลักปรชั ญำของ คนละ ๑ แปลง (๒.๒.๕)
ง ๓.๑ ป.๒/๑ เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ ใหเ้ กิด ข้อ ๗
ควำมสมดุลพรอ้ มรับกำร (๗.๒.๔)
เปล่ยี นแปลงทำงด้ำนเศรษฐกจิ ข้อ ๙
และรูจ้ ักกำรเลือกใชข้ ้อมูล (๙.๑)
วสั ด ุ อุปกรณ ์ และเคร่ืองมือ ข้อ ๑๐
อยำ่ งสร้ำงสรรค ์ ประหยัด (๑๐.๒,
ปลอดภยั ๑๐.๓)

28 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

หน่วย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระส�าคัญ เวลา ช้ินงาน/ ค่านิยม
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนร้/ู (ช่ัวโมง) ภาระงาน ขอ้ ที่
รวบยอด
ตวั ชี้วัด

๖ ของเล่นแสนสนุก ง ๑.๑ ป.๒/๑ กำรประดษิ ฐข์ องเลน่ เอง ๕ ประดษิ ฐ์ของเล่น ขอ้ ๒
ง ๒.๑ ป.๒/๒ เป็นกำรชว่ ยเหลือครอบครวั ตำมควำมตอ้ งกำร (๒.๒,
ง ๒.๑ ป.๒/๓ ในกำรประหยดั และออม ๑ ชน้ิ ๒.๔)
ง ๒.๑ ป.๒/๔ ช่วยใหม้ ที ักษะกระบวนกำร ขอ้ ๗
ง ๓.๑ ป.๒/๑ ทำ� งำน มีควำมคิดริเรม่ิ (๗.๒.๔)
สร้ำงสรรค ์ รจู้ ักกำรแกป้ ัญหำ ข้อ ๙
บนหลักของเหตผุ ลและ (๙.๑.๑)
ตดั สินใจเลือกประดษิ ฐข์ องเล่น ขอ้ ๑๐
ทีเ่ หมำะสมกบั ควำมสำมำรถ
ของตนเอง และพัฒนำใหด้ ีย่งิ ขึ้น
บนพ้นื ฐำนของควำมรู้
และคุณธรรม

๗ ของใช้พำเพลิน ง ๑.๑ ป.๒/๑ กำรรจู้ กั ประดิษฐข์ องใชใ้ นชีวิต ๕ ประดษิ ฐข์ องใช้ ข้อ ๒
ง ๒.๑ ป.๒/๒ ประจำ� วนั ตำมควำมสำมำรถ ในชีวติ ประจำ� วัน (๒.๒,
ง ๒.๑ ป.๒/๓ ของตนเองอยำ่ งเปน็ ขั้นตอน คนละ ๑ ช้ิน ๒.๔)
ง ๒.๑ ป.๒/๔ และถ่ำยทอดควำมคดิ ข้อ ๗
ง ๓.๑ ป.๒/๑ เปน็ ภำพรำ่ ง ๒ มติ ิ (๗.๒.๔)
กอ่ นลงมือประดษิ ฐ์ ข้อ ๙
ชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลำและ (๙.๑.๑)
ท�ำงำนสำ� เรจ็ อย่ำงเปน็ ข้ันตอน
ตำมกระบวนกำรทำ� งำน

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 29

รหสั วชิ า ง๑๒๑๐๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง เรียนรู้งานบ้าน
ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๒
การงานอาชพี และเทคโนโลยี
จ�านวน ๔ ชว่ั โมง

๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั
สาระท่ี ๑ การดา� รงชวี ิตและครอบครวั
มาตรฐาน ง ๑.๑ เขำ้ ใจกำรทำ� งำน มคี วำมคดิ สรำ้ งสรรค ์ มที กั ษะกระบวนกำรทำ� งำน ทกั ษะกำรจดั กำร

ทกั ษะกระบวนกำรแกป้ ญั หำ ทกั ษะกำรทำ� งำนรว่ มกนั และทกั ษะกำรแสวงหำควำมร ู้ มคี ณุ ธรรม และลกั ษณะ
นสิ ยั ในกำรท�ำงำน มีจติ ส�ำนึกในกำรใช้พลังงำน ทรพั ยำกร และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือกำรดำ� รงชีวิตและครอบครัว

