The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR นางสาวอัมพร พละโพธิ์ 2-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ao230333, 2021-09-09 01:36:05

SAR นางสาวอัมพร พละโพธิ์ 2-2564

SAR นางสาวอัมพร พละโพธิ์ 2-2564

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report)
ประกอบเล่อื นขัน้ เงนิ เดือน ครงั้ ที่ 2/๒๕๖4

ชอ่ื นางสาวอัมพร พละโพธ์ิ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว
โรงเรียนปากเกรด็ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ

ตอนที่ ๑: ขอ้ มลู ส่วนตัว

๑.๑ขอ้ มลู ทวั่ ไป

ช่ือ นางสาว อมั พร นามสกุล พละโพธิ์ อายุ ๓1 ปี

ตาแหน่ง ครู ตาแหนง่ เลขที่ ๑๖๓๙๖

สถานศกึ ษา/หนว่ ยงานการศกึ ษา โรงเรียนปากเกรด็ เขต/อาเภอ ปากเกร็ด

จงั หวัด นนทบุรี สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต ๓

สงั กดั ส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

รับเงนิ เดอื นอันดับ คศ. - ขนั้ /เงินเดอื น ๑9,62๐ บาท

เลขประจาตัวประชาชน ๑-๑๖๐๒-๐๐๐๗๖-๒๙๖ เกษียณอายรุ าชการ เมื่อวนั ที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๙๓

เคร่ืองราชสงู สดุ - วุฒิทางลูกเสอื BTC

วนั เรมิ่ เข้ารบั ราชการ ๓ มกราคม ๒๕๖๑

มาปฏบิ ัตริ าชการเป็นการประจาทีโ่ รงเรียนปากเกร็ด เม่ือ ๓ มกราคม ๒๕๖๑

๑.๒ วุฒกิ ารศกึ ษา

ระดับการศึกษา สาขา สถาบนั ปีการศกึ ษาที่จบ

ระดับปรญิ ญาตรี จติ วทิ ยาและการแนะแนว มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เทพสตรี ๒๕๕๕

ระดับปริญญาโท - --

ระดบั ปริญญาเอก - --

๑.๓ ประวตั กิ ารรับราชการ ตาแหนง่ หนว่ ยงาน/สังกัด หมายเหตุ
วัน เดือนปี ครผู ู้ช่วย โรงเรียนปากเกร็ด
โรงเรียนปากเกร็ด
๓ มกราคม ๒๕๖๑ ครู
4 มกราคม 2563

๑.๔ ประวัตกิ ารเล่อื นข้ันเงินเดือน ๕ ปี ยอ้ นหลัง

วนั เดือน ปี ตาแหนง่ /อนั ดบั /วิทยฐานะ / สงั กัด อตั ราเงนิ เดือน เอกสารอ้างองิ
๑๖,๕๗๐ กพ. ๗
๑ ต.ค. ๖๑ ครูผู้ช่วย โรงเรียนปากเกรด็ ๑๗,๐๗๐ กพ.๗
๑๗.๕๗๐ กพ.๗
๑ เม.ย. ๖๒ ครูผชู้ ว่ ย โรงเรยี นปากเกร็ด ๑๘,๓๓๐ กพ.๗
๑๘,99๐ กพ.๗
๑ ต.ค. ๖๒ ครผู ้ชู ว่ ย โรงเรยี นปากเกรด็ 19,620 กพ.๗

๑ เม.ย. ๖๓ ครู โรงเรียนปากเกร็ด

1 ต.ค. 63 ครู โรงเรียนปากเกร็ด

1 เม.ย. 64 ครู โรงเรยี นปากเกรด็

๑.๕ ประวตั กิ ารรักษาวินยั ของทางราชการ
๑)ในครึ่งปที ี่แลว้ มามวี ัน ลากิจ........คร้งั ...-....วนั ลาปว่ ย...-......คร้ัง....-.....วนั

ลาคลอด...1......ครัง้ ....90.....วนั รวมลา...1.....ครัง้ .....90.....วนั
๒) ในคร่งึ ปที แี่ ล้วมาจนถงึ ปจั จบุ นั

ก. ไดร้ บั อนุญาตใหไ้ ปศกึ ษาในประเทศหรอื ไปศึกษา ฝึกอบรม หรือดูงาน ณ ตา่ งประเทศ
ตง้ั แต่วนั ท.่ี .....-...เดือน.............-.............พ.ศ....-.........
ข. กลับจากศึกษาตอ่ ฝึกอบรมหรือดูงาน ณ ต่างประเทศ ตัง้ แตว่ นั ท่.ี .-.....เดอื น...-.......พ.ศ......-.......

๓) ในคร่งึ ปที แี่ ลว้ มาจนถงึ ปัจจบุ ัน (ดา้ นการมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ )
(๑) การถกู ลงโทษทางวินยั

√ ไม่ถกู ลงโทษ
 ถูกลงโทษ สถานโทษ........... ............. คาสง่ั ...... ........เลขที่............/.............
ลงวันท.่ี ................................... ตง้ั แต่วนั ท.่ี ...................ถงึ วนั ท่.ี ..........................

(๒) การถกู ลงโทษทางจรรยาบรรณวชิ าชีพ
√ ไม่ถูกลงโทษ

 ถกู ลงโทษ สถานโทษ.......... ............... คาสั่ง......... ..........เลขท.่ี .........../.............
ลงวันท.่ี ................................... ตงั้ แตว่ ันที.่ ...................ถึงวนั ที่...........................

๑.๖ ประวตั ิการฝึกอบรมและการศกึ ษาดูงานในรอบ ๕ ปี ยอ้ นหลัง

๑) การฝกึ อบรม ทว่ั ไป

วัน เดอื น ปี รายการฝึกอบรม พัฒนา หนว่ ยงานท่จี ัด
โรงเรยี นนวมนิ
๑๒ มนี าคม ๒๕๖๑ การอบรมเชิงปฏิบตั ิการตามโครงการคุณธรรมของครู ทราชินทู ศิ หอวัง นนทบรุ ี

นาสโู่ ครงการ สืบสานความดี “พัฒนาครูตน้ แบบผู้มี โรงเรียนปากเกร็ด
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม”

๑๙-๒๓ มนี าคม การปฏบิ ัติ “บวชเนกขมั มะบารมี หลักสตู รค่ายพุทธ

๒๕๖๑ บตุ ร” ร่นุ ท่ี ๑

๑๔ มีนาคม ๒๕๖๑ การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารข้าราชการครโู รงเรียนปาก โรงเรียนปากเกร็ด
เกรด็ เรื่อง การบริหารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ัด คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลุ่มสังคมฯ ฉบับ
ปรบั ปรุง ๒๕๖๑

๙-๑๐ เมษายน ๒๕๖๑ โครงการจัดทาแผนปฏบิ ัติการ ประจาปีการศึกษา โรงเรยี นปากเกร็ด
๒๕๖๑

๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ การจัดอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เพอ่ื ส่งเสริมความเข้าใจ โรงเรียนปากเกรด็
และการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชนแหง่ การเรียนรู้
ทางวิชาชีพ (PLC) ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

วัน เดือน ปี รายการฝึกอบรม พฒั นา หน่วยงานท่จี ดั

๑๘-๒๐ พฤษภาคม โครงการพัฒนาบุคลากร / กจิ กรรมอบรมครูและ โรงเรยี นสะอาดเผดมิ วิทยา

๒๕๖๑ ศกึ ษาดูงาน จ.ชุมพร

เพอื่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการของครูและ

บคุ ลากรทางการศกึ ษา โรงเรยี นปากเกรด็ ณ โรงเรยี น

สะอาดเผดิมวทิ ยา อ.เมอื ง จ.ชุมพร

๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ อบรมหลักสูตร จติ วทิ ยาการปรึกษา : ทักษะการ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

๑-๗ กรกฎาคม ปรกึ ษาเบือ้ งตน้ สาหรบั ครู ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑

๒๕๖๑

๒๕-๒๖ กรกฎาคม อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพครอบครัว โรงพยาบาลศรีธญั ญา

๒๕๖๑ และครู ในการดูแลเด็กและวัยรุน่ ท่ีมพี ฤตกิ รรม

รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน

๘ กันยายน ๒๕๖๑ โครงการคา่ ยพฒั นาเยาวชนผนู้ าดา้ นคณุ ธรรมสู่สงั คม โรงเรยี นปากเกรด็

(อบรมพัฒนาจรยิ าคณุ ให้ผนู้ าเยาวชน)

๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๑ อบรม การชแ้ี จง้ ระบบคดั เลือกเขา้ ศึกษาใน กรุงเทพ ฯ

สถาบนั อุดมศกึ ษาระบบกลาง (TCAS)

๒๔ พฤศจิกายน การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ การพฒั นาสมรรถนะครู หอประชมุ ชนั้ ๓โรงเรยี น

๒๕๖๑ โรงเรียนปากเกร็ด ปากเกรด็

๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๑ การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร เสริมสร้างศักยภาพครู สู่มอื หอประชุมชน้ั ๓โรงเรียน

อาชีพในศตวรรษที่ ๒๑ ปากเกรด็

๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เข้ารว่ มการอบรมเร่ืองสถาบนั พระมหากษัตรยิ ก์ ับ ณ หอประชุม

ประเทศไทย โดยวิทยากรจากหลกั สตู รจิตอาสา ๙๐๔ อเนกประสงค์วัดบางบัว

“หลักสตู รหลกั ประจา” รนุ่ ที่ ๒/๖๑ “เป็นเบ้า เป็น ทอง

แม่พิมพ์”

๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ อบรมโครงการลกู เสือตา้ นยาเสพตดิ “พชิ ิตยาเสพตดิ ณ หอประชุมชนั้ ๓

ดอ้ ยทกั ษะการคิด MIND MAPPING” โรงเรียนปากเกรด็

๑๐-๑๒ กรกฎาคม อบรมหลกั สตู ร “ผู้ดาเนินการคดั กรองคนพิการทาง ณ หอ้ งประชุมดสุ ดิ าราม

๒๕๖๒ การศึกษา” ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ

จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ การประชุมปฏบิ ัติงานการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ ณ โรงเรียนบางบัวทอง

นกั เรยี นโครงการดูแลชว่ ยเหลือและคุ้มครองนกั เรยี น อาเภอบางบัวทอง จงั หวดั

นนทบุรี

๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ เปน็ ผูผ้ ลิตส่ือและนวัตกรรมเพอื่ การจดั การเรยี นการ โรงเรยี นปากเกร็ด

สอนแบบออนไลนบ์ นเว็บไซต์ Pakkred Learning

Cyber

๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ โครงการารสร้างส่อื และนวตั กรรมเพอื่ การจดั การ โรงเรยี นปากเกร็ด

เรยี นการสอนออนไลน์

ระหวา่ งวนั ที่ ๑ เมษายน - ๑๕ พฤษภาคม (จานวน

๒๐ ชั่วโมง)

วัน เดอื น ปี รายการฝกึ อบรม พัฒนา หนว่ ยงานทจี่ ัด

๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ การใช้โปรแกรม Zoom เพ่อื การจดั การเรยี นออนไลน์ โรงเรยี นปากเกร็ด

11 พฤศจกิ ายน การอบรมเชิงปฎบิ ตั กิ ารการพัฒนาสื่อดิจิทัลด้วย โรงเรยี นปากเกรด็

2563 InfoGraphic Presentation และอดั คลิปวีดีโอการ

สอน สู่การนาเสนอผ่านแพลตฟอร์ม DEEP ณ.

หอประชมุ อาคารเฉลิมพระเกยี รติ โรงเรยี นปากเกร็ด

27 พฤศจิกายน การอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การสร้างวิดโี อแบบมี โรงเรยี นปากเกรด็

2563 ปฏิสมั พนั ธแ์ ละแอพพลเิ คชนั่ ท่ีใช้สาหรับการจัดการ

เรยี นการสอน

29 พฤศจิกายน การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา โรงเรยี น โรงเรียนปากเกร็ด

2563 ปากเกร็ด เพอ่ื พฒั นาคุณภาพนักเรียน

28-29 มกราคม การอบรมการสร้างงานและแบบฝึกหดั แบบมี โรงเรียนปากเกรด็

2564 ปฏิสมั พนั ธ์ผา่ นระบบออนไลน์ โดยใชโ้ ปรแกรม

LIVEWORKSHEETS.COM

10 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 การอบรมการสรา้ งงานและแบบฝกึ หัดโดย โรงเรยี นปากเกร็ด

www.thinglink.com

21 สิงหาคม 2564 การอบรมการสรา้ งแบบทดสอบด้วย สานักงานเขตพื้นท่ี
LIVEWPRKSHEET ในการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
นนทบรุ ี
ONLINE ผ่านระบบ ZOOM รุ่นท่ี 1 Instructional
Desital : Digital Media, New Yools and

Technology ศนู ย์พัฒนาศกั ยภาพบคุ คลเพื่อความ
เปน็ เลิศ (HCEC) โรงเรียนปากเกรด็

๒) การพัฒนาตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด (ว ๒๒/๒๕๖๐) จานวน.......15.......ชว่ั โมง

ปี พ.ศ. หลักสตู ร รหัสหลักสูตร หนว่ ยงานที่จดั ระหวา่ งวนั ท่ี จานวน
สานกั งานคณะกรรมการ (ชัว่ โมง)
2563 ผ่านการอบรม 62121 การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 24 มนี าคม
2564 15
สานกั งานคณะกรรมการ
หลกั สตู รที6่ 2121 การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

การเสริมสร้างความ

เขม้ แขง็ ในการจัดเก็บ

ขอ้ มูลสารสนเทศด้าน

การจบการศกึ ษาและ

การให้บรกิ ารข้อมลู

ทางการศึกษาสาหรบั

เขตพ้นื ที่การศกึ ษา

และสถานศึกษา โดย

ระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์

(E-learning)

