เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 0
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 1
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 2 โครงสร้างรายวิชา รายวิชา ประวัติศาสตร์(ส15102) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง จ านวน 1 หน่วยกิต ***************************************************************************************************************** ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 1 ความเป็นมาของ ท้องถิ่น ส 4.1 ป.5/1 ส 4.1 ป.5/2 ส 4.1 ป.5/3 - ท้องถิ่นของเรา - การสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น - หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาท้องถิ่น - การตั้งค าถามทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความ เป็นมาของท้องถิ่น - ความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น 9 20 2 การสร้างสรรค์ อารยธรรม ส 4.2 ป.5/1 ส 4.2 ป.5/2 - การเข้ามาของอารยธรรมอินเดียและจีนในดินแดน ไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อ ดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การเข้ามาของอารยธรรมต่างชาติในดินแดนไทย - อิทธิพลของอารยธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยใน ปัจจุบัน 10 20 สอบปลายภาค 1 10 รวมภาคเรียนที่ 1 20 50 3 อาณาจักรอยุธยา ส 4.3 ป.5/1 ส 4.3 ป.5/2 ส 4.3 ป.5/3 ส 4.3 ป.5/4 - การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา - พัฒนาการด้านการเมือง การปกครองสมัยอยุธยา - พัฒนาการด้านสังคมสมัยอยุธยา - พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยอยุธยา - ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา - ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยอยุธยา - ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา 12 20
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 3 ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 4 อาณาจักรธนบุรี ส 4.3 ป.5/1 ส 4.3 ป.5/3 ส 4.3 ป.5/4 - การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี - พัฒนาการด้านการเมือง การปกครองของ อาณาจักรธนบุรี - พัฒนาการด้านสังคมของอาณาจักรธนบุรี - พัฒนาการด้านเศรษฐกิจของอาณาจักรธนบุรี - ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยธนบุรี - ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี 7 20 สอบปลายภาค 1 10 รวมภาคเรียนที่ 2 20 50 รวมทั้งสิ้นตลอดปี 40 100
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 4 ตารางวิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ : ประวัติศาสตร์ ส 4.1 ส 4.2 ส 4.3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของท้องถิ่น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ท้องถิ่นของเรา • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การน าเสนอความเป็นมาของท้องถิ่น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาท้องถิ่น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง กิจกรรมเสริมทักษะความรู้การสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การตั้งค าถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การตอบค าถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง ความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น (1) • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง ความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น (2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสร้างสรรค์อารยธรรม • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเข้ามาของอารยธรรมอินเดีย • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อารยธรรมอินเดีย • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดีย • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเข้ามาของอารยธรรมจีน • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง อารยธรรมจีน • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง อิทธิพลของวัฒนธรรมจีน • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง วัฒนธรรมต่างชาติ • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ผลกระทบของวัฒนธรรมต่างชาติต่อสังคมไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรอยุธยา • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง สมัยอยุธยาตอนต้น • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง สมัยอยุธยาตอนกลาง • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง สมัยอยุธยาตอนปลาย • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พัฒนาการอยุธยาด้านเศรษฐกิจ (1) • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง พัฒนาการอยุธยาด้านเศรษฐกิจ (2) • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง พัฒนาการอยุธยาด้านสังคม • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 5 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ สาระ : ประวัติศาสตร์ ส 4.1 ส 4.2 ส 4.3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อาณาจักรธนบุรี • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การกอบกู้เอกราช • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง พัฒนาการด้านสังคมวัฒนธรรม • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง บุคคลส าคัญในสมัยธนบุรี • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี สรุป
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 6
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 7 หน่วยการเรียนรู้ที่3 เรื่อง อาณาจักรอยุธยา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส15102 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 12 ชั่วโมง ผู้สอน : นางสาวอนัญญา ป้องแก้วน้อย ***************************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็นไทย ตัวชี้วัด ส 4.3 ป.5/1 อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีโดยสังเขป ส 4.3 ป.5/2 อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา ส 4.3 ป.5/3 บอกประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ ส 4.3 ป.5/4 อธิบายภูมิปัญญาไทยที่ส าคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด อยุธยาเป็นเมืองหลวงในประวัติศาสตร์ชาติไทย มีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และได้สืบทอดภูมิปัญญาให้แก่ลูกหลานไทยได้สืบต่อจนถึงปัจจุบัน 3. สาระการเรียนรู้ - การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา - พัฒนาการด้านการเมือง การปกครองสมัยอยุธยา - พัฒนาการด้านสังคมสมัยอยุธยา - พัฒนาการด้านเศรษฐกิจสมัยอยุธยา - ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจักรอยุธยา - ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยอยุธยา - ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 8 4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. รักความเป็นไทย 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ชิ้นงานที่ 6 เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยา ชิ้นงานที่ 7 เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ ของอยุธยา ชิ้นงานที่ 8 เรื่อง ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยอยุธยา ชิ้นงานที่ 9 เรื่อง ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา 7. การวัดและการประเมินผล 1. ประเมินความรู้ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัย อยุธยา ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา (K) ด้วยแบบทดสอบ 2. ประเมินกระบวนการท างานกลุ่ม (S) ด้วยแบบประเมิน 3. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยา (S) ด้วยแบบประเมิน 4. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการเมืองการปกครองและ เศรษฐกิจของอยุธยา (S) ด้วยแบบประเมิน 5. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยอยุธยา (S) ด้วยแบบประเมิน 6. ประเมินชิ้นงาน เรื่อง ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา (S) ด้วยแบบประเมิน 7. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย (A) ด้วยแบบประเมิน