ตัวชวี้ ดั
ง ๑.๑ ป.๒/๑ บอกวธิ ีกำรและประโยชน์กำรท�ำงำนเพือ่ ชว่ ยเหลือตนเองและครอบครวั
ง ๑.๑ ป.๒/๒ ใช้วสั ด ุ อุปกรณ ์ และเครอื่ งมือในกำรทำ� งำนอย่ำงเหมำะสมกับงำนและประหยัด
ง ๑.๑ ป.๒/๓ ท�ำงำนเพื่อชว่ ยเหลอื ตนเองและครอบครวั อย่ำงปลอดภัย
๒. สาระส�าคญั /ความคดิ รวบยอด
กำรทำ� งำนบำ้ นเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ตนเองและครอบครวั ควรคำ� นงึ ถงึ วธิ กี ำรทำ� งำน กำรเลอื กใชว้ สั ด ุ อปุ กรณ ์
และเครื่องมอื ในกำรทำ� งำนใหเ้ หมำะสมกับงำน เพอื่ ควำมปลอดภัยและประหยัด
๓. สาระการเรียนรู้
กำรท�ำงำนเพ่ือช่วยเหลอื ตนเองและครอบครัว
- บทบำทหน้ำท่ขี องสมำชกิ ในบำ้ น
- กำรลำ้ งจำน
- กำรจดั วำงรองเทำ้ และเก็บเส้อื ผำ้
๔. สมรรถนะสา� คัญของผ้เู รียน
๔.๑ ควำมสำมำรถในกำรคิด
๔.๒ ควำมสำมำรถในกำรใชท้ ักษะชวี ติ
๕. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ขอ้ ๓ มีวนิ ัย
ข้อ ๖ มงุ่ ม่ันในกำรทำ� งำน
๖. คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
ขอ้ ๒ ซอ่ื สัตย ์ เสียสละ อดทน มีอุดมกำรณใ์ นสิง่ ท่ีดีงำมเพือ่ สว่ นรวม
(พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกข้อ ๒.๒.๕ ช่วยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครทู �ำงำน)

30 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

ขอ้ ๓ กตญั ูตอ่ พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครบู ำอำจำรย์
(พฤติกรรมทแ่ี สดงออกข้อ ๓.๑.๔ เอำใจใส ่ ดแู ล ช่วยเหลือพอ่ แม ่ ผ้ปู กครอง ครู อำจำรย)์
ข้อ ๘ มีระเบยี บวนิ ัย เคำรพกฎหมำย ผ้นู อ้ ยรู้จักกำรเคำรพผ้ใู หญ ่
(พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกข้อ ๘.๑.๑ ปฏิบตั ิตนตำมขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั
ของครอบครัว ห้องเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน ท้องถนิ่ สงั คม)
๗. ภาระงาน/ชน้ิ งาน

ภาระงาน
- นักเรียนท�ำงำนบ้ำนเพ่ือช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง อย่ำงน้อยคนละ ๑ อย่ำงตลอดภำคเรียน
แล้วเขียนบันทึกงำนที่ท�ำแต่ละวัน ข้ันตอนกำรท�ำงำนแต่ละอย่ำง และสรุปประโยชน์ของกำรท�ำงำน
เพ่ือช่วยเหลือพ่อแม ่ ผูป้ กครอง

ชิน้ งาน
- บนั ทึกกำรชว่ ยเหลืองำนบ้ำนตลอดภำคเรยี น
๘. ส่อื /แหล่งเรยี นรู้
๘.๑ สือ่ วดี ทิ ัศน์เก่ียวกบั กำรชว่ ยเหลืองำนบำ้ น
๘.๒ จำนท่ใี ช้แล้วและอุปกรณก์ ำรล้ำงจำน
๘.๓ ภำพกำรจัดเกบ็ เสือ้ ผำ้ ท่เี ปน็ ระเบียบและไม่เปน็ ระเบียบ
๘.๔ สถำนกำรณจ์ ำ� ลองกำรจัดเกบ็ เส้อื ผ้ำ
๘.๕ ทวี่ ำงรองเท้ำหนำ้ ห้องเรียน
๘.๖ แบบบันทึกกำรชว่ ยเหลืองำนบ้ำน
๙. การวัดและประเมนิ ผล

ท่ี รายการประเมนิ วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
๑ พฤติกรรมตำมตวั ช้ีวดั
- ตรวจบนั ทึกกำรช่วยเหลอื - แบบประเมนิ บนั ทึก ระดับพอใช้ข้นึ ไป
ของหนว่ ยและสมรรถนะ งำนบ้ำนของนักเรยี น กำรชว่ ยเหลืองำนบำ้ น ผ่ำน
สำ� คัญของผเู้ รยี น - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
กำรท�ำงำน กำรทำ� งำน

