The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atitwan.tuan, 2022-05-05 07:53:23

รายงานการศึกษาดูงาน

การศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

รายการศึกษาดูงานสถานประกอบการ
Andara Resort & Villas ภูเก็ตและ
ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิริมงคล
ทรานสปอร์ต 1995




นางสาวอาทิตวรรณ ต่วนศิริ
กลุ่ม 13/10

วิทยาลัยสารพัดช่างนครศรีธรรมราช

รายการศึกษาดงู านสถานประกอบการแห่งท่ี 1
ชื่อสถานประกอบการ Andara Resort & Villas ภูเกต็
Andara Resort & Villas เป็น Luxury Resort ใกล้หาดกมลามีห้องสวีทท่ีกว้างขวางและพูลวิลล่าตั้งแต่
1 – 7 ห้องนอนในบรรยากาศบนเนนิ เขาท่เี ห็นวิวทะเลจากมุมสูง
1. การสรา้ งภาพลกั ษณอ์ งค์กร

Andara Resort & Villas ภูเก็ตมีการสร้างภาพลักษณ์องค์กรในรูปแบบ Brand Ambassador และ
Business Branding ภาพลักษณ์เป็นตัวแทนองค์กรส่วนหน้าจึงสาคัญมากต่อกระบวนการสร้างความสัมพันธ์
กับลูกค้าต้ังแต่แรกพบจนพัฒนากลายเป็นลูกค้าสาคัญ เพราะไม่ใช่แค่เรื่องเส้ือผ้าหน้าผมและกิริยามารยาท
แต่เป็นการพัฒนาตัวแทนองค์กรให้ “สร้างประสบการณ์ประทับใจ” ในทุกช่วงการพัฒนาความสัมพันธ์กับ
ลกู คา้ Brand Ambassador จะสะทอ้ นเอกลักษณ์ขององคก์ รให้ประทบั ในใจลกู คา้

ภาพลักษณ์ (IMAGE) มีความหมายว่า ความรู้สึกนึกคิดของพนักงานในองค์กรที่มีตอ่ องค์กรและแสดง
ออกมาเป็นพฤติกรรม จึงมีคาว่าภาพลักษณ์องค์กร เช่น องค์กรน้ีดูมีความสามัคคี องค์กรนั้นดูเป็นมืออาชีพ
ซ่ึงแต่ละองค์กรจะมีลักษณะท่ีแตกต่างกัน การสร้างภาพลักษณ์ไม่สามารถไปขอยืมใครเขามาได้ ทุกคนใน
องค์กรต้องร่วมมือร่วมใจกันสร้างขึ้นเพราะภาพลักษณ์ท่ีได้มานั้น เป็นภาพสะท้อนมาจาก ความรู้สึกของ
พนักงานท่ีมีต่อองค์กรอย่างแท้จริง และที่ยากกว่านั้นก็คือว่าเราไม่สามารถบังคับให้พนักงานทุกคนในองค์กร
คิด และรู้สึก กับองค์กรได้เหมือนกัน เพราะองค์ประกอบสาคัญที่เราใช้ในการสรา้ งภาพลักษณอ์ งค์กรขึ้นมาได้
มดี ังน้ี

1. ผบู้ รหิ ารท่มี งุ่ ม่นั ทาตามคามัน่ สญั ญา และบริหารงานอยา่ งเปน็ ระบบ รวดเรว็
2. นโยบายองคก์ รท่ชี ดั เจนเหมาะสมกบั ขนาดขององคก์ ร
3. ทัศนคตสิ ่วนตวั พนักงานในการใหบ้ ริการ เช่น บุคลกิ ภาพ กิริยาท่าทาง คาพดู และวธิ กี ารสอ่ื สารท่ี
เป็นอตั โนมัติจนกลายเป็น “พฤตกิ รรมการบรกิ าร”
4. ส่ิงแวดล้อมที่ช่วยกนั จัดขนึ้ เช่น ความสะอาด ความสวยงาม
5. ประสบการณ์ร่วมกนั ในการทางาน และกจิ กรรมทม่ี คี วามรว่ มมอื กัน
6. คาขวัญท่ีบ่งบอกคุณค่าขององค์กรที่จะช่วยหล่อหลอมความเป็นหนึ่งเดียวกันในด้านจิตใจของ
พนักงงานในองค์กร
7. ภาพลกั ษณ์ขององค์กรในด้านสังคม การท่ีองคก์ รสรา้ งประโยชน์ต่อชุมชนรอบข้าง และสังคมอย่าง
สม่าเสมอ สามารถสรา้ งความภูมใิ จให้กบั พนักงานในองคก์ รได้อยา่ งมากมายพนกั งานอยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีมีภาพ
แห่งการบริการด้วยใจเมื่อเรายอมรับในภาพลักษณ์ขององค์กรแล้ว พนักงานที่เป็นเจ้าหน้าท่ีในการให้บริการ
ทุกส่วน จะยึดม่ันส่ิงแวดล้อมน้ัน เป็นต้นแบบในการทางาน ก็จะได้ภาพลักษณ์พนักงานท่ีสามารถสร้างความ
โดดเด่นในงานบริการที่เหนือการแข่งขันในธุรกิจเดียวกันอย่างมหัศจรรย์ด้วย หัวใจสาคัญของการสร้าง
ภาพลักษณข์ ององค์กร
อีกส่ิงสาคัญที่สถานประกอบการใช้คือ สานวนภาษาอังกฤษที่ว่า “Little things mean a lot”
ซึ่งน่าจะนิยามเป็นภาษาไทยได้ว่า “เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ มีความหมายมหาศาลสาหรับลูกค้า”ผู้บริหารและ