2564 ได้ผ่านการอบรมเชิง 14-15 15
สิงหาคม
ปฏิบตั ิการพัฒนา
2564
ทกั ษะการจดั การ

เรียนร้รู ูปแบบ

ออนไลน์สาหรับครู

สงั กัดสานักงาน

คณะกรรมการ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

๑.๗ การเปน็ วิทยากร หรือ กรรมการ ในหนว่ ยงานอ่ืน ๆ

วนั เดือน ปี รายการการเป็นวิทยากร/กรรมการ หนว่ ยงานท่ีจัด
สพม. ๓
๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ คณะกรรมการดาเนินงานจัดกจิ กรรมแขง่ ขนั งานมหกรรมทาง
เทศบาลนคร
ศลิ ปหัตถกรรมวิชาการนกั เรียน ระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ปากเกร็ด

คร้ังท่ี ๖๘ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

20 ธนั วาคม 2564 ประธานกรรมการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาท้องถิน่ จังหวัดนนทบรุ ี

ตอนที่ ๒ : ข้อมลู ปริมาณงานในรอบทข่ี อรับการประเมนิ
ขอ้ มลู ด้านปริมาณงานเป็นข้อมูลของข้าราชการครูทส่ี ง่ ผลตอ่ ประด้านประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลการ

ปฏิบัติงาน ประกอบดว้ ย
๒.๑ ข้อมูลการได้รับมอบหมายงานสอน

ท่ี รหัสวิชา ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖4 จานวนคาบ / สปั ดาห์ ระดับชั้น
๑ ก ๒๑๙๐๑ ชอ่ื วชิ า ๑๕ ม.๑/๑-ม.๑/๑๕
๒ ก ๒๒๙๐๑ 7 ม.๒/9ม.1/๑5
๓ แนะแนว -
๔ แนะแนว - -
กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี 22 -
กิจกรรมชมุ นมุ
รวม

๒.๒ ข้อมูลภาระงานสนบั สนุนการเรียนรู้ (เอกสารบันทึกการปฏบิ ัติงาน)

ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖4

ท่ี กิจกรรม ระดบั ชัน้ จานวนชวั่ โมง/สัปดาห์ จานวนชว่ั โมง/ภาค หมายเหตุ
22
๑ กจิ กรรม PLC กลุ่มสาระ ๑ -
-
๒ ประชมุ วิชาการ - - -
๑๔
๓ ประชมุ ระดับ ม.๑ ๑ 10

๔ PLC ม.๑ -

๕ ประชมุ กล่มุ งานแนะแนว - ๑

๖ ครปู ระจาช้ัน ม.๑/4 ๒.๕

๗ อื่น ๆ.............

รวม - 46

๒.๓ ข้อมูลการปฏิบัติตามนโยบายและจดุ เน้น (เอกสารบนั ทกึ การปฏิบัติงาน) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖4

ท่ี กจิ กรรม หนว่ ยงานทีอ่ อกคาส่ัง จานวนช่วั โมง หมาย

เหตุ

๑ ประชมุ กล่มุ งานแนะแนว วนั ที่ 9 ส.ค. 2564 โรงเรียนปากเกรด็ 1

๒ อบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาทักษะการจดั การเรียนรู้ สานกั งาน 15

แบบออนไลน์ สาหรับครูสังกัดสานักงาน คณะกรรมการ

คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน วันที่ 14-15 การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ส.ค. 2564

๓ ประชมุ นเิ ทศคณะครูโรงเรียนปากเกร็ด โรงเรียนปากเกร็ด 3

๔ การอบรมการสร้างแบบทดสอบด้วย สานักงานเขตพื้นท่ี 3.5

LIVEWPRKSHEET ในการ การศึกษามัธยมศกึ ษา 3.5
1
อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร ONLINE ผา่ นระบบ ZOOM นนทบุรี 1

รนุ่ ท่ี 1 Instructional Desital : Digital Media,

New Yools and Technology ศูนยพ์ ัฒนา

ศกั ยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (HCEC) โรงเรียน

ปากเกร็ด

๕ ประชมุ คณะครูโรงเรียนปากเกรด็ วนั ท่ี 30 ส.ค. โรงเรียนปากเกรด็

2564

๖ ประชมุ กลุ่มงานแนะแนว วนั ท่ี 31 ส.ค. 2564 โรงเรยี นปากเกรด็

ประชมุ ครรู ะดบั ช้นั ม.1 วนั ท่ี 1 ก.ย. 2564 โรงเรียนปากเกรด็

รวม

๒.๔ หน้าทีพ่ เิ ศษ (งานท่ีไดร้ บั มอบหมายเพมิ่ เติมพิเศษ ตามคาสั่งแตง่ ต้งั และหนา้ ทงี่ านหลกั )
๒.๔.๑ หนา้ ที่ตามโครงสร้างการบรหิ าร

๑. งานแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือ
๒. งานปฏคิ ม
๓. งานโภชนาการและจดั เลย้ี ง

๔. ผูช้ ่วยเลขานุการมูลนิธปิ ากเกร็ด เสาธงทอง
๕. งานทนุ การศึกษา

๖. งานคัดกรองนกั เรียน
๗. งานปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ
๘. เป็นครูเวรรกั ษาการณ์ วนั หยุด

๙. งานอนื่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย
๒.๔.๒ โครงการ / กจิ กรรมท่ีได้รับมอบหมายใหเ้ ปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

๑. โครงการพฒั นางานแนะแนว

๒.๕ ภาระหนา้ ทีเ่ พอ่ื สนับสนนุ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้

๒.๕.๑ รายการส่อื การสอนทใ่ี ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ (กรอกรายละเอียด ลงใบแบบฟอร์ม)

ท่ี รายการ ท่ี รายการ

แผน่ ภาพ, แผ่นใส........... วีดีทศั น.์ ...............

ส่ือของจรงิ เร่อื ง ................. CAI

E – book, E – learning √ สไลด์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ power point

√ Clip Video เร่อื ง ความเครียด

เร่ือง การประเมินความฉลาด

ทางอารมณ์

√ สื่อบทเรยี นแผน่ เดียว

ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ระบุ

๒.๕.๒ รายการนวตั กรรมการทผี่ ู้สอนสรา้ ง และใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้

ท่ี รหสั / รายวชิ า ระดับชัน้ ชอ่ื นวตั กรรม

๑ ก ๒๑๙๐๑ ม.๑ - power point เร่อื งความเครียดรบั มอื ได้

- power point การประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์

- power point การวดั และการประเมนิ ผล

๒.๕.๓ รายชอ่ื รายงานวจิ ยั ท่ีจดั ทา

ปี พ.ศ. รหสั / รายวชิ า ระดบั ชั้น วิธกี ารเผยแพร่ผลงาน

๒๕๖๓ ความเครียดในการเรียนออนไลน์ของนกั เรียน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เผยแพรใ่ นกลุม่ งานแนะแนว

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาช้ันปที ี่ 1

๒.๕.๔ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ท่ใี ช้ในการจดั การเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย สอดคล้องกับสาระ / มาตรฐานและผู้เรียน

โดยมีการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดังนี้ (เลอื กรายการ ตามตวั อยา่ ง หรอื ตามทีค่ รูใชจ้ ริง )

ที่ รายการ ท่ี รายการ

√ การใชเ้ กมประกอบ การระดมพลงั สมอง
การเรยี นรู้แบบร่วมมอื การเรียนแบบโครงงาน
√ การตงั้ คาถาม
√ การแก้ปญั หา √ การสืบค้นแล้วนาเสนอโดยผู้เรยี น
√ การเรียนรู้แบบพหุปญั ญา เพ่ือนคู่คดิ
√ บทบาทสมมุติ
√ การศกึ ษาเป็นรายบุคคล
√ การอภปิ รายกลมุ่ ย่อย – ใหญ่

๒.๕.๕ รปู แบบการจดั การเรยี นรูท้ ี่ใช้ ICT

ปี พ.ศ. รูปแบบการสอนโดยใช้ ICT ประโยชน์ท่ีเกิดกบั นักเรียน

๒๕๖๓ ใช้คอมพิวเตอร์ในการสอน โดยใช้โปรแกรม นักเรียนมคี วามสนในใจบทเรยี นมากขึ้น

power point เน่ืองจากบทเรียน power point มรี ปู ภาพ

- power point เรือ่ งความเครยี ดรบั มอื ได้ มคี ลิปเสียง ชว่ ยกระตุ้นความสนใจในการเรียน

- power point การประเมินความฉลาดทาง การสอน

อารมณ์

- power point อาชีพ

๒.๕.๖ สารสนเทศการใช้ แหลง่ เรยี นรู้ ในการจัดการเรยี นการสอน ภาคเรยี นที่ ๑

ท่ี ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ ภายใน ภายนอก จานวนครงั้ ทใ่ี ช้
๑ สไลด์อเิ ล็กทรอนิกส์ power point ประกอบบทเรยี น √๓
๒ มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ √-
๓ ห้องสมุดโรงเรียนปากเกร็ด √-

๒.๕.๗ ข้อมลู การได้รับการนิเทศ

คร้ังที่ วัน เดอื น ปี เนื้อหา บทเรยี น ทรี่ ับนเิ ทศ ผลจากการนเิ ทศ
๑ ระบุขอ้ คดิ เห็นจากคณะกรรมการนเิ ทศ


๒.๕.๘ ขอ้ มูลการเผยแพรผ่ ลงาน นวตั กรรม / งานวิจยั /แผนการจดั การเรยี นรู้

ครั้งที่ วัน เดอื น ปี ผลงานเผยแพร่ หนว่ ยงาน / บคุ คลทเี่ ผยแพร่
เผยแพร่ในกล่มุ งานแนะแนว
๑ ๒๕๖๓ ผลการประเมินพฤตกิ รรมนักเรยี น

(SDQ) เพอ่ื การรจู้ ักนักเรียนเป็น

รายบุคคล ของนักเรยี น ช้ัน

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ โรงเรยี นปากเกรด็

๒.๕.๙ ขอ้ มูลบันทึกกจิ กรรม PLC ชุมชุนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional learning Community)
แบบการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม PLC โรงเรียนปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี ภาคเรยี นที่ 1/2564
รายละเอียดกจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพครู
วงจร (Loop) ท่ี 1 ระยะเวลา 17 พ.ค. 2564 – 30 ก.ค. 2564

ท่ี กิจกรรม วนั /เดือน/ปี เวลา (ชม.)

ขั้นตอนที่ 1 Community : การสร้างทีม PLC

1. ประชุมกลุ่มสาระ ฯ และสรา้ งทีม PLC 20-21 พ.ค. 64 2

ขัน้ ตอนที่ 2 Problem : การระบปุ ญั หา

2. วเิ คราะหป์ ัญหา และระบสุ าเหตุ 27-28 พ.ค. 64 4

1-2 มิ.ย. 64

ขั้นตอนที่ 3 Practice : กระบวนการพฒั นา/การปฏบิ ัติ

3. ทีม PLC ออกแบบและกาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาหรือพฒั นา 10-11 ม.ิ ย. 64 2

4. ดาเนนิ การแก้ปัญหา และเก็บรวบรวมขอ้ มลู 17-18 ม.ิ ย. 64

5. ทีม PLC พดู คุย แบ่งปันขอ้ มลู และรว่ มกันสะทอ้ นคดิ ทกุ ๆ สัปดาห์ 24-25 ม.ิ ย. 64 8

เป็นเวลาท้งั หมด 4 สัปดาห์ 1-2 ก.ค. 64

8-9 ก.ค. 64

ขนั้ ตอนท่ี 4 Reflection : การสะทอ้ นคดิ

4. สะทอ้ นคดิ ร่วมกนั แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ระหวา่ งสมาชิกในทมี PLC

สรุปแนวทางในการพัฒนา/แกไ้ ขปญั หา ทป่ี ระสบความสาเรจ็ หรือ 15-16 ก.ค. 64 4
5. ปัญหาที่ยงั แกไ้ ม่สาเรจ็ เพอ่ื นาไปออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หาในวงจร 22-23 ก.ค. 64

ตอ่ ไป

ตอนที่ 2 ข้อเสนอแนะ

8. คุณครูสะท้อนคิดจากการปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC ของตนเอง

9 สรปุ ผลและรายงานผลการปฏบิ ัติกิจกรรม PLC ต่อหัวหน้ากลุ่มสาระฯ 29-30 ก.ค. 64 2

และฝา่ ยบรหิ าร

รวมเวลาปฏบิ ัตกิ จิ กรรมชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (ชัว่ โมง) 22

๒.๕.๑๐ การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ และการประเมนิ ผลตามสภาพจริง ในรายวชิ าทร่ี บั ผิดชอบ
ใหเ้ ขยี นทุกรายวชิ าท่ีสอน (ทาเครือ่ งหมาย √ ลงในช่อง มี หรอื ไมม่ ี)ภาคเรยี นที่ ๑ / ๒๕๖4

ท่ี รหสั วิชา รายวิชา ชั้น แผนการจดั การเรยี นรู้ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ

มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี

๑ ก ๒๑๙๐๑ กจิ กรรมแนะแนว ม.๑ / /

๒.๕.๑๑ การเชิญวทิ ยากรภายนอกมาใหค้ วามรกู้ ับนักเรยี น หรือ เป็นวทิ ยากรรว่ ม ภาคเรยี นที่ ๑ / ๒๕๖4