๒ พฤตกิ รรมทสี่ ะทอ้ นคำ่ นิยม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับพอใช้ขึน้ ไป
ข้อ ๒.๒.๕, ๓.๑.๔, ๘.๑.๑ ที่สะท้อนค่ำนยิ ม - ใชเ้ ครือ่ งมอื แบบ ผ่ำน
และคณุ ลักษณะ - ตรวจสอบจำกบนั ทึก ประเมินบนั ทกึ
อันพงึ ประสงค์ขอ้ ๓, ๖ กำรช่วยเหลืองำนบ้ำน เดียวกันกบั ขอ้ ๑

แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 31

แบบสังเกตพฤติกรรมการทา� งาน
ส�าหรับครู

ลา� ดับ รายการพฤตกิ รรมท่แี สดงออก ทกุ คร้งั การปฏบิ ัติ
ท่ี บางคร้ัง ไม่ปฏบิ ัติ

๑ มีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเหน็

๒ มคี วำมกระตือรอื รน้ ในกำรท�ำงำน

๓ รบั ผิดชอบในงำนที่ไดร้ บั มอบหมำย

๔ ท�ำงำนตำมขน้ั ตอนท่กี ำ� หนด

๕ ใช้เวลำในกำรท�ำงำนอย่ำงเหมำะสม

๖ ท�ำงำนดว้ ยควำมระมดั ระวงั ค�ำนงึ ถึงควำมปลอดภัย

๗ ทำ� งำนจนส�ำเร็จ

เกณฑ์การประเมิน
ดี หมำยถึง ปฏบิ ัติทุกรำยกำรทกุ ครง้ั
พอใช้ หมำยถงึ ปฏบิ ัตทิ ุกรำยกำร แต่บำงรำยกำรปฏบิ ตั เิ ป็นบำงครัง้
ปรบั ปรงุ หมำยถงึ ปฏบิ ัติไม่ครบทกุ รำยกำร

32 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมที่สะท้อนค่านยิ มและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ส�าหรับผูป้ กครอง

ล�าดบั รายการพฤตกิ รรมท่แี สดงออก การปฏิบัติ
ท่ี สม่า� เสมอ บางครงั้ ไม่ปฏบิ ัติ

๑ ชว่ ยเหลอื พ่อแม่ ผปู้ กครอง

๒ รบั ผดิ ชอบงำนทไ่ี ด้รับมอบหมำย

๓ ท�ำงำนทไ่ี ดร้ ับมอบหมำยจนส�ำเร็จ

๔ ปฏิบัตงิ ำนตำมขอ้ ตกลงของครอบครัว

ลงชือ่ ....................................................ผ้ปู ระเมิน
................./................./.................

เกณฑก์ ารประเมนิ
ดี หมำยถึง ปฏิบัติทกุ รำยกำรอยำ่ งสม่ำ� เสมอ
พอใช ้ หมำยถงึ ปฏิบตั ทิ ุกรำยกำร แต่บำงรำยกำรปฏิบตั เิ ป็นบำงครงั้
ปรบั ปรุง หมำยถึง ปฏบิ ัตไิ ม่ครบทกุ รำยกำร

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 33

เกณฑก์ ารประเมนิ ภาระงาน/ชนิ้ งาน “บนั ทึกการชว่ ยเหลืองานบา้ นของนักเรยี น”

รายการประเมนิ ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑)
บนั ทกึ กำรช่วยเหลอื
งำนบำ้ นของนกั เรียน บันทึกแสดงใหเ้ ห็นถงึ บนั ทึกแสดงใหเ้ หน็ ถึง บนั ทึกแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
กำรท�ำงำนบ้ำนทกุ วัน กำรท�ำงำนบ้ำน กำรทำ� งำนบำ้ น
ตลอดภำคเรียน ตลอดภำคเรยี น ตลอดภำคเรียน
บอกขัน้ ตอนกำรทำ� งำนบ้ำน แตไ่ มค่ รบทุกวัน แต่ไม่ครบทุกวัน
แตล่ ะอยำ่ งชดั เจน บอกข้ันตอนกำรทำ� งำนบ้ำน บอกขั้นตอนกำรท�ำงำนบำ้ น
และสรปุ ประโยชน์ แต่ละอยำ่ งชัดเจน แตล่ ะอย่ำงไม่ชดั เจน
ของกำรช่วยเหลอื งำนบ้ำน และสรปุ ประโยชน์ และไม่สรุปประโยชน์
ของกำรช่วยเหลืองำนบำ้ น ของกำรช่วยเหลืองำนบำ้ น

๑๐. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ ๑ เร่อื ง บทบำทหน้ำที่ของสมำชกิ ในบ้ำน
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