ผู้ให้บรกิ ารทกุ คนให้ความสาคัญกับปัญหา ความไม่สะดวก และความประสงค์ของลูกคา้ เปน็ อนั ดับแรก โดยถือ
ว่า ปัญหาของลูกค้า คือโอกาสที่เราจะสร้างความประทับใจให้ลูกค้าได้ สังเกตได้จากการท่ีผู้ให้บริการมักจะ
พยายามถามลูกค้าว่า “ทุกอย่างเรียบร้อยดีไหม” “คุณต้องการอะไรเพ่ิมอีกไหม” “มีอะไรที่เราสามารถ
ให้บริการเพิ่มเติมได้อีกหรือไม่” เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้ลูกค้าแสดงความประสงค์เพิ่มเติม ย่ิงไปกว่าน้ัน
ผู้ให้บริการยังมีทัศนคติท่ีว่า ย่ิงความต้องการของลูกค้านั้นแตกต่างไปจากปกติ หรือ ไม่เหมือนคนอื่นมากข้ึน
เท่าไร ก็จะยิ่งเป็นโอกาสในการสร้างความประทับใจมากข้ึนเท่านั้น เนื่องจากบริการที่ “ประทับใจ”
น้ันหมายถึงบริการท่ี “ไม่มีใครเหมือน” และ “ไม่เหมือนใคร” การให้ความสาคัญต่อปัญหา ความไม่สะดวก
และความต้องการของลูกค้า ทาได้ด้วยการแสดงให้ลูกค้าได้รับรู้ว่า องค์กรและผู้ให้บริการนั้น ให้ความสาคัญ
กับลูกค้าอยู่ตลอดเวลา ย่ิงเป็นเร่ืองเล็กน้อยเท่าไร หรือเป็นเรื่องที่ลูกค้าไม่ได้เอ่ยปากกับผู้ให้บริการโดยตรง
ก็ยง่ิ จะสร้างความประทบั ใจให้ลูกค้าได้มากเทา่ นั้น
2. ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์

สถานประกอบการมีการบริหารด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้แนวคิด “Health Wealth
Growth” และการรับคนท่มี ี Multi-Tasking หรือ Multi Skill และมีทศั นคตทิ ี่ดีต่อองค์กร จากผลกระทบของ
การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในรอบแรก สถานประกอบต้องนาแผนฯมาทบทวนใหม่ ที่สาคัญคือจะต้อง
สื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกับพนักงานให้เกิดการรับรู้ในระดับจิตใต้สานึกว่าองค์กรกาลังเผชิญภัย
อันตรายที่ร้ายแรง จาเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว (Sense of Urgency) ระยะแรกไม่ใช่เพื่อความ
เจริญเติบโต (New Growth) แต่เป็นการปรับตัว ดิ้นรน เพ่ือความอยู่รอด (Survival Mode) ให้ได้ แผนฟื้นฟู
องค์กรที่จัดทาขึ้นเป็นจินตนาการท่ีองค์กรจาเป็นต้องเปล่ียนให้สอดรับกับโลกยุคใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปแบบไม่
เหมือนเดิม เพราะฉะน้ันในการลงมือปฏิบตั ิตามแผนองค์กรจาเป็นต้องปรับเปล่ียนกระบวนการปฏบิ ัติงานตา่ ง
ๆ โดยเฉพาะการบริหารคน ซึ่งคาน้ีกาลังล้าสมัย เพราะคนรุ่นใหม่มองว่ามันมีความหมายบางมุมสื่อไปในทาง
ลบท่ีว่าคนไม่ดี ไม่เก่ง ไม่มีความสามารถ หรืออย่างไร องค์กรจึงต้องมาบริหารเขา แนวคิดใหม่เร่ิมใช้คาว่า
การดูแล การอานวยความสะดวก เพื่อให้คนทางานได้อย่างเต็มศักยภาพแทน เพราะฉะน้ันจึงมีความจาเป็นที่
องค์กรจะต้องปรับเปล่ียนกระบวนการดูแลคน โดย Mindset หลักจะต้องมองคนในแง่บวก เปล่ียนจากการ
ควบคุมคนให้ทางาน มาเป็นการสร้างบรรยากาศ อานวยความสะดวก และสนับสนุนสง่ เสริม ให้คนได้ใช้สมาธิ
ทางานได้อย่างเต็มศักยภาพ กิจกรรมพ้ืนฐานของงานการดูแลคนควรจะต้องมีการพัฒนาไปในประเด็น
ดังตอ่ ไปนี้