ท่ี ช่ือ วิทยากร เรอื่ ง / เนือ้ หา/กิจกรรมทีว่ ิทยากรมาใหค้ วามรู้ จานวนครง้ั

๒.๖ การวดั ผลและประเมินผล รปู แบบการวัดผลทใี่ ช้

ท่ี รายการ วิธีการวัดผล ท่ี รายการ วิธกี ารวัดผล
แบบอิงกลมุ่
√ การสงั เกต √ แบบอิงเกณฑ์
ทาแบบทดสอบ
√ การมอบหมายงาน ช้นิ งาน √ การมอบหมายงาน
การศกึ ษาเป็นรายบคุ คลตามพหุปญั ญา
การนาเสนองานตามหวั ขอ้ มอบหมาย √ การทาโครงงาน
สอบแบบปรนัย
√ การสบื คน้ และส่งทาง E – mail √

√ การสมั ภาษณ์ √

√ การทาแบบฝึกหัด

√ การปฏบิ ตั ิการทดลอง

√ การรายงาน

๒.๗ การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น

ท่ี ปญั หาท่พี บ วิธกี ารแกป้ ญั หา/ชว่ ยเหลอื ผลที่ได้รับ

1 นกั เรยี นขาดเรียนบ่อย กากบั และตดิ ตาม แจ้งผู้ปกครองให้ทราบ นักเรยี นเข้าเรียนทุกวนั
ดาเนินการแก้ไขให้นักเรียนเข้าเรียนออนไลน์

อย่างสมา่ เสมอ

2 นักเรยี นมีปญั หาเศรษฐกิจ -จดั สรรทนุ การศึกษาชว่ ยเหลอื นักเรยี น นกั เรยี นสามารถมี

ทุนการศกึ ษาเรยี นตอ่
และมีฐานะความเปน็ อย่ทู ี่

ดขี นึ้ และมคี วามสขุ ใน
การเรียน

3 นกั เรยี นไม่สง่ งาน ติดตามงานจากครูผูส้ อนรายวิชา จดั กจิ กรรมเพ่อื นกั เรียนส่งงานครบทกุ

ชว่ ยเพือ่ น โฮมรมู หกอ่ นเข้าเรียนและประสานกบั วชิ า

ผปู้ กครองใหก้ วดขนั นกั เรยี น และแจง้ ให้

ผปู้ กครองทราบวา่ ส่งงานแลว้

๙ นกั เรยี นปรกึ ษาเร่ืองศกึ ษา ใหค้ าแนะนา แนะแนวการศึกษาตอ่ กบั นักเรยี น แนะนาโควตา สมคั รสอบ

ตอ่ เปน็ รายบคุ คล และทุนการศกึ ษากบั

นักเรียนที่สนใจเปน็

รายบคุ คล

ตอนท่ี ๓ ผลการจัดการเรยี นรู้
๓.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นจาแนกตามรายวชิ า ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา

(เนอื่ งจากการสอบยังไม่เสร็จสน้ิ ใหก้ รอกเปน็ ค่าคะแนน คาดคะเน จากผล

วชิ า ชน้ั จานวน ระดบั ผลก

แนะแนว นักเรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒
แนะแนว
ม.๑ ๖26

ม.๒/9-2/15 310

รวม ๖๖๒
รอ้ ยละ
๑๐๐
ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมี
ผลการเรยี น ๓ ข้นึ ไป

ผลการเรียนเฉล่ีย

า ๒๕๖4
ลการเรยี นรู้ ณ วนั ท่ี 1 ส.ค. ๒๕๖4

การเรยี น คณุ ลกั ษณะ การอ่าน คิดวเิ คราะห์
อนั พงึ ประสงค์ และเขียนส่ือความ

๑.๕ ๑ ผ มผ มส ๓ ๒ ๑๐ ๓ ๒ ๑ ๐

626 420 206

310 260 50

963 680 256

๑๐๐ ๗๐.61 26.58

๓.๒ แผนภูมิ ๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนรายวิชาแนะแนว ภา

120 ไม่ผา่ น
100 ภาคเรยี นท่ี 1

80
60
40
20

0
ผา่ น

สรปุ ในภาคเรยี นท่ี ๒ ข้าพเจ้าไดพ้ ัฒนาผูเ้ รยี นตามมาตรฐานการศึกษาดา้ นผู้เรีย

ควรปรบั ปรุง (ต่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐) พอใช้ (ร้อยละ ๕๐ - ๕๙)

ดีมาก (ร้อยละ ๘๐ - ๘๙) √ ดีเยี่ยม (รอ้ ยละ ๙๐ ขนึ้ ไป)

าคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑

ยน รายวิชาแนะแนว อยใู่ นระดับ
ดี (รอ้ ยละ ๖๐ - ๗๙)

๓.๓ ผลการจาแนกการประเมินศกั ยภาพผเู้ รยี นด้านวชิ าการ
๑) การศกึ ษาวเิ คราะหน์ ักเรียนเปน็ รายบุคคล

ท่ี วชิ า รหสั วิชา ชัน้ / หอ้ ง จานวนนักเรยี น รวม
กลมุ่ สงู กลุ่มกลาง กลมุ่ ตา่







รวม

๒) แนวทางการจดั การเรียนร้เู พอื่ พัฒนาตามศกั ยภาพผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ มีดังนี้
เดก็ กลมุ่ สูง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เด็กกลมุ่ กลาง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เด็กกลมุ่ ต่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓.๔ คณุ ภาพผเู้ รียน ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ และจุดเน้นของสถานศึกษา

๓.๔.๑ รูปแบบกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ และจุดเน้นของ

สถานศึกษา

ที่ รายการกจิ กรรม พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ

๑ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรียนมีจิตสาธารณะ

ทาประโยชน์เพอื่ สว่ นรวม

๒ โรงเรียนคณุ ธรรม นั ก เ รี ย น มี คุ ณ ธ ร ร ม

จรยิ ธรรม

๓.๔.๒ ร้อยละของนกั เรยี นทผ่ี า่ นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และจดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา

ท่ี รายการกิจกรรม พฤติกรรมท่ีเกิด

๑ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรียนมีจิตสาธารณะ

ทาประโยชนเ์ พอ่ื สว่ นรวม

๒ โรงเรยี นคุณธรรม นั ก เ รี ย น มี คุ ณ ธ ร ร ม

จรยิ ธรรม

๓.๔.๓ วิธีการจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น (ให้เขยี นสรุปตามแนวทางระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น

ว่าดาเนินการอยา่ งไร )

มีการประสานงานหรอื รบั การสนับสนุนจากผบู้ ริหาร ครูทเี่ ก่ยี วขอ้ ง รวมท้ังผปู้ กครอง ซง่ึ มวี ิธีการและ

เครือ่ งมอื ดงั นี้

๑. รู้จกั นักเรียนเปน็ รายบคุ คล

๒. คัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน

๓. จดั กิจกรรมโฮมรูม (Homeroom)

๔. จัดประชุมผปู้ กครองชน้ั เรียน (Classroom meeting)

๕. ใหก้ ารปรึกษาเบ้ืองตน้

๖. เยีย่ มบา้ นนักเรียน

๗. ประสานงานกับครแู ละผ้ทู ่ีเกีย่ วข้อง เพอื่ จดั กิจกรรมสาหรบั การปอ้ งกันและช่วยเหลือปญั หาของนักเรียน

โดยมีการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นเม่ือมีปัญหาทั้งในด้านการเรยี น ครอบครัว เชน่ การสอนซอ่ มเสริม การให้

คาปรกึ ษา แนะแนวการศกึ ษาตอ่ การเยย่ี มบ้าน การเฝา้ ระวงั ดแู ลผู้เรยี นในช้นั เรยี น

- รักเมตตา ดูแลเอาใจใส่ ผเู้ รยี นอยา่ งใกล้ชดิ ทั้งในและนอกห้องเรยี น อยา่ งสม่าเสมอ

- ดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนในทุก ๆด้าน ได้แก่ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยบันทึก

พฤติกรรม ผลการเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง

- เฝ้าระวังป้องกันผู้เรียนเกี่ยวกับสารเสพติด การพนัน โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาว่างให้เป็น

ประโยชน์ เชน่ การเล่นกฬี า การหารายไดร้ ะหว่างเรยี น เปน็ ตน้ - ไดส้ อดสอ่ ง ดแู ล อบรมนักเรียนในด้านระเบียบ

วินยั การแต่งกาย มารยาท

- ความปลอดภัยของนักเรยี นเมื่ออยู่ในโรงเรยี น

- ตดิ ตามดูแลนกั เรียนทม่ี ีพฤติกรรมเส่ยี งในดา้ น ยาเสพตดิ การพนนั การทะเลาะววิ าท และเร่ือง

ช้สู าว พร้อมทัง้ รายงานให้ผูบ้ รหิ ารรับทราบ

- รว่ มมือกับผูบ้ รหิ ารและคณะครู ผู้ปกครองนักเรยี น ในการหาแนวทางป้องกนั และแนวทางแกไ้ ข

ปญั หา พฤติกรรมนักเรียน

๓.๕ การพฒั นานักเรยี นจนไดร้ างวัล / หรือยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ ดังน้ี

ท่ี ชอ่ื ผูเ้ รยี น/รางวลั /เกียรตบิ ตั ร หนว่ ยงานที่มอบ วัน เดอื น ปี
๑ นายนภัสกร เรอื งทิม ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลิศ การ
สพม. ๓ ๒๑ พ.ย. ๖๑
ประกวดร้องเพลงลกู ทงุ่ ประเภทบกพร่องทางสตปิ ญั ญา
ระดบั เขตพืน้ ที่การศกึ ษา สานักงาน ๒๕-๒๗ ธ.ค.
๒ นายนภัสกร เรอื งทมิ ได้รับรางวลั เหรียญทอง ชนะเลิศ การ คณะกรรมการ ๖๑
ประกวดร้องเพลงลกู ทงุ่ ประเภทบกพร่องทางสตปิ ัญญา การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ๗-๑๓
พฤศจิกายน ๖๒
๓ ด.ญ. ศรัญญา นาคมี และ ด.ญ.ชตุ กิ ารณ์ เจรญิ สุข ได้รับ สพม. ๓
เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ๑ กิจกรรมการแข่งขันการ
วาดภาพด้วยโปรแกรม Paint ประเภทบกพรอ่ งทางร่างกาย
ฯ ไม่กาหนดชว่ งชน้ั

๓.๖ การไดร้ ับรางวลั / ประกาศเกยี รติคณุ ของตนเอง

ท่ี รายการ / เรือ่ ง หนว่ ยงานทม่ี อบ วนั เดอื น ปี
สพม. ๓ ๒๑ พ.ย. ๖๑
๑ ครูผสู้ อนนักเรียน ให้ได้รับรางวลั เหรียญทอง ชนะเลิศ
การประกวดรอ้ งเพลงลกู ทงุ่ ประเภทบกพรอ่ งทาง สานกั งานคณะกรรมการ ๒๕-๒๗ ธ.ค.
สตปิ ัญญา ระดับเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๖๑
๒ ครผู สู้ อนนักเรยี น ให้ได้รับรางวลั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ
การประกวดร้องเพลงลกู ทงุ่ ประเภทบกพรอ่ งทาง กระทรวงศึกษาธิการ
สตปิ ัญญา ระดับชาติ
สพม. ๓ ๗-๑๓
๓ ครูผู้สอนนกั เรยี นให้ ไดร้ บั เหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับ
๑ กจิ กรรมการแข่งขนั การวาดภาพด้วยโปรแกรม Paint พฤศจิกายน ๖๒
ประเภทบกพรอ่ งทางร่างกาย ฯ ไม่กาหนดช่วงช้นั

๓.๗ การได้รับรางวลั / ประกาศเกียรตคิ ุณของสถานศกึ ษา

ท่ี รายการ / เร่ือง หนว่ ยงานที่มอบ วัน เดอื น ปี
โรงเรียนปากเกร็ด ๒๒ มถิ ุนายน
๑ ได้ผ่านการอบรมโครงการลูกเสอื ต้านยาเสพตดิ “พิชิตยา โรงเรยี นปากเกร็ด
เสพติดด้วยทักษะการคิด MIND MAPPING” ๒๕๖๒
โรงเรยี นปากเกร็ด ๒๖ มิถนุ ายน
๒ ปฏบิ ตั ิหน้าที่สนบั สนุนและสง่ เสรมิ กจิ กรรมหนูน้อยนัก
ออม โครงการธนาคารโรงเรยี น ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
๒๕๖๒
๑ กรกฎาคม
๓ ได้เข้ารว่ มกิจกรรมสวนสนามและบาเพ็ญประโยชน์ของ ๒๕๖๒
ลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ณ สนามโรงเรียนปากเกร็ด
เนือ่ งในงานวนั คลา้ ยวันสถาปนาคณะลูกเสือแหง่ ชาติ

ตอนท่ี ๔ : ด้านการรักษาวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี

๔.๑ มีความซ่อื สตั ย์สุจรติ รักษาประโยชน์ส่วนรวม ไม่อาศยั หรอื ยนิ ยอมให้ผู้อนื่ ใช้อานาจและหนา้ ท่ขี องตนเพอื่

แสวงหาประโยชน์

ท่ี พฤติกรรมแสดงออก ประโยชนท์ ่ีเกิด

๑ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทตี่ ามกฎหมาย ระเบียบทางราชการอยา่ งเคร่งครดั ระบบราชการ/โรงเรียนพัฒนาไปใน

แนวทางท่ีดแี ละมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ

๒ ปฏบิ ัติหนา้ ที่ดว้ ยความอตุ สาหะเอาใจใสร่ ะมัดระวงั ระบบราชการ/โรงเรียนพฒั นาไปใน

รักษาผลประโยชนข์ องทางราชการ แนวทางที่ดแี ละมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้

๓ ปฏิบตั หิ น้าท่ี

๔.๒ การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ กฎหมาย นโยบาย และคาสัง่ ของผู้บงั คบั บัญชา

ท่ี พฤตกิ รรมแสดงออก ประโยชนท์ ่เี กิด

๑ ปฏบิ ตั ติ นตามหน้าที่ และงานท่ไี ด้รับมอบหมายอยา่ ง ระบบราชการ/โรงเรียนพัฒนาไปในแนวทางท่ีดี