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 9 แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินกระบวนการท างานกลุ่ม แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง พัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยา รายการการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 กระบวนการ ท างานกลุ่ม มีการก าหนดบทบาท สมาชิกชัดเจน และมี การชี้แจงเป้าหมาย การท างาน มีการ ปฏิบัติงานร่วมกัน อย่างร่วมมือร่วมใจ พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ มีการก าหนดบทบาท สมาชิกชัดเจน มีการชี้แจงเป้าหมาย อย่างชัดเจนและ ปฏิบัติงานร่วมกัน แต่ไม่มีการประเมิน เป็นระยะ ๆ มีการก าหนดบทบาท เฉพาะหัวหน้า ไม่มี การชี้แจงเป้าหมาย อย่างชัดเจน ปฏิบัติงานร่วมกัน ไม่ครบทุกคน ไม่มีการก าหนด บทบาทสมาชิก และไม่มีการชี้แจง เป้าหมาย สมาชิก ต่างคนต่างท างาน รายการการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 การจัดเรียงล าดับ เหตุการณ์ พัฒนาการ ด้านการเมือง การปกครอง ของอาณาจักร อยุธยาและเขียน อธิบายสรุป การจัดเรียงล าดับ เหตุการณ์พัฒนาการ ด้านการเมือง การปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา และเขียนอธิบายสรุป ได้สัมพันธ์เชื่อมโยง ถูกต้องครบทุกข้อ และเขียนอธิบาย สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน อย่างเป็นเหตุเป็นผล อย่างชัดเจน การจัดเรียงล าดับ เหตุการณ์พัฒนาการ ด้านการเมือง การปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา และเขียนอธิบายสรุป ได้สัมพันธ์เชื่อมโยง ถูกต้องครบทุกข้อ และเขียนอธิบาย อย่างเป็นเหตุเป็นผล พอเข้าใจ การจัดเรียงล าดับ เหตุการณ์พัฒนาการ ด้านการเมือง การปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา และเขียนอธิบายสรุป ได้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แต่ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ และอธิบายได้พอเข้าใจ การจัดเรียงล าดับ เหตุการณ์พัฒนาการ ด้านการเมือง การปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา และเขียนอธิบายสรุป ได้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แต่ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ และเขียนอธิบาย ได้ไม่ชัดเจน
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 10 แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจของอยุธยา แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญในสมัยอยุธยา รายการการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 เขียนอธิบายหรือ สรุปปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ของอยุธยา เขียนอธิบายหรือ สรุปปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ของอยุธยา ได้สัมพันธ์เชื่อมโยง ให้เห็นเป็นภาพรวม แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับ ลักษณะพื้นที่ทางภูมิ ประเทศ และผู้คนอย่างชัดเจน เขียนอธิบายหรือ สรุปปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ของอยุธยาได้ มีการจ าแนกข้อมูล และแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กัน อย่างเป็นเหตุเป็นผล เขียนอธิบายหรือ สรุปปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ของอยุธยา ได้สอดคล้องกับข้อมูล มีการเขียนขยายความ และยกตัวอย่าง ให้เข้าใจง่าย เขียนอธิบายหรือ สรุปปัจจัยที่ส่งเสริม ความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ ของอยุธยาได้ แต่ยังไม่สอดคล้อง กับข้อมูล เขียนตามข้อมูลที่อ่าน ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม รายการการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 เขียนอธิบายหรือ สรุปประวัติและ ผลงานของบุคคล ส าคัญในสมัยอยุธยา เขียนอธิบายหรือ สรุปประวัติและ ผลงานของบุคคล ส าคัญในสมัยอยุธยา ได้สัมพันธ์เชื่อมโยง ให้เห็นเป็นภาพรวม แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับตนเอง และผู้อื่น เขียนอธิบายหรือ สรุปประวัติและ ผลงานของบุคคล ส าคัญในสมัยอยุธยาได้ มีการจ าแนกข้อมูล อธิบายแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับตนเอง อย่างเป็นเหตุเป็นผล เขียนอธิบายหรือ สรุปประวัติและ ผลงานของบุคคล ส าคัญในสมัยอยุธยา ได้สอดคล้องกับข้อมูล มีการเขียนขยายความ และยกตัวอย่าง เพิ่มเติม ให้เข้าใจง่าย เขียนอธิบายหรือ สรุปประวัติและ ผลงานของบุคคล ส าคัญในสมัยอยุธยาได้ แต่ยังไม่สอดคล้อง กับข้อมูล เขียนตามข้อมูลที่อ่าน ไม่มีการอธิบาย เพิ่มเติม