บอกวิธกี ำรและประโยชน์ในกำรท�ำหนำ้ ท่ีของสมำชิกในบำ้ น
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ น�าเขา้ สู่บทเรยี น

๑. ครสู นทนำถงึ หน้ำที่ของนกั เรยี นในบำ้ น
๒. ครตู ัง้ คำ� ถำมให้นักเรยี นตอบเก่ยี วกบั บทบำทหน้ำทข่ี องสมำชกิ ในบำ้ นและวิธีกำรช่วยเหลืองำนบำ้ น

ขั้นสอน
๑. ใหน้ กั เรยี นดสู ่อื วีดิทศั น์เก่ียวกับกำรชว่ ยเหลอื งำนบ้ำน
๒. นักเรียนจับคู่และช่วยกันอภิปรำยถึงกำรช่วยเหลืองำนบ้ำนจำกกำรดูส่ือวีดิทัศน์ และเขียนสรุป
ถงึ ประโยชนข์ องกำรช่วยเหลอื พอ่ แม ่ และกำรทำ� หนำ้ ทข่ี องสมำชกิ ในบ้ำน

ขน้ั สรุป
๑. สุ่มนักเรียนน�ำเสนอประเด็นท่ีนักเรียนเขียนสรุปถึงประโยชน์ของกำรช่วยเหลือพ่อแม่ และกำรท�ำ
หนำ้ ทข่ี องสมำชกิ ในบำ้ น
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป โดยกำรเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของกำรช่วยเหลือพ่อแม่
และกำรทำ� หน้ำท่ีของสมำชิกในบำ้ น

34 แนวทางการพฒั นาและประเมินคา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

ภาระงาน/ชิน้ งาน
- เขียนสรุปเร่ืองที่ได้จำกกำรดูสื่อวีดิทัศน์ที่สะท้อนถึงวิธีกำรช่วยเหลืองำนบ้ำนและประโยชน์ในกำร
ทำ� หน้ำท่ีของสมำชกิ ในบ้ำน

สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้
ส่อื วีดิทัศน์เรื่องเก่ียวกบั กำรช่วยเหลอื งำนบำ้ น

การวัดและประเมนิ ผล

ที่ รายการประเมิน วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
แบบตรวจผลงำน ระดบั พอใช้ข้ึนไป
๑ เขียนสรุปเรือ่ งท่ไี ดจ้ ำก ตรวจผลงำนเขยี น
กำรดสู ่ือวีดิทัศนท์ สี่ ะทอ้ นถึง ผ่ำน
วธิ ีกำรช่วยเหลอื งำนบ้ำน
และประโยชนใ์ นกำรทำ� หนำ้ ท่ี
ของสมำชกิ ในบำ้ น

เกณฑ์การประเมนิ
กำรเขยี นสรุป เร่อื ง “วธิ กี ำรชว่ ยเหลืองำนบ้ำนและประโยชนใ์ นกำรท�ำหนำ้ ทีข่ องสมำชกิ ในบำ้ น”

รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑)
กำรเขยี นสรปุ วิธกี ำร เขยี นเข้ำใจง่ำย
ช่วยเหลอื งำนบ้ำนและ แสดงให้เห็นถงึ วิธกี ำร เขียนวกวน เขียนวกวน
ประโยชน์ในกำรทำ� หน้ำที่ ช่วยเหลอื งำนบ้ำน แตแ่ สดงให้เห็นถงึ วธิ กี ำร แต่ยงั จบั ประเดน็ ไดถ้ งึ วิธกี ำร
ของสมำชิกในบ้ำน และบอกประโยชนข์ อง ชว่ ยเหลอื งำนบำ้ น ชว่ ยเหลอื งำนบำ้ น
กำรท�ำหน้ำทส่ี มำชกิ ทด่ี ี และบอกประโยชน์ ไม่บอกประโยชน์
ในบ้ำนไดช้ ัดเจน ของกำรท�ำหนำ้ ทีส่ มำชกิ ท่ดี ี ของกำรทำ� หนำ้ ทส่ี มำชกิ ทดี่ ี
ในบ้ำนได้ ในบำ้ นหรอื บอกได้
ไมช่ ดั เจน