เตม็ ความสามารถ ด้ายความ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ

ตง้ั ใจและเตม็ ใจตามที่ผู้บงั คับบัญชามอบหมาย

๒ ปฏิบตั ติ นในการรักษาระเบียบวนิ ัยและจรรยาบรรณ ระบบราชการ/โรงเรยี นพฒั นาไปในแนวทางท่ดี ี

ครูอย่างเคร่งครัด และมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ

๓ เปน็ ผ้ไู มเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ัย หรอื ถกู ตาหนเิ ก่ียวกับ

การปฏบิ ัติตนหรือความประพฤติ

๔.๓ มีความวิรยิ ะ อุตสาหะ ตรงตอ่ เวลา และอุทิศเวลาใหแ้ กท่ างราชการ
ท่ี พฤติกรรมแสดงออก
๑ ไมล่ ะท้งิ หนา้ ทีร่ าชการโดยไม่มีเหตอุ นั ควรและมาปฏิบัติราชการอย่างต่อเนือ่ งและสม่าเสมอ
๒ เมื่อได้รบั มอบหมายจากผบู้ ังคบั บัญชาให้ปฏิบัติหน้าทใี่ ด ๆ ก็จะรบั ผิดชอบและทาให้เสรจ็ ส้นิ

๓ เมื่อมีคาส่งั ให้ปฏิบตั ิหน้าท่ใี นวันหยดุ ราชการก็ไมเ่ คยหลีกเลี่ยงต่อหนา้ ที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

๔.๔ การมจี ติ สานึกท่ดี ี มุ่งตบรกิ าร ต่อกลุ่มเปา้ หมายผ้รู บั บรกิ าร
ท่ี พฤติกรรมแสดงออก
๑ ปฏิบตั ติ นใหเ้ ป็นแบบอย่างแกน่ กั เรียน เพื่อนครู และผู้ปกครอง
๒ ใหค้ วามร่วมมืออย่างดีในการใหข้ อ้ มูลในส่วนท่ีรับผิดชอบแกท่ ุกฝ่าย
๓ ปฏิบัติตนและรว่ มจดั กจิ กรรมทางวชิ าการในสาขาวชิ าทเ่ี กย่ี วข้องอย่างตอ่ เนือ่ ง
๔ แลกเปลย่ี นเรยี นรอู้ งค์ความรู้ใหม่ๆ ระหว่างเพ่ือนร่วมวชิ าชีพและผู้ที่สนใจจากหน่วยงานภายในและภายนอก

๔.๕ การรกั ษาคณุ ภาพมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรวิชาชีพ

ท่ี พฤติกรรมแสดงออก
๑ มีความรกั และเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใสช่ ่วยเหลือ ส่งเสรมิ ให้กาลงั ใจในการศกึ ษาเลา่ เรยี น แก่

ศิษย์โดยเสมอหนา้
๒ อบรม สั่งสอน ฝกึ ฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทกั ษะ และนิสยั ท่ีถกู ต้องดีงามให้เกดิ แกศ่ ษิ ย์อยา่ งเตม็ ความสามารถ

ด้วยความบรสิ ุทธิ์ใจ
๓ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแกศ่ ษิ ย์ท้งั กาย วาจา และจิตใจ

๔ ไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อความเจริญทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของศษิ ย์

๕ ไม่แสวงหาประโยชนอ์ นั เปน็ อามิสสนิ จา้ งจากศษิ ย์ในการปฏิบตั ิหน้าท่ตี ามปกตแิ ละไม่ใช้ใหศ้ ิษยก์ ระทาการใด ๆ
อันเป็นการหาประโยชน์ใหแ้ กต่ นโดยมิชอบ

๖ พัฒนาตนเองทัง้ ในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทนั ต่อการพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกจิ
สังคมและการเมืองอยูเ่ สมอ

๗ ยอมรบั และศรัทธาในวิชาชีพครแู ละเปน็ สมาชิกที่ดขี ององคก์ รวิชาชพี ครู
๘ ชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู ครแู ละชุมชนในทางสรา้ งสรรค์
๙ ประพฤติ ปฏบิ ตั ิตน เป็นผนู้ าในการอนรุ ักษ์ และพัฒนาภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย

๔.๖ การรักษาภาพลักษณ์และความสามคั คีในองคก์ ร ชมุ ชน และสังคม
ท่ี พฤติกรรมแสดงออก
๑ เข้าร่วมกจิ กรรมและให้ความชว่ ยเหลอื งานในโรงเรียนตลอดจนกจิ กรรมทส่ี าคัญของหน่วยงานราชการ
๒ เผยแพรค่ วามรขู้ อ้ มลู ท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ก่เพอื่ นครแู ละนกั เรียน
๓ ประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี เคารพกฎหมายและความเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสานึก
รับผดิ ชอบต่อสังคม

ภาคผนวก

Blue Print การออกแบบการเรยี นการสอนออนไลน์ บนแพลทฟอรม์ PAKKREDLEARNING CYBER
(Blueprint of e-learning course design on platform PAKKREDLEARNING CYBER)

______________________________________________________________________
1.ขอ้ มลู ทัว่ ไป

รายวิชา กิจกรรมแนะแนว ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หนว่ ยกติ 0.5 จานวน 20 ชวั่ โมง
ผู้สอน ครอู มั พร พละโพธ์ิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ งานแนะแนว
อตั รารอ้ ยละน้าหนกั คะแนนผลการเรยี นรู้ที่เชอื่ มโยงการเรยี นร้ใู นในรายวชิ า รอ้ ยละ..........

ของคะแนนทงั้ หมดในรายวิชา

2.วตั ถุประสงค์ / ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง

ท่ี วัตถุประสงค์/สาระ / ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง หน่วย ชือ่ หน่วย เน้อื หา คา่ น้าหนกั
คะแนน
ที่ ปฐมนิเทศกิจกรรม
แนะแนว 1
1 บอกเกณฑก์ ารจบหลักสูตรการศึกษา 1 ด้านการศกึ ษา เรือ่ งการเรยี นรู้
2
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษา

2 เพอ่ื ให้นักเรียนทราบความสามารถ ความ 1 ดา้ นการศึกษา

ถนัดและความชอบของตนเองในการเรยี นรู้

เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ

และแก้ไขปัญหา

3 เพอ่ื ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิตนให้เป็นผู้เรียนทม่ี ี 1 ดา้ นการศึกษา เคลด็ ลบั เรียนดี 3

ประสทิ ธิภาพ

เพ่อื ใหน้ ักเรียนรจู้ ักแสวงหาและใช้ข้อมูล

สารสนเทศ

4 เพื่อใหน้ ักเรียนสารวจความต้องการของ 2 ดา้ นอาชีพ อาชีพท่อี ยากจะ 3
เป็น
ตนเองเกย่ี วกับอาชพี ทีใ่ ฝ่ฝนั

เพื่อให้นักเรยี นรู้จกั เขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ ของ

ตนเองและผู้อ่นื

5 เพื่อใหน้ ักเรยี นทราบข้อมูลของผูป้ ระสบ 2 ด้านอาชีพ อยากเป็นอยา่ งเขา 3

ความสาเร็จในการประกอบอาชพี

เพื่อให้นักเรยี นไดแ้ สวงหาและใชข้ ้อมูล

สารสนเทศได้

6 เพื่อเขา้ ใจเกย่ี วกับความหมายของ 2 ดา้ นสว่ นตวั และ ความเครยี ดรับมือ 4
ความเครยี ด สังคม ได้

ท่ี วตั ถปุ ระสงค/์ สาระ / ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั หนว่ ย ชื่อหนว่ ย เนอ้ื หา คา่ น้าหนัก
คะแนน
ที่

เข้าใจถึงผลกระทบความเครยี ดทม่ี ีต่อร่างกาย

จิตใจและพฤตกิ รรม

เพื่อรู้จักวธิ ีการจัดการเม่อื รูว้ ่าตนเองเครยี ด

7 เพื่อให้นักเรยี นตระหนกั รอู้ ารมณ์ของตนเอง 3 ด้านสว่ นตวั และ อารมณ์ของฉัน 3

เพอ่ื ให้นกั เรียนแสดงออกซง่ึ อารมณต์ ่าง ๆได้ สังคม

อยา่ งเหมาะสม

8 เพือ่ ให้นกั เรียนบอกข้อคดิ ความพึงพอใจจาก 4 สรปุ และ สรปุ และ 1
ประเมนิ ผลกจิ กรรม
การทากิจกรรมทั้งหมดได้ ประเมินผล

เพอ่ื ให้นกั เรียนได้ประเมินตนเองหลังทา กิจกรรม

กิจกรรม

3.วิธกี ารรออกแบบการเรียนรู้ (ตวั อย่าง)

สัปดาห์ท/่ี ครัง้ ท่ี 1 เรือ่ ง ปฐมนิเทศกจิ กรรมแนะแนว

เน้ือหา ตระหนักในคุณค่าของการเรยี นตามโครงสร้างหลักสตู รของสถานศึกษา

การออกแบบเนอื้ หา รายละเอยี ด

1. pre-test -

2. เนอ้ื หาสือ่ วิดิโอที่สร้างเอง แนะนาวิชาแนะแนว

3. เนือ้ หาทล่ี งิ กภ์ ายนอก -

4. Post test -

5. การมอบหมายชิ้นงานใหน้ ักเรียนส่ง ใบงาน น้ีคือฉนั เอง

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความกา้ วหน้า Google form

7. ระบบการสร้างชอ่ งทางการใหข้ ้อมูล Google Classroom

ย้อนกลับ

สปั ดาหท์ ี่/ครัง้ ที่ 2 เร่ือง เรื่องเรยี นตอ้ งรู้

เนื้อหา บอกความสามารถ ถนดั และความชอบของตนเอง ในแต่ละกลุ่มการเรยี นรู้ สามารถตัดสินใจและแกไ้ ข

ปญั หา

การออกแบบเนอ้ื หา รายละเอยี ด

1. pre-test -

2. เนอ้ื หาสือ่ วดิ โิ อท่ีสรา้ งเอง หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

3. เนื้อหาท่ีลิงก์ภายนอก -

4. Post test -

5. การมอบหมายชนิ้ งานใหน้ ักเรยี นส่ง ใบงาน เรื่องเรียนตอ้ งรู้

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความก้าวหนา้ Google Classroom

7. ระบบการสร้างช่องทางการให้ข้อมลู Google Classroom

ย้อนกลบั

สัปดาหท์ /่ี ครงั้ ท่ี 3 เร่ือง เคลด็ ลับเรียนดี

เนอ้ื หา การเรยี นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีวธิ ีปฏิบัติตนอยา่ งไรจงึ จะได้ชอื่ ว่าเป็นผเู้ รียนดีและประสบผลสาเรจี ใน

การเรียน

การออกแบบเนอื้ หา รายละเอยี ด

1. pre-test -

2. เน้ือหาส่อื วิดโิ อที่สร้างเอง เคล็ดลับเรียนดี

3. เนื้อหาทล่ี ิงก์ภายนอก https://www.youtube.com/watch?v=zexYzwu5Pg4&ab_channel=MADEMINDDAY

4. Post test -

5. การมอบหมายชิน้ งานให้นกั เรียนส่ง ใบงาน เคล็ดลบั การเรยี นหนังสอื ให้เก่ง

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความก้าวหน้า Google Classroom

7. ระบบการสรา้ งช่องทางการให้ข้อมลู Google Classroom

ย้อนกลบั

สัปดาห์ที่/ครั้งท่ี 4 เร่อื ง เปา้ หมายสู่อนาคต

เนื้อหา อาชพี ที่อยากจะเปน็

การออกแบบเนอื้ หา รายละเอียด

1. pre-test -

2. เนอ้ื หาส่ือวิดิโอท่ีสรา้ งเอง เรื่อง ความรพู้ ืน้ ฐานเก่ียวกบั อาชพี

3. เนื้อหาที่ลิงก์ภายนอก https://www.youtube.com/watch?v=Td6Wvzrlliw&ab_channel

https://www.youtube.com/watch?v=ytx7Rym4LoQ&ab_channel

4. Post test -

5. การมอบหมายช้ินงานให้นกั เรียนสง่ ใบงาน เรอื่ งอาชพี อาชพี ท่ีอยากจะเปน็

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความกา้ วหน้า Google Classroom

7. ระบบการสรา้ งชอ่ งทางการใหข้ อ้ มูล Google Classroom

ย้อนกลบั

สัปดาห์ที่/ครง้ั ท่ี 5 เรอ่ื ง อาชีพทีเ่ หมาะกบั ฉัน

เนือ้ หา อยากเปน็ อย่างเขา

การออกแบบเนอ้ื หา รายละเอยี ด

1. pre-test -

2. เน้อื หาสอื่ วิดโิ อที่สรา้ งเอง อาชีพตา่ ง ๆ

3. เนอ้ื หาที่ลงิ ก์ภายนอก https://www.youtube.com/watch?v=rfM_0ISDM2M&ab_channel

4. Post test -

5. การมอบหมายชิน้ งานให้นักเรยี นสง่ ใบงาน อยากเป็นอย่างเขา

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความกา้ วหนา้ Google google form Classroom

7. ระบบการสร้างชอ่ งทางการให้ข้อมลู Google Classroom

ย้อนกลับ

สปั ดาหท์ ่ี/ครัง้ ที่ 6เรอ่ื ง คนแบบไหนจะได้งานในศตวรรษที่21

เนอ้ื หา ความเครียดรบั มือได้

การออกแบบเนอื้ หา รายละเอียด

1. pre-test -

2. เนอ้ื หาสอ่ื วดิ โิ อที่สร้างเอง ความเครียดรบั มอื ได้

3. เนอื้ หาท่ลี งิ กภ์ ายนอก https://www.youtube.com/watch?v=TooMaqEjh5s&ab_channel

https://www.dmh.go.th/test/qtest5/

4. Post test แบบประเมนิ ความเครยี ด

5. การมอบหมายชิ้นงานใหน้ กั เรยี นสง่ -

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความก้าวหน้า Google Classroom