1. การจ้างงาน (Workforce Employment): การทางานในอนาคตจะเป็นการทางานลักษณะ
Hybrid Workplace ท่ีมีความยืดหยุ่น ผสมผสานกันระหว่างการทางานท่ีสานักงาน และการทางานนอก
สานกั งาน (Work From Anywhere) ทง้ั การทางานประจา งานครงั้ คราว งานลกั ษณะ Freelance หรือ ใช้วิธี
ยืมตวั ( Borrow) มาทางานเปน็ การชัว่ คราว เพราะฉะนัน้ องค์กรต้องเตรยี มพร้อมในเรื่องของกระบวนการจ้าง
งานท่ีจะต้องหลากหลาย หยืดยนุ่ มากข้นึ เตรยี มพร้อมในการสนบั สนนุ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ เพ่ือตอบสนอง
ความต้องการของคนที่ต้องการทางานที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ได้ ให้สามารถทางานได้อย่างเต็มศักยภาพและคนจะ
ทางานอาชีพเดียวเรียนอะไรมาก็จะประกอบอาชีพตามท่ีเรียนมาไม่ได้แล้ว แต่อนาคตจากการวิจัยบ่งชี้ว่า

วิชาชีพหลักตามที่เรียนอยู่ในสถาบันการศึกษานั้นจะใช้ได้เพียงแค่ 1-2 ปีแรกของการทางานเท่าน้ัน
ด้วยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปรวดเร็วมากงานท่ีสอง สาม สี่ ห้า และต่อ ๆ ไปจะอาศัย Soft Skill ที่คนทางาน
พัฒนา (Upskill และ Reskill) ตนเองขึ้นมา Mindset ของคนทางานจะเปลี่ยนไป จากอดีตทางานอาชีพเดียว
แต่เปลี่ยนองค์กรไปเร่ือย ๆ อนาคตจะเป็นการย้ายตนเองไปสู่งานอ่ืนไม่ตรงสายวิชาชีพท่ีเรียนมาใน
สถาบันการศึกษา วงการอ่นื ตามทักษะใหมท่ ตี่ นเองมี Multi-Tasking หรือ Multi Skill

2. การพฒั นาคน (Workforce Development) โลกยคุ Post Covid-19 จะเปน็ โลกท่ีแทบจะทุก
สิ่งจะมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว (Exponential Change) ความรู้ท่ีใช้ประกอบอาชีพในปัจจุบันจะถูก
ทดแทนด้วยความรูช้ ดุ ใหมอ่ ยา่ งรวดเร็ว (Knowledge Disruption) จะต้องไดร้ ับการพัฒนาทักษะชุดใหม่ทั้งใน
รูปแบบของ Upskill และ Reskill เพื่อท่ีจะสามารถทางานต่อไปในอนาคตได้ สรุปว่าคนทางานในยุค Post
Covid-19 จะต้องมีลักษณะท่ีเรียกว่า “Multipotentialites” เป็นพฤติกรรมของคนที่มีความสนใจและมี
ความสามารถหลายอย่างแต่ไม่ได้เช่ียวชาญ เพื่อนาความรู้ ความสามารถท่ีหลากหลาย มาแก้ไขในส่ิงเก่า ๆ
พร้อมกับสร้างส่ิงใหม่ ๆ เพื่อรับมือกับอนาคตที่ไม่แน่นอน เพราะอนาคตท่ีไม่แน่นอนนั้นเกิดข้ึนแน่นอน
โดยควรจะตอ้ งมี Core Skills (Hard และ Soft) สาคัญ ๆจงึ จะทางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล คอื
Hard Skills: ติดตามความก้าวหน้าในความรู้ทางวิชาชีพท่ีใช้ในการประกอบอาชีพตลอดเวลา (Learnability)
มีทักษะในการบริหาร วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือนามาต้ังคาถาม หาคาตอบ สร้างทางเลือกในการตัดสินใจท่ีดี (Big
Data Literacy) เพราะ Data คืออานาจใหม่ท่ีสามารถสร้างการเปล่ียนแปลงให้กับธุรกิจ มีทักษะเร่ืองดิจิทัล
และใช้เทคโนโลยีเป็น(Digital Literacy) Soft Skills: มีทักษะทางภาษาท่ีดีเพ่ือใช้เป็นกุญแจไขหาความรู้ใหม่
ๆ สามารถสื่อสารใช้ตรรกะอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้อย่างมีประสิทธิภาพพูดแล้วทาให้ผู้ฟังเข้าใจตรงกับสิ่งท่ี
ต้องการจะส่ือ (เน่ืองจากปัจจุบันคนมีการใส่หน้ากากกันตลอดเวลา บางองค์กรเริ่มพัฒนาพนักงานให้ส่ือสาร
ด้วยภาษากายเพ่ิมเติมอีกด้วย) มีทักษะในการใช้ความคิดรูปแบบต่าง ๆ (Thinking Ability) เช่น การคิดเชิง
วิพากษ์ การคิดอย่างเป็นระบบการคิดอย่างสร้างสรรค์ เป็นต้น มีทักษะในการเรียนรู้และใชค้ วามคิดท่ียดื หยุน่
(Cognitive Flexibility) และต้องเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong Learning) สุดท้ายมนุษย์จะต้องพัฒนา
ทักษะในการทางานร่วมกับมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน (People Management) ด้วยการพัฒนาให้มี
Mindset ในลักษณะของ Growth Mindset ที่มองคนในแง่ดี มีความสามารถท่ีสมองของมนุษย์พัฒนาได้
ขึ้นอยู่กับอัตราการเรียนรู้ ยอมรับให้เกียรติซึ่งกันและกัน เป็นต้น เพ่ือการทางานร่วมกันในการรังสรรค์
นวัตกรรมและสร้างอนาคตที่ดกี วา่ เดมิ