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 11 แบบประเมินชิ้นงาน เรื่อง ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ธ ารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย รายการการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 เขียนอธิบายหรือ สรุปภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยาที่ตนเอง ภาคภูมิใจและ น าเสนอ แนวทางอนุรักษ์ เขียนอธิบายหรือ สรุปภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยาที่ตนเอง ภาคภูมิใจและน าเสนอ แนวทางอนุรักษ์ ได้สัมพันธ์เชื่อมโยง ให้เห็นเป็นภาพรวม แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับ ตนเองและผู้อื่น เขียนอธิบายหรือ สรุปภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยาที่ตนเอง ภาคภูมิใจและน าเสนอ แนวทางอนุรักษ์ได้ มีการจ าแนกข้อมูล แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับ ตนเองอย่างเป็นเหตุ เป็นผล เขียนอธิบายหรือ สรุปภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยาที่ตนเอง ภาคภูมิใจและน าเสนอ แนวทางอนุรักษ์ ได้สอดคล้องกับข้อมูล มีการเขียนขยายความ ยกตัวอย่างเพิ่มเติม ให้เข้าใจง่าย เขียนอธิบายหรือ สรุปภูมิปัญญาไทย สมัยอยุธยาที่ตนเอง ภาคภูมิใจและน าเสนอ แนวทางอนุรักษ์ได้ แต่ยังไม่สอดคล้อง กับข้อมูล เขียนตามข้อมูลที่อ่าน ไม่มีการอธิบาย เพิ่มเติม พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 1.2.1 เข้าร่วม ส่งเสริมสนับสนุน กิจกรรมที่สร้าง ความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็น ประโยชน์ต่อ โรงเรียน ชุมชนและสังคม 1.2.2 หวงแหน ปกป้อง ยกย่อง ความเป็นชาติไทย เป็นตัวอย่างที่ดี ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน และชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม ที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน และชุมชน เข้าร่วมกิจกรรม ที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น ประโยชน์ต่อโรงเรียน ไม่เข้าร่วมกิจกรรม ที่สร้างความสามัคคี
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 12 ตัวชี้วัดที่ 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 4.1.1 ตั้งใจเรียน 4.1.2 เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ 4.1.3 สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ เป็นประจ า ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ บ่อยครั้ง ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ เข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ บางครั้ง ไม่ตั้งใจเรียน พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 1.4.1 เข้าร่วม และมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม ที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ 1.4.2 แสดงความ ส านึกในพระมหา กรุณาธิคุณของ พระมหากษัตริย์ 1.4.3 แสดงออก ซึ่งความจงรักภักดี ต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ เข้าร่วมกิจกรรม และมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม ที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ ตามที่โรงเรียน และชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ พระปรีชาสามารถของ พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์ เข้าร่วมกิจกรรม และมีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม ที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ ตามที่โรงเรียน และชุมชนจัดขึ้น เข้าร่วมกิจกรรม ที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ ตามที่โรงเรียน และชุมชนจัดขึ้น ไม่เข้าร่วมกิจกรรม ที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 13 ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 4.2.1 ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียน และ เลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ 4.2.3 แลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วยวิธีการ ต่าง ๆ เพื่อน าไปใช้ ในชีวิตประจ าวัน ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สื่อ ได้อย่างเหมาะสม มีการบันทึกความรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ น าเสนอและ แลกเปลี่ยนองค์ ความรู้ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียน มีการบันทึกความรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ น าเสนอและ แลกเปลี่ยนความรู้กับ ผู้อื่นได้ ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียน มีการบันทึกความรู้ ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 14 รักความเป็นไทย ตัวชี้วัดที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. กิจกรรมน าเข้าสู่บทเรียน (ขั้นน า) 2. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ (ขั้นสอน) 3. กิจกรรมความคิดรวบยอด (ขั้นสรุป) 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) 2. ภาพแผนผังเมืองอยุธยา 3. ค าขวัญจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) 5. ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) 7.1.1 แต่งกาย และมีมารยาท งดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ 7.1.2 ร่วมกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับ ประเพณีศิลปะ วัฒนธรรมไทย 7.1.3 ชักชวน แนะน า ให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม ขนบธรรมเนียม ประเพณีศิลปะ และ วัฒนธรรมไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มี มารยาทแบบไทย มี สัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ และแต่งกายแบบไทย เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วม ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ชักชวน แนะน าเพื่อน ให้ปฏิบัติตาม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มี มารยาทแบบไทย มี สัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ และแต่งกายแบบไทย เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วม ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มี มารยาทแบบไทย มี สัมมาคารวะ กตัญญูกตเวที ต่อผู้มีพระคุณ และแต่งกายแบบไทย ไม่มีสัมมาคารวะ ต่อผู้ใหญ่
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 15 6. การเล่าประสบการณ์การชมภาพยนตร์เรื่อง ต านานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 7. ค าขวัญจังหวัดลพบุรี 8. ค าขวัญจังหวัดสิงห์บุรี 9. ภาพยนตร์วีรกรรมของชาวบ้านบางระจัน 10. ค าขวัญจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 11. ภาพการแต่งกายของคนในสมัยอยุธยา 12. หนังสือเล่มเล็ก ชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา 13. Ebook ชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา 14. หมวกชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา 15. บัตรค าเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา 16. เพลงอยุธยาร าลึก 17. แบบกิจกรรมเสริมทักษะความรู้ท้ายหน่วยการเรียนรู้ 18. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 16
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 17 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส15102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรอยุธยา เรื่อง พัฒนาการอยุธยาด้านสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน : นางสาวอนัญญา ป้องแก้วน้อย ***************************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธ ารงความเป็นไทย ตัวชี้วัด ส 4.3 ป.5/2 อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครอง ของอาณาจักรอยุธยา 2. สาระส าคัญ โครงสร้างทางสังคมของอยุธยาประกอบด้วย ชนชั้นปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เจ้านายและขุน นางชนชั้นผู้ถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่ ทาส และชนชั้นที่ไม่ได้จัดอยู่ในชนชั้นใด ๆ ได้แก่ พระสงฆ์ และกลุ่ม ชาวต่างชาติ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เมื่อนักเรียนเรียนเรื่อง “พัฒนาการอยุธยาด้านสังคม” แล้วนักเรียนสามารถ 1) นักเรียนสามารถอธิบายและล าดับโครงสร้างทางสังคมในสมัยอยุธยาได้(K) 2) นักเรียนเกิดทักษะสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทที่ตนเองได้รับอย่างถูกต้องและเหมาะสม (S) 3) นักเรียนเห็นคุณค่าและความส าคัญของการศึกษาลักษณะสังคมในสมัยอยุธยา (A) 4. สาระการเรียนรู้ โครงสร้างทางสังคมอยุธยา สังคมอยุธยา เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น นับตั้งแต่มีการแบ่งแยกชนชั้นอย่างเด็ดขาด ระหว่าง กษัตริย์และราษฎร ในหมู่ราษฎร มีการแบ่งชนชั้นผู้ดี ชนชั้นข้าราชการ กับชนชั้นไพร่ ศักดินา ตัวก าหนดความสูงต่ าของชนชั้นต่างๆก่อให้เกิดสิทธิในสังคมอยุธยาจึงแตกต่างกัน สังคมไทยในสมัยอยุธยาประกอบด้วย 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) พระมหากษัตริย์ มีฐานะและอ านาจ ทรงมีฐานะเป็นสมมติเทพ ทรงมีอ านาจในฐานะเจ้าชิดและเจ้า แผ่นดิน และทรงเป็นพระผู้อุปถัมภ์ในพระพุทธศาสนา 2) เจ้านาย พระราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์มีสกุลยศลดหลั่นตามล าดับ เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า และ หม่อมเจ้า เป็นต้น