7. ระบบการสร้างชอ่ งทางการใหข้ อ้ มูล Google Classroom

ย้อนกลับ

สัปดาหท์ /่ี ครั้งท่ี 7 เรอ่ื ง แสงสวา่ งที่ปลายอุโมงค์

เน้อื หา อารมณ์ของฉนั

การออกแบบเนอ้ื หา รายละเอียด

1. pre-test -

2. เน้ือหาส่ือวิดิโอท่ีสร้างเอง อารมณ์

3. เนื้อหาท่ีลงิ ก์ภายนอก https://www.manarom.com/test/eq_12_17_thai.html

4. Post test -

5. การมอบหมายชิน้ งานใหน้ ักเรยี นส่ง ใบงาน เรื่อง สารวจอารมณ์ของตนเอง

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความก้าวหน้า Google Classroom

7. ระบบการสร้างชอ่ งทางการให้ข้อมลู Google Classroom

ย้อนกลบั

สัปดาห์ที่/ครั้งท่ี 8 เร่อื ง อารมณ์ของฉนั

เนื้อหา สรุปและประเมนิ ผลกจิ กรรม

การออกแบบเนอื้ หา รายละเอียด

1. pre-test -

2. เนอื้ หาสื่อวิดโิ อท่ีสรา้ งเอง สรปุ กจิ กรรม

3. เนือ้ หาท่ลี งิ ก์ภายนอก -

4. Post test แบบสรุปกจิ กรรม

5. การมอบหมายชนิ้ งานใหน้ กั เรยี นส่ง -

ในระบบ

6. ระบบการรายงานความกา้ วหนา้ Google google form Classroom

7. ระบบการสรา้ งช่องทางการให้ข้อมลู Google Classroom

ยอ้ นกลับ

หมายเหตุ ปรับขนาดได้ตามความเหมาะสม

เอกสาร PLC 6

แบบบันทึกการปฏิบตั ิกจิ กรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

ผ่านกระบวนการการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ครู

Professional Learning Community ; PLC

วงจร (Loop) ท่ี 1 ระยะเวลา 17 พ.ค. 2564 – 30 ก.ค. 2564
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

ของ

นางสาวอมั พร พละโพธ์ิ
ตาแหนง่ ครู

กลุ่มงานแนะแนว

โรงเรยี นปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา นนทบุรี

……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………
(นางสุพิศ รนขาว) (นางสายไหม ดาบทอง) (นางสาววณิ ัฐธพัชร์ โพธิ์เพชร)
หัวหน้างานแนะแนว ผูอ้ านวยการโรงเรียนปากเกร็ด
......./......../....... รองผู้อานวยการกลุม่ การบรหิ ารวิชาการ
......./......../.......
......./......../.......

แบบการปฏบิ ัติกิจกรรม PLC โรงเรยี นปากเกร็ด จังหวัดนนทบรุ ี ภาคเรียนท่ี 1/2564
สมาชิกในกลมุ่ PLC

ท่ี ชือ่ -สกุล ตาแหน่ง ลายมอื ชื่อ

1 นางสุพศิ รนขาว ประธาน

2 นางสาวกนกวดี นพิ นั ธป์ ระศาสน์ กรรมการ
3 นางสาวชนกมณฐ์ แสงสี กรรมการ

4 นางสาวอัมพร พละโพธ์ิ เลขานุการ

รายละเอยี ดกิจกรรมชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพครู

วงจร (Loop) ท่ี 1 ระยะเวลา 17 พ.ค. 2564 – 30 ก.ค. 2564

ท่ี กจิ กรรม วนั /เดือน/ปี เวลา (ชม.)
2
ข้ันตอนที่ 1 Community : การสรา้ งทีม PLC 4
2
1. ประชุมกลุ่มสาระ ฯ และสร้างทมี PLC 20-21 พ.ค. 64 8

ขน้ั ตอนที่ 2 Problem : การระบุปญั หา 4

2. วเิ คราะห์ปัญหา และระบุสาเหตุ 27-28 พ.ค. 64

1-2 ม.ิ ย. 64

ขน้ั ตอนท่ี 3 Practice : กระบวนการพัฒนา/การปฏบิ ัติ

3. ทมี PLC ออกแบบและกาหนดแนวทางในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนา 10-11 ม.ิ ย. 64

4. ดาเนนิ การแกป้ ัญหา และเก็บรวบรวมข้อมูล 17-18 ม.ิ ย. 64
5. ทีม PLC พูดคุย แบ่งปนั ขอ้ มูล และร่วมกันสะท้อนคิดทุก ๆ สัปดาห์ 24-25 มิ.ย. 64
1-2 ก.ค. 64
เป็นเวลาทง้ั หมด 4 สปั ดาห์ 8-9 ก.ค. 64

ข้นั ตอนท่ี 4 Reflection : การสะท้อนคดิ

4. สะท้อนคดิ รว่ มกัน แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ระหว่างสมาชกิ ในทมี PLC 15-16 ก.ค.
สรุปแนวทางในการพัฒนา/แกไ้ ขปญั หา ทป่ี ระสบความสาเรจ็ หรอื 64

5. ปญั หาทย่ี ังแก้ไม่สาเร็จเพื่อนาไปออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาในวงจรตอ่ ไป 22-23 ก.ค. 64

ตอนท่ี 2 ขอ้ เสนอแนะ 2
22
8. คณุ ครูสะท้อนคดิ จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ของตนเอง
9 สรุปผลและรายงานผลการปฏิบัตกิ จิ กรรม PLC ต่อหัวหนา้ กล่มุ สาระฯ 29-30 ก.ค. 64

และฝ่ายบรหิ าร

รวมเวลาปฏิบัตกิ ิจกรรมชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (ช่ัวโมง)

บันทึกการปฏิบตั กิ ิจกรรมชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี
(Professional Learning Community : PLC)

ชื่อ-สกลุ ………นางสาวอัมพร.....พละโพธิ์…………………………………….เวลาโดยรวม……22….ช่วั โมง
ตอนท่ี 1 กิจกรรมชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC)

คาช้แี จง โปรดให้ข้อมูลเกี่ยวกบั ขน้ั ตอนของกระบวนการ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง ระยะเวลา และเคร่ืองมอื พัฒนา

ขั้นตอนของ

กระบวนการ ขนั้ ตอนของกระบวนการ PLC ระยะเวลา

PLC วนั ที 20-21 พ.ค. 64
จานวน 2 ช่ัวโมง
ขั้นตอนท่ี 1 1. สมาชกิ ของทีม

Community - คุณครใู นกล่มุ สาระการเรยี นรทู้ กุ คนพูดคยุ ปรกึ ษา

การสร้างทมี PLC แบง่ ปนั ประสบการณ์ ปญั หา และวิชาที่สอน

- คุณครูจดั กลุ่ม สร้างทมี PLC

1) นางสพุ ิศ รนขาว

2) นางสาวกนกวดี นพิ นั ธ์ประศาสน์
3) นางสาวชนกมณฐ์ แสงสี
4) นางสาวอมั พร พละโพธ์ิ

ข้ันตอนที่ 2 1. วเิ คราะห์ปัญหา วันท่ี 27-28 พ.ค. 64

Problem ทีม PLC รว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับสภาพปัญหาหรือสิง่ ท่ี วันท่ี 1-2 ม.ิ ย. 64

การระบปุ ัญหา ต้องการพฒั นา และวเิ คราะห์ปัญหาเพอ่ื หาสาเหตุและ จานวน 4 ช่วั โมง

ผลกระทบที่เกิดขน้ึ รว่ มกนั ภายในกลุม่ PLC แล้วพบว่า

ปัญหาหรอื ส่งิ ทีต่ ้องการพัฒนา

ปัญหาทพ่ี บ

ผลกระทบจากการแพร่ระบาดโรคโควดิ 19 ทาใหน้ กั เรยี นทกุ คนต้องเรยี นออนไลนท์ ี่บ้าน ซ่งึ มนี กั เรยี น

เข้าเรยี นประมาณร้อยละ 60 ของแต่ละหอ้ ง

สาเหตุของปญั หา

1. ความไมพ่ ร้อมของนกั เรียนในด้านการเรยี นและอปุ กรณท์ ่ใี ชส้ าหรบั เรียนออนไลน์

2. นกั เรียนเกดิ ความรสู้ กึ เบอ่ื ท่ีต้องนงั่ อยหู่ นา้ จอโทรศัพทห์ รอื หน้าคอมพิวเตอรน์ าน ๆ

3. นกั เรียนเกดิ ความรทู้ ้อกับบางรายวิชาท่เี รียนไมค่ อ่ ยเขา้ ใจในเนอ้ื หาและทางานสง่ ไมท่ นั

ขั้นตอนที่ 3 1. ออกแบบและกาหนดแนวทางการแก้ปัญหา วันที่ 10-11 มิ.ย. 64

Practice - การรวบรวมความคิดเห็น วนั ที่ 17-18 ม.ิ ย. 64

กระบวนการ - รว่ มกันอภปิ รายแลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการแก้ไข วนั ที่ 24-25 มิ.ย. 64

พฒั นา/การ ปัญหาทเ่ี กดิ จากการใชห้ รือสรา้ ง วธิ กี ารจดั การเรียนรู้, วนั ท่ี 1-2 ก.ค. 64

ปฏิบตั ิ สื่อ, นวตั กรรม, เทคโนโลยี ฯลฯ เพอ่ื กาหนดทิศทางและ วนั ที่ 8-9 ก.ค. 64

แนวทางการแกป้ ัญหา

- ดาเนนิ การแกป้ ญั หา และเกบ็ รวบรวมข้อมลู จานวน 10 ชวั่ โมง

การสนทนา / การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
1. การปรบั ความคิดของครูใหม้ องนักเรียนมีความพรอ้ มและศกั ยภาพในการเรียนรทู้ แ่ี ตกต่างกนั คอยเป็นท่ี
ปรึกษาและให้กาลังใจเสริมแรงทางบวก พร้อมเอ้ืออานวยความสะดวกต่อผู้เรยี นในการแสวงหาความรู้ มี
อิสระในการคิด และลงมอื ปฏิบัติจริง
2. การตดิ ตอ่ กบั ผู้ปกครอง เพ่ือใหผ้ ู้ปกครองช่วยดแู ลและกาชบั เอาใจใส่ คอยส่งเสริมใหก้ าลังใจในการเรยี น
ของนกั เรียน ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ท่ดี ีเก่ยี วกับการร้จู กั ตนเอง การมวี นิ ัยและความรับผดิ ตอ่ การเรยี น เพ่ือให้
นักเรยี นสามารถสรา้ งเปา้ หมายในการเรยี นรู้
3. ใหน้ กั เรียนผลัดกันเปน็ ผดู้ ูแลชน้ั เรยี นออนไลนใ์ นแต่ละคาบ เพ่ือเป็นการส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมคี วาม
รับผดิ ชอบและช่วยสง่ เสริมให้นักเรียนมที กั ษะในการติดต่อประสานงานระหว่างเพือ่ นนกั เรยี นและ
ครูผู้สอน
4. ครูควรมีช่องทางใหน้ กั เรียนสามารถเข้ามาเรียนย้อนหลงั ได้ สาหรบั นกั เรียนบางคนท่มี ปี ัญหาการเข้าเรยี น
ออนไลน์ตามวันเวลาทกี่ าหนด เพื่อใหน้ ักเรยี นทไ่ี มไ่ ดเ้ รยี นตามวนั เวลาทีก่ าหนดสามารถเข้ามาเรยี น
ย้อนหลงั ได้
5. การสร้างปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างครูกบั ผเู้ รยี น ผู้เรียนกับผู้เรียน สาหรับการสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างครกู บั
ผ้เู รียนนั้น ควรมีการพูดตดิ ต่อกบั ผเู้ รียน หรอื ใช้กิจกรรม อปุ กรณ์การสอน เครอ่ื งมือ หรือวิธีการต่าง ๆ มา
เปน็ สอ่ื ในทางออ้ ม
6. การจัดประสบการณ์โดยใช้คุณธรรมนาความรู้ บรู ณาการ คุณธรรมและพัฒนาผเู้ รยี นให้ประพฤตติ นยดึ
หลัก คุณธรรม และพฒั นาใหม้ ีค่านยิ มอันพึงประสงค์
7. การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยที ี่หลากหลายสอดคล้องกับ
ธรรมชาตวิ ชิ าและวธิ กี ารเรยี นรู้ของผ้เู รยี นใชว้ ธิ วี ัดและประเมินด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลายตามสภาพจรงิ
และถือวา่ การวดั และประเมินเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจัดการเรียนรู้ และใช้กระบวนการวจิ ยั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
การเรียนรู้
8. การบูรณาการการเรียนออนไลน์รว่ มกบั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดังน้นั จงึ มกี ารจัดการเรียนการสอนโดยครู
สอนออนไลน์ร่วมกับใหน้ ักเรียนไปศึกษาข้อมูลตา่ ง ๆด้วยตนเอง แลว้ นาความรทู้ ่ีไดม้ าแบง่ ปัน
ประสบการณใ์ ห้เพ่อื น ๆ ได้ฟัง เพอื่ เปน็ การบรู ณาการการเรียนออนไลนค์ วบค่กู ับเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง

จากการสนทนาทาใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ของสมาชกิ กลมุ่ PLC เห็นว่าจะแกป้ ัญหาดว้ ย