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 35

ชัว่ โมงท่ี ๒ เรอ่ื ง กำรล้ำงจำน
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. อธบิ ำยขัน้ ตอนและวธิ ลี ้ำงจำนได ้
๒. ลำ้ งจำนได้สะอำด และถกู ต้องตำมขัน้ ตอน
๓. ใช้วสั ด ุ อุปกรณ์ และเครอ่ื งมือในกำรล้ำงจำนได้อยำ่ งเหมำะสมและประหยดั
๔. ทำ� งำนเพ่อื ชว่ ยเหลือครอบครัวได้อยำ่ งปลอดภยั
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ น�าเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. ครูให้นักเรยี นดจู ำนที่ใช้แล้ว (สกปรก)
๒. ให้นักเรียนแสดงควำมคิดเห็นร่วมกันว่ำ ถ้ำต้องกำรให้จำนสะอำดนักเรียนจะต้องท�ำอย่ำงไร
และจำนทสี่ ะอำดควรมีลักษณะอยำ่ งไร
ขั้นสอน
๑. นักเรยี นจบั คู่ช่วยกนั คดิ วธิ ีกำรทำ� ใหจ้ ำนสะอำด พรอ้ มเขยี นขัน้ ตอนกำรล้ำงจำน
๒. นกั เรียนชว่ ยกันล้ำงจำนตำมวธิ กี ำรทนี่ ักเรียนช่วยกนั คิด
๓. ครสู ังเกตและบันทกึ พฤตกิ รรมกำรทำ� งำนของนักเรียน
๔. นักเรยี นแตล่ ะคู่ประเมนิ ผลส�ำเร็จของงำนเปรยี บเทยี บกับวิธกี ำรและขั้นตอนกำรลำ้ งจำนที่นกั เรยี น
ช่วยกนั กำ� หนดไว้ และจดบนั ทึกผลกำรประเมนิ
๕. นักเรยี นน�ำจำนท่ลี ้ำงแล้วมำจัดแสดงหน้ำหอ้ งเรยี นเพื่อให้เพอ่ื น ๆ ดู
๖. ให้นกั เรียนแตล่ ะคู่ประเมินผลงำนของเพื่อน
๗. คู่ที่ได้คะแนนกำรประเมินมำกท่ีสุด และคู่ท่ีได้คะแนนกำรประเมินน้อยที่สุด น�ำเสนอวิธีกำรและ
ขนั้ ตอนกำรลำ้ งจำน และผลกำรประเมนิ ตนเอง
ข้ันสรุป
๑. นกั เรยี นและครูชว่ ยกนั สรุปวิธีกำรและขน้ั ตอนกำรล้ำงจำน โดยกำรต้ังประเด็นค�ำถำมต่อไปน้ี
๑.๑ กำรล้ำงจำนท่ถี กู วธิ ีควรท�ำอยำ่ งไร และใช้วสั ด ุ อปุ กรณอ์ ะไรบำ้ ง
๑.๒ ประโยชน์และข้อควรระวังท่ีได้จำกกำรล้ำงจำนมีอะไรบ้ำง (ค�ำตอบ คือ ได้ช่วยเหลือพ่อแม ่
ยำย ย่ำ คร ู ได้จำนทสี่ ะอำด ฯลฯ)
๑.๓ จำกกำรที่นักเรียนได้ท�ำกิจกรรมน้ี ตรงกับค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำรในข้อใด
(ค�ำตอบ คอื ขอ้ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๘)
๑.๔ นักเรียนชว่ ยพ่อแมท่ ำ� อะไรไดอ้ กี นอกจำกกำรล้ำงจำน
๒. นกั เรยี นจับค่เู ขยี นอธบิ ำยขัน้ ตอนของกำรลำ้ งจำนและประโยชนท์ ีไ่ ด้จำกกำรล้ำงจำน
๓. ให้นักเรียนคิดว่ำมีงำนบ้ำนอะไรบ้ำงที่จะช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง และวำงแผนกำรท�ำงำน
เพอื่ ชว่ ยเหลอื พอ่ แม ่ ผปู้ กครอง แลว้ เขยี นบนั ทกึ ประจำ� วนั ทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ กำรทำ� งำนบำ้ นทกุ วนั ตลอดภำคเรยี น
โดยบอกขน้ั ตอนกำรทำ� งำนบ้ำนแต่ละอยำ่ ง และสรุปประโยชน์ของกำรช่วยเหลือลงในแบบบนั ทึกท่คี รูแจก
36 แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้
๑. จำนทใี่ ช้แล้ว (สกปรก) อุปกรณ์กำรลำ้ งจำน
๒. แบบบนั ทึกประจ�ำวัน