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 18 3) ขุนนาง มีบทบาทในการช่วยเหลือพระเจ้าแผ่นดิน ในการปกครองประเทศ พระเจ้าแผ่นดินพระราชทาน ศักดินาเป็นเครื่องตอบแทนอ านาจและฐานะ 4) ไพร่ สามัญชนทั่วไป เป็นส่วนหนึ่งของประเทศ ได้แก่ ไพร่หลวง ไพร่ที่สังกัดวังหลวงหรือพระเจ้าแผ่นดิน ถูกเกณฑ์เข้ารับราชการ ปีละ 6 เดือน ไพร่สม ไพร่ที่พระมหากษัตริย์พระราชทานให้แก่ ขุนนาง เจ้านาย ไพร่ส่วย ไพร่ที่ส่งผลผลิตผลตอบแทนการเข้าเวรและมีการใช้แรงงาน 5) ทาส ชนชั้นล่างสุด มีหลายประเภท ดังนี้ ทาสสินไถ่ เช่น เป็นทาสที่มีมากที่สุดในบรรดาทาสทั้งหมด คือ การขายตัวเป็นทาส เช่น พ่อแม่ขายบุตร สามีขายภรรยา หรือขายตัวเอง ทาสในเรือนเบี้ย เกิดจากขึ้นระหว่าง แม่เป็นทาสของนายทาสชนิดนี้ไม่สามารถไถ่ถอนตัวเองได้ ทาสท่านให้ คือ ทาสที่ได้รับมาอีกทีหนึ่ง 5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) ใฝ่เรียนรู้ 2) รักความเป็นไทย 7. กิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้รูปแบบการแสดงบทบาทสมมติ(Role Playing) ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1) คุณครูน าสื่อรูปภาพ การแต่งกายของคนในสมัยอยุธยา ให้นักเรียนดู 2) คุณครูชูรูปภาพแล้วถามค าถามนักเรียนว่า รูปภาพนี้ คือการแต่งกายของคนชนชั้นใดในสังคมสมัยอยุธยา 3) คุณครูถามค าถามกระตุ้นความสนใจ 3 ข้อ ดังนี้ ข้อที่ 1 ถามว่า : ถ้าในยุคปัจจุบันนี้คุณครูซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาทั่วไปจะจัดอยู่ในชนชั้นใดของสังคมไทย ค าตอบ : เป็นประชาชนธรรมดา ข้อที่ 2 ถามว่า : แล้วนักเรียนละครับจะจัดอยู่ในชนชั้นใดของสังคมไทยในปัจจุบัน ค าตอบ : ประชาชนธรรมดา ข้อที่ 3 ถามว่า : ถ้านักเรียนย้อนเวลาไปอยู่ในช่วงสมัยอยุธยานักเรียนจะอยู่ในชนชั้นใดของอยุธยา ค าตอบ : ชนชั้นไพร่เพราะเป็นสามัญชนคนธรรมดา ขั้นสอน 4) นักเรียนเรียนรู้ลักษณะและโครงสร้างทางสังคมสมัยอยุธยา โดยครูจะใช้สื่อ Ebook หรือหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง ชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา ประกอบการอธิบายให้นักเรียนได้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น 5) นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเองจากสื่อหนังสือเล่มเล็ก ชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 19 6) คุณครูและนักเรียนร่วมกันก าหนดเรื่องราวสมมติจากเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะสังคมสมัยอยุธยาที่ได้จาก การเรียนรู้ เพื่อท าการแสดงบทบาทสมมติ 7) นักเรียนจับกลุ่มกันตามความสะดวกและเหมาะสมกับเนื้อหาและบทบาทในการแสดงบทบาทสมมติ 8) สมาชิกในกลุ่มเลือกบทบาทกันเองตามความเหมาะสม (กรณีที่นักเรียนไม่สามารถตกลงกันได้คุณครู ก าหนดบทบาทให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเอง) 9) สมาชิกในกลุ่มซักซ้อมการแสดงบทบาทสมมติตามเรื่องราวที่ก าหนด 10) ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมุติตามเรื่องราวที่ก าหนดโดยใช้สื่อหมวกชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา คุณครูท าหน้าที่เป็นผู้สังเกตการณ์และตัดบทการแสดงในจุดที่ไม่เหมาะสม ขั้นสรุป 12) คุณครูกล่าวชมเชยนักเรียนที่แสดง และสอบถามถึงความรู้สึกและความคิดเห็นในการแสดงบทบาทที่ ตนเองแสดง 13) คุณครูถามค าถามนักเรียน 2 ข้อ ดังนี้ ข้อที่ 1 ถามว่า : นักเรียนคิดว่าการศึกษาลักษณะสังคมในสมัยอยุธยามีความส าคัญต่อนักเรียนหรือไม่อย่างไร ข้อที่ 2 ถามว่า : นักเรียนเห็นคุณค่าอะไรบ้างจากการศึกษาลักษณะสังคมในสมัยอยุธยา 14) คุณครูสรุปถึงสิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้และการแสดงบทบาทสมมุติเกี่ยวกับลักษณะทางสังคมสมัยอยุธยา ดังนี้ กรุงศรีอยุธยามีโครงสร้างทางสังคมที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองด้านสังคม ประกอบด้วย ชนชั้นปกครอง ได้แก่ พระมหากษัตริย์ เจ้านายและขุนนาง ชนชั้นผู้ถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่ ทาส และชนชั้นที่ไม่ได้จัดอยู่ในชนชั้น ใด ๆ ได้แก่ พระสงฆ์ และกลุ่มชาวต่างชาติ 8. สื่อการสอน 1) รูปภาพ การแต่งกายของคนในสมัยอยุธยา 2) Ebook หรือหนังสือเล่มเล็ก ชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา 3) หมวกชนชั้นทางสังคมสมัยอยุธยา 9. การวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล 1) นักเรียนสามารถอธิบายและล าดับโครงสร้างทางสังคมใน สมัยอยุธยาได้(K) กิจกรรม กลุ่ม แบบประเมิน กิจกรรมกลุ่ม นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับ “ดี” ขึ้นไป 2) นักเรียนเกิดทักษะสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทที่ ตนเองได้รับอย่างถูกต้องและเหมาะสม (S) กิจกรรม กลุ่ม แบบประเมิน กิจกรรมกลุ่ม นักเรียนผ่านเกณฑ์ ระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) นักเรียนเห็นคุณค่าและความส าคัญของการศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา (A) การตอบ ค าถาม ประเมินจาก การตอบค าถาม นักเรียนสามารถตอบ ค าถามได้อย่างเหมาะสม