❒ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสอนออนไลน์

❒ ส่อื Power Point เว็บไซต์ทางการศึกษา

❒ อืน่ ๆ ระบ.ุ ..........................................................................................................................
ชอื่ กจิ กรรม พัฒนาการเรียนรู้ สูย่ คุ เรยี นออนไลน์
ขั้นตอนการดาเนนิ การแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวทางที่เลือก

1. สอบถาม พดู คุยกับผ้เู รยี นเพ่ือสารวจปญั หาทเ่ี กิดจากการเรยี นออนไลน์
2. จดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ใหก้ บั นกั เรยี นเพื่อแกป้ ัญหาในการเรยี นออนไลน์ เช่น ส่งใบกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นทา และให้
นักเรียนสืบคน้ หาขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง
3. เตรียมแผนการให้พร้อมรับมือกับทุกเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันและแบ่งเนื้อหาย่อย ๆ เพ่ือเพิ่มการจดจ่อขอ
ผเู้ รียน

4. จัดบรรยากาศในช้ันเรยี นและใช้สื่อการเรียนการสอนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ สอนโดยการใช้ห้องเรียน Google
classroom / Pakkred Cyber

5. On Line ผ่านช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ On Air ทางโทรทัศนผ์ ่านดาวเทยี ม เช่น DLTV

On Hand จดั ส่งหนงั สอื แบบเรียน แบบฝึกหดั หรือใบงานท่ีโรงเรียนจดั ทาข้ึนไปยังนกั เรียนผา่ นผู้ปกครอง On
Site จัดการเรยี นเป็นกลุ่มเลก็ ๆ และเรียนในสถานทที่ ี่ปลอดภัย

และ On School Line โดยใชช้ ่องทาง Group Line ของแต่ละหอ้ งเรียนเปน็ ช่องทางตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหว่างครู
ประจาชน้ั กบั ผปู้ กครองและนกั เรียน รวมถงึ ใช้เป็นช่องทางการมอบหมายงาน หรอื ส่งการบา้ น

5. จัดใหม้ กี ารประเมินผลโดยกลมุ่ เพอ่ื น (Peer assessment) โดยผู้ปกครองและครู

เคร่อื งมือในการเกบ็ ข้อมลู วนั ท่ี 15-16 ก.ค. 64
1. แบบสารวจปญั หาในการเรยี นการสอนออนไลน์
วนั ที่ 22-23 ก.ค. 64
ขนั ตอนท่ี 4 1. การสะทอ้ นคดิ จานวน 4 ชว่ั โมง
Reflection - ดาเนนิ การแกป้ ัญหา และเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การสะท้อนคิด - พดู คยุ แบง่ ปันขอ้ มูล และรว่ มกันสะท้อนคิด

2. สรุปกจิ กรรม
- ทีม PLC รว่ มกันสรปุ ผลการดาเนนิ งาน สง่ิ ท่ดี ี ที่ควร
ปฏบิ ัตติ ่อไป และสงิ่ ทต่ี ้องพัฒนา

การสนทนาสะท้อนคิด / การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
- การจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นเรยี นรู้ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสามารถศึกษาคน้ ควา้ และเพิ่มศกั ยภาพการเรยี นรดู ้วย

ตนเอง โดยการคน้ ควา้ จากสื่อออนไลนต์ ่าง ๆ
- ควรสรา้ งแรงจงู ใจโดยการเสริมแรงในรูปแบบตา่ ง ๆ ให้กบั นักเรียน เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมคี วามมุ่งมัน่ ทจี่ ะเรยี นรู้

มากข้นึ เชน่ การให้งานท่นี กั เรียนอยากทา การเรียนรรู้ ่วมกนั และมคี วามยืดหยุ่น
สงิ่ ทดี่ ี ทีค่ วรปฏบิ ตั ิ (Know how)

1. ส่ือสารผา่ นช่องทางทหี่ ลากหลาย
2. ให้โอกาสนักเรยี นไดม้ กี ารลงมือทาได้ค้นคว้าหาความรแู้ ละเรียนรดู้ ้วยตัวเอง
3. ทาให้การเรียนรู้เป็นการเข้าสังคม
4. ทาให้การเรียนรูอ้ อนไลนก์ ลายเป็นเกม ด้วยเหรียญรางวลั และใบประกาศฯ
5. การให้ feedback ทม่ี ีคุณภาพ ในกรอบเวลาที่เหมาะสม
6. โอกาสท่ีนักเรียนจะได้ประเมินตวั เอง
7. ทาให้การเขา้ ถึงพื้นที่การเรียนรอู้ อนไลน์ เปน็ เรอ่ื งงา่ ยสาหรับนักเรยี นทุกคน
ส่ิงทตี่ ้องพัฒนา
- ให้นักเรยี นฝึกการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองมากยง่ิ ขน้ึ
- ทาใหบ้ ทเรียนออนไลนเ์ ปน็ เรอื่ งบันเทิง
- ใชแ้ อพพลิเคช่ันต่าง ๆ ในการสร้างชิ้นงาน

ตอนที่ 2 ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในกจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) คร้ังน้ี
1. ส่ิงท่ไี ดจ้ ากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม PLC

1. ครจู ดั กิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีส่วนรว่ มในทุกกจิ กรรมรวมท้งั กระตนุ้ ให้ผเู้ รียน

ประสบความสาเร็จในการเรียนรู้

2. ครจู ัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจและสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาไดต้ าม

ศกั ยภาพ

2. ปญั หา/อปุ สรรค ระหว่างการดาเนนิ กจิ กรรม PLC

-

3. ข้อเสนอแนะ/อนื่ ๆ
ลงชอ่ื .............................................
(นางสาวอมั พร พละโพธิ์)
27 สิงหาคม 2564

ภาคผนวก

แบบสารวจปญั หาในการเรียนการสอนออนไลน์
รายงานการวัดผลและประเมนิ ผลของนกั เรยี น

แบบสารวจปัญหาในการเรียนการสอนออนไลน์
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนปากเกร็ด
คาช้ีแจง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงใน ลงในชอ่ งว่างตรงตามความเปน็ จริง

ข้อ สภาพปัญหา ไม่มปี ญั หา มีบางครั้ง มปี ญั หา
1 ความเรว็ ของสญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตในการเช่ือมตอ่
2 การเมื่อยล้าสายตาจากการใช้มอื ถือ คอมพวิ เตอร์หรอื

อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการเรียน
3 ขาดความเขา้ ใจในรายวชิ าที่เนน้ ปฏบิ ัติ
4 การสือ่ สารความเขา้ ใจระหวา่ งครูและนักเรยี น
5 การทางาน/การสง่ งาน
6 ขาดสมาธิในการเรยี นเนื่องจากไมม่ คี รูคอยกระตุ้น
7 อปุ กรณท์ ใ่ี ช้เรยี นไมท่ ันสมัย ไม่รองรบั แอพพลเิ คชั่นท่ีใช้ใน

การเรยี น
8 สภาพแวดลอ้ มในขณะท่เี รยี นไมเ่ อื้ออานวย
9 มีค่าใช้จ่ายเพ่มิ มากขึ้นจากการเรียนออนไลน์
10 ทางานชว่ ยผูป้ กครอง/ ครอบครวั

ภาพประกอบการปฏบิ ัติกิจกรรมชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี ครู
(Professional Learning Community : PLC)

โรงเรียนปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี ภาคเรยี นท่ี 1/2564

แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน
ประจาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

ของ
นางสาวอัมพร พละโพธิ์

ตาแหนง่ ครู
งานแนะแนว

โรงเรียนปากเกรด็
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 3

*หมายเหตุ ระหว่างวนั ที่ 12 พฤษภาคม 2564 – 8 สงิ หาคม 2564 ลาคลอด

แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระจาเดอื นสงิ หาคม

ของ นางสาวอมั พร พละโพธิ์ ตาแหนง่ ครู

งานแนะแนว โรงเรียนปากเกร็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษานนทบรุ ี
ประจาสปั ดาห์ 1 ระหวา่ งวันท่ี 9 สงิ หาคม - 15 สงิ หาคม 2564

งานการเรยี น ภาระงานที่ปฏิบตั ิ จานวนคาบ
การสอน
1. ปฏบิ ตั ิการสอนรายวชิ าแนะแนว ระดบั ช้ัน ม.1/1- 1/15 11
2. ปฏบิ ตั กิ ารสอนรายวชิ าแนะแนว ระดับชน้ั ม.2/9- 1/15 7

รวมคาบปฏิบัติการสอน 18 ชวั่ โมง

หมายเหตุ วนั หยดุ ราชการ วนั ท่ี 12 /สงิ หาคม /2564 จานวนคาบ
6
ลักษณะงาน ภาระงานท่ปี ฏบิ ตั ิ
6 ชั่วโมง
งานสนบั สนนุ การ 1. ปฏิบัติหน้าท่ีงานแนะแนวและระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน

จดั การเรียนรู้

รวมชั่วโมงปฏิบัติงานสนับสนนุ การจัดการเรียนรู้

ลกั ษณะงาน ภาระงานทีป่ ฏิบตั ิ จานวนช่ัวโมง
1
3. งานปฏิบัติตาม 1. ประชมุ กลมุ่ งานแนะแนว วนั ที่ 9 ส.ค. 2564 15
นโยบายและจดุ เน้น 2. อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นรแู้ บบ
ออนไลน์ สาหรับครูสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั 15 ช่วั โมง
พน้ื ฐาน วันท่ี 14-15 ส.ค. 2564

รวมชั่วโมงงานปฏิบตั ิตามนโยบายและจดุ เน้น

(นางสาวอมั พร พละโพธ์)ิ (นางสุพิศ รนขาว)

ผ้บู ันทกึ ขอ้ มูล หัวหน้ากลุ่มงานแนะแนว
15/สิงหาคม/2564 ผู้รับรองการปฏิบตั งิ าน

แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระจาเดือนสงิ หาคม

ของ นางสาวอัมพร พละโพธิ์ ตาแหน่งครู
งานแนะแนว โรงเรยี นปากเกรด็

สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานนทบรุ ี
ประจาสปั ดาห์ 2 ระหวา่ งวันที่ 16 สงิ หาคม - 22 สงิ หาคม 2564

งานการเรยี น ภาระงานทป่ี ฏิบัติ จานวนคาบ
การสอน
1. ปฏบิ ตั ิการสอนรายวชิ าแนะแนว ระดับชั้น ม.1/1- 1/15 15
2. ปฏิบตั กิ ารสอนรายวิชาแนะแนว ระดับชัน้ ม.2/9- 1/15 7

หมายเหตุ - รวมคาบปฏบิ ัติการสอน 22 ชว่ั โมง

ลกั ษณะงาน ภาระงานท่ปี ฏบิ ตั ิ จานวนคาบ
1. ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่งานแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น 6
งานสนับสนุนการ
จัดการเรียนรู้ รวมชั่วโมงปฏบิ ตั ิงานสนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ 6 ชวั่ โมง

ลักษณะงาน ภาระงานทป่ี ฏิบตั ิ จานวนชว่ั โมง

3. งานปฏิบัตติ าม -ประชมุ นิเทศคณะครูโรงเรยี นปากเกรด็ 3
นโยบายและจดุ เน้น
-การอบรมการสรา้ งแบบทดสอบดว้ ย LIVEWPRKSHEET ในการ 3.5

อบรมเชิงปฏบิ ัติการ ONLINE ผ่านระบบ ZOOM ร่นุ ที่ 1

Instructional Desital : Digital Media, New Yools and

Technology ศนู ย์พัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพือ่ ความเปน็ เลิศ

(HCEC) โรงเรยี นปากเกร็ด

รวมชั่วโมงงานปฏิบัตติ ามนโยบายและจุดเนน้ 6.5 ชวั่ โมง

(นางสาวอมั พร พละโพธิ)์ (นางสพุ ิศ รนขาว)
ผบู้ นั ทกึ ข้อมูล หวั หน้ากล่มุ งานแนะแนว

22/สงิ หาคม/2564 ผู้รับรองการปฏบิ ตั ิงาน

แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั ิหน้าทปี่ ระจาเดือนสงิ หาคม

ของ นางสาวอมั พร พละโพธิ์ ตาแหนง่ ครู
งานแนะแนว โรงเรยี นปากเกร็ด

สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษานนทบรุ ี
ประจาสัปดาห์ 3 ระหวา่ งวนั ที่ 23 สงิ หาคม – 29 สงิ หาคม 2564

งานการเรียน ภาระงานท่ีปฏบิ ตั ิ จานวนคาบ
การสอน
1. ปฏบิ ตั กิ ารสอนรายวิชาแนะแนว ระดับชน้ั ม.1/1- 1/15 15
2.ปฏิบตั ิการสอนรายวชิ าแนะแนว ระดับชัน้ ม.2/9- 1/15 7

หมายเหตุ - รวมคาบปฏิบัติการสอน 22 ชว่ั โมง

ลักษณะงาน ภาระงานทป่ี ฏิบัติ จานวนคาบ
1. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่งี านแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 6
งานสนบั สนนุ การ
จัดการเรยี นรู้ รวมชั่วโมงปฏบิ ัติงานสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้ 6 ชว่ั โมง

ลักษณะงาน ภาระงานท่ปี ฏบิ ตั ิ จานวน
ช่วั โมง
3. งานปฏิบตั ิตาม -
นโยบายและจุดเนน้ รวมชั่วโมงงานปฏิบตั ิตามนโยบายและจุดเนน้ -

(นางสาวอมั พร พละโพธิ์) (นางสพุ ิศ รนขาว)
ผบู้ นั ทึกขอ้ มลู หัวหน้ากลุม่ งานแนะแนว