การวัดและประเมนิ ผล

ที่ รายการประเมนิ วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
๑ เขยี นอธิบำยข้นั ตอนของ ตรวจผลงำนกำรเขียน เกณฑก์ ำรตรวจ ระดับพอใช้ข้นึ ไป
ผลงำนกำรเขียน
กำรล้ำงจำนและประโยชน์ - สังเกตพฤติกรรม ผ่ำน
ท่ไี ดจ้ ำกกำรล้ำงจำน กำรล้ำงจำน
- ตรวจผลงำน - แบบสังเกตกำรทำ� งำน ระดับพอใชข้ ้นึ ไป
๒ คณุ ภำพของกำรลำ้ งจำน - เกณฑ์กำรตรวจผลงำน ผำ่ น

เกณฑก์ ารประเมนิ งานเขยี นและการท�าความสะอาดจาน

รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรงุ (๑)
เขียนอธิบำยขัน้ ตอน
ของกำรลำ้ งจำน เขียนแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ขั้นตอน เขยี นแสดงให้เหน็ ถึงขัน้ ตอน ลำ� ดับข้ันตอนกำรน�ำเสนอ
และประโยชน์ทีไ่ ด้ กำรล้ำงจำนที่ถกู ต้อง กำรล้ำงจำนท่ีถกู ต้อง ไมช่ ัดเจน กำรน�ำเสนอ
จำกกำรลำ้ งจำน บอกประโยชน์ทไ่ี ด้ แตไ่ ม่ครบขนั้ ตอน ไม่แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ขนั้ ตอน
จำกกำรล้ำงจำนชดั เจน บอกประโยชน์ที่ได้ กำรลำ้ งจำนท่ีถกู ตอ้ ง
จำกกำรล้ำงจำน และไมบ่ อกประโยชนท์ ่ีได้
จำกกำรลำ้ งจำน

คุณภำพของกำรลำ้ งจำน จำนสะอำดไร้กลนิ่ จำนสะอำดแตม่ ีกลน่ิ จำนไมส่ ะอำดและมกี ล่ิน
หรือจำนไมส่ ะอำด
แตไ่ ม่มกี ลิน่

แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 37

ช่วั โมงท่ี ๓-๔ เรอ่ื ง กำรจัดวำงรองเท้ำและเก็บเสื้อผ้ำ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. อธิบำยขนั้ ตอนวธิ กี ำรจดั วำงรองเท้ำและเก็บเสื้อผำ้ ได้
๒. จัดวำงรองเท้ำไดเ้ ปน็ ระเบียบเรียบร้อย
๓. เก็บเส้อื ผ้ำไดถ้ ูกตอ้ งตำมขั้นตอนและเป็นระเบียบ
๔. บอกประโยชนข์ องกำรท�ำงำนบำ้ นได้
๕. ทำ� งำนเพื่อช่วยเหลอื ตนเองไดอ้ ย่ำงปลอดภยั
กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันนา� เขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. ให้นักเรียนสงั เกตกำรวำงรองเท้ำหนำ้ ห้องเรียนตวั เองและห้องเรยี นอ่ืน
๒. อภิปรำยวิธีกำรวำงรองเท้ำหน้ำห้องเรียนที่นักเรียนไปสังเกตมำในประเด็นต่อไปนี้ (ลักษณะ
กำรจดั วำงรองเทำ้ เปน็ อย่ำงไร ถำ้ จะให้ดูเปน็ ระเบยี บ สวยงำม ควรมกี ำรจดั วำงอย่ำงไร)
๓. ครนู ำ� ภำพกำรจดั เก็บเส้อื ผำ้ ท่ีเปน็ ระเบียบและไม่เปน็ ระเบียบให้นกั เรียนด ู (หลำย ๆ ภำพ) ซักถำม
นักเรยี นว่ำบ้ำนใครจัดเกบ็ เส้อื ผำ้ แบบภำพใดบำ้ ง
ข้ันสอน
๑. แบง่ นกั เรยี นออกเป็น ๔ กลมุ่ สมำชกิ ในกลมุ่ ตำมควำมเหมำะสม
๒. แตล่ ะกลมุ่ เลอื กประธำนและเลขำนกุ ำรกลมุ่ แลว้ สมำชกิ กลมุ่ รว่ มกนั สรำ้ งขอ้ ตกลงในกำรปฏบิ ตั งิ ำน
๓. ครูกำ� หนดสถำนกำรณก์ ำรจัดวำงรองเท้ำและกำรเกบ็ เสื้อผ้ำ อยำ่ งละ ๒ สถำนกำรณ์
๔. นกั เรยี นชว่ ยกันปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตำมสถำนกำรณ์ทีค่ รูกำ� หนด กลุ่มที ่ ๑ และกลมุ่ ที ่ ๒ จัดวำงรองเทำ้
กลมุ่ ท่ี ๓ และกลุ่มท่ ี ๔ จดั เกบ็ เส้อื ผำ้
๕. ครสู งั เกตพฤตกิ รรมกำรปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ พรอ้ มจดบนั ทกึ พฤตกิ รรมกำรทำ� งำน
ของนกั เรยี น
ข้นั สรปุ
๑. นกั เรยี นกลุ่ม ๑ และ ๒, กลุม่ ๓ และ ๔ แลกเปลีย่ นวธิ กี ำรและข้นั ตอนกำรปฏิบตั งิ ำน
๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รำยถงึ แนวคดิ วธิ กี ำรทไ่ี ดจ้ ำกกำรแลกเปลย่ี นกบั กลมุ่ เพอ่ื นมำพฒั นำงำน
ของกลุ่มตวั เอง
๓. นักเรียนน�ำเสนอวิธีกำรและขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนของกลุ่มตนเอง (โดยครูเน้นย้�ำกติกำ ดังน้ ี
ฟังอย่ำงต้ังใจขณะที่เพอ่ื นนำ� เสนอ ซกั ถำมในประเดน็ ทสี่ นใจ เสนอแนวคิดเพือ่ กำรพัฒนำ)
38 แนวทางการพัฒนาและประเมินคา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