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 20 10. แบบบันทึกหลังการสอน 1) ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. 2) ปัญหาอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. 3) ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………. ลงชื่อ…………………………………………ผู้สอน/บันทึก (นางสาวอนัญญา ป้องแก้วน้อย)
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 21 แบบประเมินกิจกรรมกลุ่ม เรื่อง พัฒนาการอยุธยาด้านสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ส 15102 ค าชี้แจง : เขียนระบุคะแนน 1-4 ลงในช่องคะแนนในแต่ละจุดประสงค์ตามสภาพความเป็นจริง กลุ่มที่................................. ล าดับ ที่ สมาชิกกลุ่ม ประเด็น คะแนน รวม ผลการ ประเมิน อธิบายและล าดับ โครงสร้างทาง สังคมในสมัย อยุธยาได้ เกิดทักษะสามารถปฏิบัติ หน้าที่ตามบทบาทที่ ตนเองได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสม เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ…………………………………………ผู้สอน/บันทึก (นางสาวอนัญญา ป้องแก้วน้อย) วันที่...........เดือน........................... พ.ศ. ........... เกณฑ์การประเมิน ได้ก าหนดการให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้ ดีมาก = 10 – 12 คะแนน ดี = 7 – 9 คะแนน พอใช้ = 4 – 6 คะแนน ปรับปรุง = 0 – 3 คะแนน เกณฑ์การพิจารณา นักเรียนได้คะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน ผลการประเมิน ผ หมายถึง ผ่าน มผ หมายถึง ไม่ผ่าน
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 22 เกณฑ์การประเมิน ได้ก าหนดการให้คะแนนระดับคุณภาพของแต่ละพฤติกรรมดังนี้ ประเด็นการ ประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. อธิบายและล าดับ โครงสร้างทางสังคม ในสมัยอยุธยาได้ อธิบายและล าดับ โครงสร้างทางสังคม ในสมัยอยุธยาได้ ถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์ทั้ง 5 ชนชั้น อธิบายและล าดับ โครงสร้างทางสังคม ในสมัยอยุธยาได้ ถูกต้องครบถ้วน อธิบายและล าดับ โครงสร้างทางสังคม ในสมัยอยุธยาได้ ถูกต้อง อธิบายและล าดับ โครงสร้างทางสังคม ในสมัยอยุธยาได้ไม่ ถูกต้อง 2. ประเมินทักษะ สามารถปฏิบัติหน้าที่ ตามบทบาทที่ตนเอง ได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาทที่ตนเอง ได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสม สมบูรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาทที่ตนเอง ได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็น ส่วนใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาทที่ตนเอง ได้รับอย่างถูกต้อง และเหมาะสมเป็น ส่วนน้อย ปฏิบัติหน้าที่ตาม บทบาทที่ตนเอง ได้รับไม่เหมาะสม 3. เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา อย่างยิ่ง เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา อย่างมาก เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา อย่างน้อย ไม่เห็นคุณค่าและ ความส าคัญของ การศึกษาลักษณะ สังคมในสมัยอยุธยา
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 23 ภาคผนวก
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 24
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 25 สื่อรปูภาพการแต่งกายของคนในสมยัอยุธยา ใช้ในขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน โดยคุณครูชูรูปภำพแล้วถำมค ำถำมนักเรียนว่ำ รูปภำพนี้ คือกำร แต่งกำยของคนชนชั้นใด ในสังคมสมัยอยุธยำ
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 26 สื่อหมวกชนชนั้ทางสงัคมสมยัอยุธยา ใช้ในขั้นสอน ตอนที่ผู้เรียนแสดงบทบำทสมมุติตำมเรื่ องรำวที่ก ำหนด ด้วยกำรสวมหมวก ชนชั้นต่ำงๆ ตำมที่ตนเองได้รับ
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด้ า น ก า ร ส อ น หน้า 27