29/สิงหาคม/2564 ผรู้ ับรองการปฏิบัติงาน

แบบบนั ทกึ การปฏบิ ตั ิหนา้ ทปี่ ระจาเดอื นกนั ยายน

ของ นางสาวอัมพร พละโพธ์ิ ตาแหน่งครู
งานแนะแนว โรงเรยี นปากเกรด็

สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานนทบรุ ี
ประจาสปั ดาห์ 1 ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 5 กันยายน 2564

งานการเรยี น ภาระงานทปี่ ฏิบัติ จานวนคาบ
การสอน
1. ปฏิบตั ิการสอนรายวิชาแนะแนว ระดับช้ัน ม.1/1- 1/15 15
2.ปฏิบัตกิ ารสอนรายวิชาแนะแนว ระดบั ชั้น ม.2/9- 1/15 7

หมายเหตุ - รวมคาบปฏบิ ัตกิ ารสอน 22 ช่วั โมง

ลกั ษณะงาน ภาระงานทปี่ ฏิบตั ิ จานวนคาบ
1. ปฏิบตั ิหน้าทง่ี านแนะแนวและระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น 6
งานสนบั สนุนการ
จัดการเรียนรู้ รวมช่ัวโมงปฏิบตั ิงานสนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ 6 ชัว่ โมง

ลักษณะงาน ภาระงานท่ีปฏบิ ตั ิ จานวนช่วั โมง

3. งานปฏิบัตติ าม 1. ประชุมคณะครโู รงเรยี นปากเกรด็ วันท่ี 30 ส.ค. 2564 3.5
นโยบายและจดุ เนน้ 2. ประชมุ กลุ่มงานแนะแนว วนั ที่ 31 ส.ค. 2564 1
3. ประชุมครูระดับชัน้ ม.3 วนั ท่ี 1 ก.ย. 2564 1

รวมช่ัวโมงงานปฏิบตั ติ ามนโยบายและจุดเน้น

(นางสาวอัมพร พละโพธ์)ิ (นางสุพศิ รนขาว)

ผบู้ นั ทึกข้อมลู หวั หนา้ กลมุ่ งานแนะแนว
29/สิงหาคม/2564 ผ้รู ับรองการปฏบิ ัตงิ าน

โครงรา่ ง : งานวจิ ัยเพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

โรงเรียนปากเกรด็ อาเภอปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ งานแนะแนว

ชื่อครูผ้วู จิ ัย นางสาวอมั พร นามสกุล พละโพธิ์
ตาแหนง่ ครู คศ.1 วิทยฐานะ -

1. ขือ่ เร่ืองงานวจิ ัย ความเครยี ดในการเรียนออนไลน์ของนกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาชั้นปที ี่ 1

1.1 เปน็ งานวจิ ยั ประเภท  1.วจิ ยั /ผลสัมฤทธิ์ฯ  2.วจิ ัย/แบบสารวจ แบบสอบถาม
 3.วิจัย/พฤติกรรม  4.วจิ ัย/แบบรายบุคคล กรณีศึกษา (Case Study)
 5. อืน่ ๆ/ระบุ ...................................................................................................................................................................................................

1.2 ลักษณะงานวิจยั  1.เพอื่ แก้ปญั หา  2.เพอ่ื ปรับปรุง/พัฒนา  3. อนื่ ๆ/ระบุ .................................................

2. ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา (โดยยอ่ )
ความเป็นมาและความสาคัญ ความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดข้ึนเมื่อบุคคลต้องกับ

ปัญหาต่าง ๆ และทา ให้รู้สึกถูกกดดัน ไม่สบายใจวุ่นวายใจกลัวติกกังวล ตลอดจนถูกบีบค้นเมื่อบุคคลรับรู้หรือ
ประเมินวา่ ปญั หาเหลา่ นนั้ เปน็ สง่ิ ท่ีคกุ คามจิตใจ หรอื อาจจะก่อให้เกดิ อันตรายแกร่ ่างกายจะส่งผลให้สภาวะสมดุลของ
ร่างกายและจิตใจเสียไป เม่ือเกิดความเครียดบุคคลจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดและทาให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายด้านจิตใจและอารมณ์รวมท้ังด้านพฤติกรรมแต่เม่ือเวลาผ่านไป
และความเครยี ดเหล่านัน้ คลายลงร่างกายจะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกคร้ังหนึ่ง (ศรีจันทร์ พรจิรา ศิลป์, 2554 : 23)
ซึ่งความเครยี ด ในระดับ ท่พี อเหมาะทา ให้ความสามารถในการเรยี นรู้และความจาดีข้นึ แต่ความเครยี ดในระดบั ที่มาก
เกินไป กลับทาให้ความสามารถในการเรียนรู้และความจา แย่ลงนอกจากนั้นความเครียดในระดับท่ีรุนแรงเป็น
เวลานานและไม่สามารถจัดการได้จะส่งผลให้พฤติกรรมเส่ียงในด้านต่าง ๆ เช่น การสูบบุหร่ี ดื่มสุรา พฤติกรรมทาง
เพศทไ่ี ม่เหมาะสม พฤตกิ รรมก้าวร้าวรนุ แรงและปญั หาการเรยี นเปน็ ต้น ภาวะความเครียด สามารถเกิดข้นึ กบั ใครก็ได้
ไม่ว่าอยู่ในช่วงวยั ใดวัยรุ่นก็เป็นอีกวยั หนึง่ ต้อง ประสบความเครียดเช่นกันวยั รุ่นเป็นวัยที่มีพฒั นาการทางด้านต่าง ๆ
อย่างรวดเร็วบางคนไม่สามารถปรบั ตัวได้ทันยอ่ มก่อให้เกิดผลเสียทั้งต่อตวั วยั รนุ่ เองรวมท้ังส่ิงแวดล้อมที่เขาอาศยั อยู่
ดว้ ย (พนม เกตุมาน, 2550 : 11)วัยรุ่นจงึ เปน็ วัยที่มคี วามเสี่ยงมากโดยเฉพาะนกั เรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ที่มีช่วง
อายรุ ะหว่าง 16-18 ปี เป็นชว่ งวัยท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงตนเอง ทงั้ ในดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ สาเหตขุ องความเครียดใน
วัยรุ่นแตล่ ะคน เองกม็ คี วามหลากหลายตงั้ แตเ่ รื่องสว่ นตัวความสัมพนั ธ์แต่ปญั หาการเรียนนับว่า เป็นเรื่องหลกั เพราะ
สังคมไทยเน้นผลการเรียนเป็นเรื่องสาคัญในชีวิตของเยาวชน โดยเวทีความคิด “คนไทยมอนิเตอร์ 2557 เสียง

เยาวชนไทยเข้าใจเด็กไทยวนั้นร่วมเปล่ียนอนาคตสังคม” ได้สะท้อนถึงปัญหาต่อสังคมว่า ครอบครัวท่ี เน้นปลูกฝัง
เยาวชน ไปที่การเรียน เเละพัฒนาตนเองจะส่งผลให้ เยาวชนกวา่ รอ้ ยละ 90 ประสบกับความเครยี ดโดยร้อยละ 78
เครียดเร่ืองการเรียน เเละร้อยละ 99 ของเยาวชนให้ค่านิยามความสาเร็จว่าการได้ผลการเรียนหน้าท่ีการงาน เเละ
เงินเดอื นท่ดี (ี ครอบครัวข่าว3 , 2557 : ออนไลน)์ 2 สังคมไทยใช้การศึกษาเปน็ เครือ่ งมือยกระดบั สถานะและยดึ เปน็
ความม่ันคงในชีวิตการเล้ียงดูลูกบางประการของพ่อแม่อาจทาให้ลูกเกิดความเครียดมากข้ึน เช่น ความคาดหวังที่ไม่
อยบู่ นพน้ื ฐานความเปน็ จริงจนกลายเปน็ กดดันลูกพอ่ แม่ท่มี ีความเครียดก็จะสง่ ผลใหเ้ ดก็ เครียดดว้ ยพอ่ แม่คาดหวงัว่า
ลกู ต้องเรยี นสงู จะได้ประกอบอาชพี หาเงินได้จานวนมาก พอ่ แม่ผูป้ กครองเลยมีความคาดหวงสั งู ให้ลกู เรียนดอี ยบู่ ้านก็
อยากจะเหน็ ลกู ขยันอา่ นหนงั สือทาการบ้านเยอะๆ เด็กทีเ่ รียนไมเ่ ก่งก็ทุกข์แตเ่ ดก็ เรยี นเกง่ ก็ทกุ ข์เพราะถูกคาดหวังให้
ต้องรักษาระดับความเก่ง การเปล่ียนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วก็ยิ่ง เป็นตัวกดดันให้พ่อ แม่ คาดหวังว่าลูกต้อง
เติบโตและอยู่รอดในสังคมให้ได้ประกอบกับระบบการศึกษาที่เนน้ ระบบประเมินคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิก็ย่ิงเป็นเครอ่ื ง
เรง่ ใหเ้ กิดความกลัวล้มเหลว ชวี ติ ทลี่ ้มไม่ได้จงึ ก่อให้เกิดความเครียด มากขน้ึ (ภุชงคเ์ หล่ารุจิสวัสด์, 2561 :ออนไลน)์
นอกจากนน้ั ยังมีความเครียดทเ่ี กิดจากโรงเรยี น เช่น ครูไมเ่ ข้าใจเดก็ เพื่อนแกลง้ เดก็ ไม่ได้รบั การยอมรับจากเพ่อื น และ
ที่พบบ่อยในปัจจุบันคือความเครียดจากการ เรียน เช่น การบ้านที่มากเกินไปการแข่งขันในเรื่องเรียนการสอบต่าง ๆ
และในบางครอบครัวที่พ่อ แมจ่ รงิ จงั เร่อื งเรียนมากทาให้เด็กตอ้ งแบกรับความคาดหวังของพอ่ แม่ทง้ั ของครู(เบญจพร
ตนั ตสูต,ิ 2560 :32)

สามารถสรุปได้ว่านักเรียนมีความเครียดด้านการเรียน เน่ืองมากจากหลายปัจจัย เช่น การสอบ การเรียน
จากผปู้ กครองการถูกเปรียบเทยี บด้านการเรียนกบั เพอ่ื นการที่ต้องเรยี นในรายวิชาท่ีไม่ถนัดอกี ท้งั เครียดด้านการเรีย
เพราะผปู้ กครองคาดหวงั ว่านกั เรียนได้เรยี นในโรงเรียนท่ีมีอันดับที่สูงแล้วยอ่ มต้องเรยี นเก่ง มผี ลคะแนนทางการเรียน
ท่ีดีและนักเรียนให้ความเห็นว่าโรงเรียนมีเนื้อหาการเรียนการสอนที่ยากมีการบ้านเยอะ ส่งผลให้นักเรียนมี
ความเครยี ดดา้ นการเรยี นดังนั้นผ้วู ิจยั จึงสนใจที่จะทาการศึกษา ความเครยี ดของ นกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1
เพ่ือจะได้ทราบถึงความเครียดในการเรียน ซ่ึงผลท่ีได้สามารถปรับใช้ในการแกป้ ัญหาหรือป้องกันปัญหาท่ีอาจเกิดขนึ้
จากสภาวะความเครียดได้

3. วตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ยั (ความม่งุ หมายของงานวจิ ยั )

1. เพอ่ื ศกึ ษาระดับความเครยี ดดา้ นการเรียน ของนกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1

2. เพ่ือเปรียบเทยี บความเครียดดา้ นการเรียนของนักเรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 จาแนกตามเพศ
ระดับชัน้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น แผนการ เรียน และสถานภาพครอบครวั

4. ความสาคญั ของงานวิจยั

สามารถสรปุ ได้วา่ นกั เรียนมคี วามเครยี ดดา้ นการเรยี น เนื่องมากจากหลายปจั จัย เชน่ การสอบ การเรยี น
จากผู้ปกครองการถกู เปรียบเทียบด้านการเรยี นกับเพื่อนการท่ตี อ้ งเรยี นในรายวิชาที่ไม่ถนดั อกี ท้งั เครียดด้านการเรีย
เพราะผู้ปกครองคาดหวังวา่ นักเรยี นได้เรยี นในโรงเรยี นท่มี อี ันดบั ท่สี งู แล้วย่อมตอ้ งเรียนเกง่ มีผลคะแนนทางการเรียน
ท่ีดแี ละนักเรียนให้ความเห็นว่าโรงเรียนมเี น้อื หาการเรียนการสอนท่ียากมีการบา้ นเยอะ สง่ ผลใหน้ กั เรียนมี

ความเครยี ดด้านการเรียนดงั นัน้ ผู้วจิ ยั จงึ สนใจทีจ่ ะทาการศึกษา ความเครียดของ นักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
เพื่อจะไดท้ ราบถึงความเครยี ดในการเรยี น ซึง่ ผลท่ีได้สามารถปรับใชใ้ นการแก้ปัญหาหรือปอ้ งกันปัญหาที่อาจเกดิ ขึ้น
จากสภาวะความเครยี ดได้

5. ขอบเขตของการวจิ ยั

1.ประชากร ได้แก่ นักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่กาลังศึกษาในโรงเรียนปากเกร็ด ปีการศึกษา
2564
2. เครอื่ งมอื ท่ีใช้ คือแบบประเมนิ ความเครยี ด

6. เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย (เอกสาร ชุดการเรียน ชุดการสอน เอกสารประกอบการเรียน
แบบประเมินความเครียด

7. ตวั แปรทีศ่ กึ ษา
7.1 ตัวแปรต้น/ตัวแปรอสิ ระ (Independent Variable) ไดแ้ ก่
แผนการจัดการเรียนรูท้ ีส่ อดแทรกการใช้แบบประเมินความเครยี ด
7.2 ตวั แปรตาม (dependent Variable) ไดแ้ ก่
ความเครียดด้านการเรยี น

8. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ (ถ้ามี)
ความเครยี ดด้านการเรยี น หมายถึง ภาวะทนี่ กั เรียน รูส้ กึ ไม่สบายกายเช่น ปวดศรี ษะเบ่อื อาหาร หรือทาน

อาหารมากกว่าปกตปิ วดเม่ือยรา่ งกาย นอนไมห่ ลบั ไมม่ ั่นใจในตัวเองไมส่ บายใจ หนกั ใจ วิตก กงั วล ทอ้ แท้ส้ินหวัง
สบั สน ถูกบีบค้ันเป็นทกุ ขซ์ ึง่ เกดิ จากการทนี่ ักเรยี นรับรูห้ รือประเมนิ สิง่ ทีเ่ ขา้ มาในประสบการณ์ด้านการเรียน การสอบ
การทา กจิ กรรมในช้นั เรยี น การทบทวนบทเรียนของตนวา่ เปน็ สง่ิ ทีค่ ุกคามจิตใจเปน็ สถานการณอ์ ันไม่พึงพอใจ หรือ
เกิดความปรารถนาแลว้ ไม่ไดร้ ับการตอบสนอง หรอื ผดิ พลาดจากเป้าหมายที่ต้องการอันเปน็ ผลใหส้ ภาวะสมดุลของ
ร่างกายและจติ ใจเสียไป ตลอดจนทาใหเ้ กิด การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมบางอย่างของตนเอง

6. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ตัวแปรตาม
ความเครียดดา้ นการเรยี น
ตัวแปรตน้
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดแทรก
การใชแ้ บบประเมนิ ความเครยี ด

7. สมมตุ ฐิ านของการวิจัย
1. นักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 มีเพศต่างกนั มคี วามเครยี ดด้านการเรยี นแตกตา่ งกัน

2. นักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 มีระดับชน้ั ต่างกันมคี วามเครยี ดด้านการเรียนแตกตา่ งกัน

3. นกั เรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นต่างกนั มีความเครยี ดดา้ นการเรียนแตกตา่ ง
กัน

4. นักเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 มีแผนการเรยี นต่างกนั ความเครียดดา้ นการเรียนแตกตา่ งกัน

5. นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 มสี ถานภาพครอบครวั ตา่ งกัน มคี วามเครียดด้านการเรยี นแตกตา่ ง
กัน

8. เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
จากการศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับตัวแปรทางเพศ งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ

ระดับชั้น งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้องกับแผนผลการเรยี น งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง
กับครอบครัว

9. แบบแผนการวิจยั และสถิติทใ่ี ช้ในการวจิ ัย

9.1 แบบแผนการวจิ ัยและสถิตทิ ี่ใช้ทดสอบสมมตุ ิฐาน
9.1.1  แบบแผนการทดลองแบบ One-group pretest – posttest design (เปรยี บเทียบ

ก่อน-หลงั )

กลมุ่ สอบกอ่ น ทดลอง สอบหลัง
E T1 X T2

สถติ ิทดสอบ t (t-test for Dependent Samples)  D : df = n −1

สตู ร สูตรทใ่ี ชท้ ดสอบ t = n D2 −(D)2

n −1

9.1.2  แบบแผนการทดลองแบบ One-group pretest – posttest design (เปรียบเทยี บ

กบั เกณฑ์/เกณฑผ์ ่าน/เกณฑ์ที่ต้องการ)

กลุม่ ทดลอง สอบหลัง

E X T2

สถติ ทิ ดสอบ t (t-test One group) X − 0
s
สตู ร สูตรทีใ่ ชท้ ดสอบ t= : df = n −1

n

9.1.3  แบบแผนการทดลองแบบเปรยี บเทยี บ 2 กลุ่ม)( pretest – posttest two group design)

ใช้เปรยี บเทียบนวตั กรรม/เทคนิควธิ ีการ อยา่ งน้อย 2 แบบ กับกลุม่ ทดลอง 2 กลุ่ม

กลมุ่ สอบกอ่ น ทดลอง สอบหลัง

E ทดลอง T1 X T2

C ควบคมุ T1 X T2

สถติ ิทดสอบ F (F-test ) แบบการวิเคราะหค์ วามแปรปรวนร่วม (analysis of covariance : ANCOVA)

สูตร สตู รที่ใช้ทดสอบ F= S2b
S2w

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

9.1.4  สถติ ที่ใช้ทดสอบสมมุตฐิ านทมี่ ีมาตราประมาณคา่ (Rating Scale) ประกอบด้วยค่าเฉลยี่ เลข

คณิต ( X ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. )
สตู ร คา่ เฉลยี่ เลขคณิต ( X ) = fixi

N

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

สูตร ค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( S.D. ) = fixi2 −(x)2
n(n −1)

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
9.1.5  สถติ ทใี่ ชท้ ดสอบสมมตุ ฐิ านอื่น (ถา้ มี : ระบ)ุ

. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….
. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………….

9.2 สถิตพิ ืน้ ฐาน fixi xi
N N
9.2.1  คา่ เฉลี่ยเลขคณติ ( X )= , ( X )=

ใช้หา - ผลเป็นแบบประเมินตนเอง (SDQ) ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง สาหรับนักเรียน

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี นปากเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี

9.2.2  คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D. )= fixi2 −(x)2 , ( S.D. )= n(xi2 )−(xi )2
n(n −1) n(n −1)

ใช้หา - ผลเป็นแบบประเมินตนเอง (SDQ) ฉบับนักเรียนประเมินตนเอง สาหรับนักเรียน
ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี

9.3 สถิตทิ ่ีใช้ในการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื (ถ้าม)ี

9.3.1  ค่าความสอดคล้อง (IOC)  ค่าความยาก (p)

 ค่าอานาจจาแนก (r)  ค่าความเช่อื มน่ั ( rtt ,  )

9.3.2  ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองมือ ( E / E )
12

 หาดัชนีประสิทธผิ ล (Effectiveness Index : E.I. )

10. ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั
1. เพื่อทราบถงึ ระดบั ความเครียดดา้ นการเรยี นของนกั เรยี นระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1

2. เพอื่ เป็นแนวทางใหโ้ รงเรยี นหาทางปอ้ งกันชว่ ยเหลอื และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกบั ความเครยี ดด้านการเรยี น ของ
นักเรยี นระดับมธั ยมปีท่ี 1ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

11. แหลง่ คน้ ควา้ หรอื เอกสารอา้ งอิง (โดยย่อ)
กรมสุขภาพจติ . (2541).การดแู ลสขุ ภาพแบบธรรมชาต.ิ กรุงเทพฯ: องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก

กรมสุขภาพจติ . (2559). องคค์ วามูร้สุขภาพจิตสาหรับประชาชน. พิมพคร์ ้งั ที่5 .นนทบุรี : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากดั

ลงชอื่ ผเู้ สนอโครงรา่ งงานวิจยั................................................................................................
(นางสาวอัมพร พละโพธ์)ิ
ตาแหน่ง ครู คศ.1

23/สงิ หาคม/2564...................... (ภาคเรียนท่ี 1/2564)

การหาดชั นปี ระสิทธิผลของแผนการจดั การเรยี นรู้/เอกสารการจัดการเรยี นรู้

เผชิญ กิจระการ (2546 : 1-6) ไดเ้ สนอแนวทางในการหาประสทิ ธิผลของแผนการเรยี นรหู้ รอื ส่ือทีส่ ร้างขน้ึ
โดยใหพ้ ิจารณาจากพัฒนาการของนกั เรียนจากกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นว่ามคี วามรคู้ วามสามารถเพ่ิมขน้ึ อยา่ งเชื่อถอื
ได้หรือไม่ หรอื เพิ่มขึน้ เทา่ ใดซึง่ อาจพจิ ารณาได้จากการคานวณคา่ t-test แบบ Dependent Samples หรือหาค่า
ดัชนีประสทิ ธผิ ล (Effectiveness Index : E.I) มรี ายละเอียด ดังน้ี

1. การหาคา่ พฒั นาการท่เี พิ่มข้นึ ของผ้เู รียนโดยอาศยั การหาค่า t-test (แบบ Dependent Samples) เปน็
การพิจารณาดูวา่ นกั เรยี นมีพฒั นาการเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งเชอ่ื ถือได้หรอื ไม่ โดยทาการทดสอบนกั เรียนทุกคนก่อน (Pretest)
และหลงั เรียน (Posttest) แลว้ นามาหาคา่ t-test แบบ Dependent Samples หากมีนัยสาคัญทางสถติ ิ กถ็ อื ได้วา่
นักเรียนกลมุ่ นน้ั มพี ัฒนาการเพ่ิมขน้ึ อยา่ งเชือ่ ถอื ได้

2. การหาพฒั นาการทเ่ี พ่มิ ข้นึ ของนักเรยี นโดยอาศัยการหาค่าดชั นปี ระสทิ ธิผล (Effectiveness Index : E.I)
มีสูตรดงั น้ี

ดัชนีประสิทธิผล = ผลรวมของคะแนนหลงั เรียนทุกคน – ผลรวมของคะแนนก่อนเรียนทกุ คน
(จานวนนกั เรยี น x คะแนนเตม็ ) – ผลรวมของคะแนนกอ่ นเรยี นทุกคน

การหาค่า E.I เปน็ การพจิ ารณาพฒั นาการในลกั ษณะท่วี ่าเพ่ิมข้นึ เทา่ ไร ไมไ่ ด้ทดสอบว่าเพ่มิ ข้ึนอยา่ งเช่ือถือได้หรอื ไม่
วธิ กี ารอาจแปลงคะแนนให้อยใู่ นรปู ของรอ้ ยละกไ็ ด้ ดงั นี้

ดัชนีประสิทธิผล = รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนหลังเรยี น – รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนก่อนเรยี น
100 – รอ้ ยละของผลรวมของคะแนนกอ่ นเรยี นทกุ คน

ขอ้ สังเกตบางประการที่เกีย่ วกบั ค่า E.I.
1. E.I. เปน็ เรือ่ งของอตั ราสว่ นของผลต่าง จะมีคา่ สงู สุดเปน็ 1.00 ส่วนคา่ ตา่ สุดไมส่ ามารถกาหนดได้เพราะ

ค่าตา่ กว่า -1.00 และถ้าเป็นค่าลบแสดงวา่ ผลคะแนนสอบก่อนเรยี นมากกว่าหลังเรียน ซึ่งหมายความวา่ ระบบการ
เรยี นการสอนหรือส่อื ที่สรา้ งข้นึ ไมม่ ีคุณภาพ

2. การแปลผล E.I. ในตาราง ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในบทท่ี 4 ของงานวจิ ยั มักจะใชข้ อ้ ความไม่เหมาะสม
ทาให้ผู้อา่ นเขา้ ใจความหมายของ E.I. ผิดจากความเปน็ จริง เช่น ค่า E.Iเท่ากับ 0.6240 ก็มักจะกลา่ วว่า “คา่ ดัชนี
ประสทิ ธิผลเท่ากบั 0.6340 ซึ่งแสดงว่านักเรียนมคี วามรเู้ พิม่ ขนึ้ ร้อยละ 62.40 ซงึ่ ในความเปน็ จริงคา่ E.I. เทา่ กับ
0.6240 เพราะคิดเทียบจาก E.I. สูงสุดเป็น 1.00 ดงั นน้ั ถา้ คิดเทยี บเป็นร้อยละ ก็คอื คดิ เทียบจากคา่ สงู สดุ เปน็
100 E.I. จะมีคา่ เป็น62.40 จึงควรใช้ข้อความว่า “ัค่าดัชนีประสทิ ธิผล เท่ากบั 0.6240 แสดงว่านักเรียนมีความรู้
เพ่ิมขึ้น 0.6240 หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 62.40ั”

3. ถ้าค่าของ E1/ E2 ของแผนการเรยี นสูงกวา่ เกณฑ์ที่กาหนด และเมอื่ หา E.I. ดว้ ยพบวา่ มีพัฒนาการ
เพ่ิมขึน้ ถึงระดับหนงึ่ ทผี่ ู้วจิ ยั พอใจ หากคานวณค่าความคงทนด้วยโดยใช้สูตร t-test แบบDependent Samples ก็
ไม่ไดแ้ ปลว่าจะไมม่ นี ยั สาคญั (เพราะผวู้ ิจยั คาดหวังว่าหากส่ือ หรือแผนการเรียนรูม้ ีคณุ ภาพ ผลการเรียนหลงั สอนเมอ่ื
ผา่ นไประยะหนงึ่ เช่น ผ่านไป 2 สปั ดาห์ กบั ผลการเรียนจบจะตอ้ งไมแ่ ตก
ต่างกัน) ลกั ษณะเช่นนี้มักพบในงานวจิ ยั ของนิสิตบ่อยๆ คือ แผนการเรยี นรู้ หรือส่อื มีคา่ E1/ E2 สูงกว่าเกณฑท์ ี่
กาหนด ค่า E.I กส็ ูง แต่ผลการทดสอบความคงทนมนี ยั สาคญั ทางสถิติ ปัญหานน้ี ่าจะมาจากนักเรียนไม่ได้ตัง้ ใจหรอื
เบอ่ื หน่ายในการทาขอ้ สอบอย่างจริงจงั แมว้ า่ ผู้วจิ ัยจะมคี วามร้สู ึกวา่ สอื่ หรอื แผนทใี่ ช้จะมีคณุ ภาพ ทาใหน้ ักเรียนเกิด
ความเข้าใจในเนื้อหาสาระท่เี รยี นมาก หรอื มีความตรึงตราตรึงใจต่อบทเรียนมากเท่าไรกต็ าม

อ้างองิ จาก

เผชญิ กิจระการ. (2546). “ดชั นปี ระสทิ ธิผล,”ัใน เอกสารประกอบการสอน. หน้า 1 – 6. มหาสารคาม
: ภาควชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

กิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ 1/2564


Click to View FlipBook Version