๔. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป เร่ือง กำรจัดวำงรองเท้ำและเก็บเสื้อผ้ำ โดยกำรตั้งประเด็นค�ำถำม
ต่อไปนี้
๔.๑ นกั เรียนมวี ธิ กี ำรหรอื ข้ันตอนในกำรจัดวำงรองเทำ้ และเก็บเส้ือผ้ำอยำ่ งไรจึงจะเปน็ ระเบียบ
๔.๒ นักเรียนได้ประโยชน์อย่ำงไรบ้ำงจำกกำรจัดวำงรองเท้ำและเก็บเสื้อผ้ำ (ได้ช่วยเหลือพ่อแม่
ยำย ยำ่ ผปู้ กครอง เปน็ หน้ำท่ขี องตนเองทตี่ อ้ งทำ� ฯลฯ)
๔.๓ จำกกำรที่นักเรียนได้ท�ำกิจกรรมน้ี ตรงกับค่ำนิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประกำรในข้อใด
(ในกรณที ีน่ ักเรยี นไมเ่ ขำ้ ใจคำ่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ครอู ำจยกตัวอย่ำงให้นกั เรียนเลอื ก)
๕. นักเรียนเขียนสรุปส่ิงที่ได้จำกกำรปฏิบัติกิจกรรมกำรจัดวำงรองเท้ำและเก็บเสื้อผ้ำ โดยให้เขียน
ครอบคลุมถึงวิธีกำร ข้ันตอน อุปกรณ์ท่ีใช้ประโยชน์ และข้อควรระวัง แล้วแสดงควำมคิดเห็นท่ีเป็น
กำรสะทอ้ นถงึ คำ่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประกำร ในข้อ ๒ ข้อ ๓ และข้อ ๘
๖. ให้นักเรียนก�ำหนดงำนบ้ำนที่จะท�ำเพื่อช่วยเหลือพ่อแม่ ผู้ปกครอง อย่ำงน้อยคนละ ๑ อย่ำง
แลว้ กลบั ไปท�ำงำนทีบ่ ำ้ นเป็นเวลำ ๑ เดอื น แลว้ เขยี นบันทึกวธิ ีกำรทำ� งำนบ้ำนพร้อมประโยชน์ท่ไี ด้รับ

สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้
๑. ท่ีวำงรองเท้ำหนำ้ ห้องเรียน
๒. รูปภำพกำรจดั เกบ็ เสอ้ื ผ้ำที่เป็นระเบียบและไม่เป็นระเบยี บหลำย ๆ แบบ
๓. สถำนกำรณจ์ ำ� ลองกำรจดั วำงรองเท้ำ ๒ แบบ
๔. สถำนกำรณจ์ �ำลองกำรจัดเกบ็ เสอ้ื ผำ้ ๒ แบบ

การวดั และประเมินผล

ท่ี รายการประเมนิ วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
๑ อธบิ ำยข้ันตอนและวธิ ีกำร เขยี นขั้นตอนกำรจดั วำง แบบประเมินกำรเขียน ระดับพอใช้ขนึ้ ไป
รองเท้ำ จัดเก็บเส้อื ผำ้
จดั วำงรองเท้ำ เกบ็ เสอ้ื ผ้ำ บอกประโยชน์ท่ไี ด้จำก ผำ่ น
กำรจัดวำงรองเทำ้
๒ กำรจดั วำงรองเทำ้ เกบ็ เส้อื ผำ้
และเกบ็ เสือ้ ผำ้
ได้ถูกตอ้ งตำมขน้ั ตอน - สังเกตพฤติกรรมกำรจัดวำง แบบสังเกต ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป
และเปน็ ระเบียบ รองเท้ำและเก็บเสื้อผ้ำ ผ่ำน
- ตรวจผลงำนกำรจดั วำง แบบตรวจผลงำน
รองเทำ้ และเกบ็ เสอื้ ผ้ำ

แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ 39

เกณฑ์การประเมนิ การเขยี นวธิ ีการและประโยชนใ์ นการจัดวางรองเทา้ เก็บเสื้อผ้า

รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
อธบิ ำยข้ันตอนและวธิ กี ำร
จัดวำงรองเทำ้ เกบ็ เสอื้ ผำ้ เขียนอำ่ นเข้ำใจง่ำย ไม่วกวน เขยี นวกวน แตอ่ ำ่ นจบั ใจควำม เขยี นวกวน อำ่ นไม่เขำ้ ใจ
แสดงวธิ กี ำรและข้นั ตอน ไดถ้ ึงวิธกี ำรและขน้ั ตอน
กำรจดั วำงรองเทำ้ กำรจัดวำงรองเทำ้
เกบ็ เส้อื ผำ้ ไดช้ ัดเจน เก็บเสื้อผ้ำ บอกประโยชน์
บอกประโยชนท์ ่ีไดจ้ ำก ที่ไดจ้ ำกกำรจดั วำงรองเทำ้
กำรจดั วำงรองเทำ้ เกบ็ เสือ้ ผ้ำ เก็บเสือ้ ผำ้

กำรจดั วำงรองเท้ำ มีกำรแบง่ งำนกนั ทำ� มกี ำรแบง่ งำนกนั ทำ� ไม่มกี ำรแบ่งงำนกันท�ำ
และเกบ็ เส้อื ผ้ำไดถ้ ูกต้อง ปฏิบัติกิจกรรมได้ถูกตอ้ ง ปฏิบตั กิ ิจกรรมได้ถูกตอ้ ง ปฏบิ ัติกิจกรรมไดถ้ ูกต้อง
ตำมขัน้ ตอนและ ตำมขั้นตอนและ ตำมข้ันตอน แต่ไมเ่ ปน็ ไปตำมขน้ั ตอน
เป็นระเบยี บ เป็นระเบียบสวยงำม แตไ่ ม่เปน็ ระเบียบ และไม่เปน็ ระเบยี บ

40 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คานยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ

แบบสรุปการสังเกตพฤตกิ รรมการท�างาน
ส�าหรับครู

ค�าชแ้ี จง ใหค้ รนู �ำผลกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรทำ� งำนของนกั เรียนแต่ละคร้งั มำสรุปลงในตำรำงตอ่ ไปนี้

ลา� ดับ รายการพฤตกิ รรมท่ีแสดงออก การปฏิบตั ิ
ที่ ทุกครั้ง บางครัง้ ไม่ปฏบิ ัติ

๑ มีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเหน็

๒ มคี วำมกระตือรือรน้ ในกำรทำ� งำน

๓ รับผิดชอบในงำนทไี่ ดร้ ับมอบหมำย

๔ ทำ� งำนตำมขน้ั ตอนทก่ี �ำหนด

๕ ใช้เวลำในกำรทำ� งำนอย่ำงเหมำะสม

๖ ท�ำงำนดว้ ยควำมระมดั ระวงั คำ� นงึ ถึงควำมปลอดภัย

๗ ทำ� งำนจนส�ำเร็จ

เกณฑก์ ารประเมิน
ด ี หมำยถงึ ปฏบิ ตั ิทกุ รำยกำรทกุ ครงั้
พอใช้ หมำยถงึ ปฏิบตั ิทุกรำยกำร แตบ่ ำงรำยกำรปฏบิ ตั ิเปน็ บำงครัง้
ปรับปรุง หมำยถงึ ปฏิบตั ไิ ม่ครบทกุ รำยกำร

แนวทางการพัฒนาและประเมินคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 41

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังสอน
ผลกำรเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหำและอปุ สรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแกไ้ ข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..........................................ผู้สอน
(..........................................)
วันท.่ี ...........................................

๑๒. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผูท้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ...........................................ผบู้ รหิ ำร
(..........................................)
วันที่..............................................

42 แนวทางการพฒั นาและประเมนิ คา นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ


Click to View FlipBook Version