3. การรักษาคน (Workforce Retention) องค์กรในอนาคตจะมีการแข่งขันกันสูงมากท้ังแข่งขัน
กันทางธุรกิจ การแข่งขันกับ Disruptive Technology แถมยังมีภัยพิบัติต่าง ๆ (เช่น Covid-19) ที่ไม่คาดคิด
มาเป็นอปุ สรรคในการทางานเพิ่มเติมเขา้ มาด้วย การทอ่ี งค์กรจะอยูร่ อดจะต้องมีคนเก่ง (Talent) อยู่ในองค์กร
การมีคนเก่งในองค์กรนอกจากจะสร้างผลงานท่ีย่ิงใหญ่ได้แล้ว จะเกิดผลพลอยได้ท่ีเรียกว่า “ปรากฏการณ์แห่
ตาม (The herd effect)” ท่ีมีแนวคิดว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคมท่ีอยู่รวมกันเป็นฝูง คนเก่งในองค์กรจะดึงดูดคน
เก่งจากที่อื่น ๆ มาทางานด้วยได้ Next Normal ของการรักษาคนเก่งองค์กรจะต้องก้าวข้ามเรื่องของ

ผลประโยชนต์ อบแทนไปให้ได้ (มีแนวคิดเร่อื ง 2 สูง คอื จา่ ยสงู เพราะคนมีความสามารถสงู ) และมุ่งความใส่ใจ
มาปรับปรุงปัจจยั การรักษาคนเก่งลกั ษณะ ๆ ใหม่
3. ดา้ นการประยคุ ใช้เทคโนโลยีในการบริหาร

องค์กรนา แนวคิด WLH และเทคโนโลยีดิจิทัลมาออกแบบการทางานลักษณะ Hybrid Workplace
ท่ีทางานท่ีไหน เม่ือไหร่ ก็ได้ (Work From Anywhere, Anytime) โดยให้คนบริหารรูปแบบการทางานตาม
ความพร้อมของตนเอง ซึ่งจะไม่มีเวลาทางาน สถานที่ทางาน ที่แน่นอน แต่มีความหยืดยุ่นสูง (ท้ังการทางาน
การผักผ่อน การกินอาหาร และการใช้ชีวิตส่วนตัว) องค์กรกาหนดแต่เป้าหมายของงาน ส่วนวิธีการ เวลา
สถานที่ ผู้นาและคนทางาน ร่วมกันออกแบบ ผู้นาจะเข้ามาคอยช่วยเหลือดูแลการทางานของคนเป็นระยะ ๆ
หรอื ตามความต้องการของคน ด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เช่น

1. ใช้ App แปลภาษา Google Translation
2. ใช้หลอดไฟ LED หรอื เป็นแบบ vrv เพ่อื ลดการใชพ้ ลังงาน
3. คนหนึ่งคนสามารถทางานได้ทกุ ทักษะ Multi-Tasking
4. การทางานตาม Market Trend ในช่องทางการสื่อสารกับลูกค้า การใช้ส่ือ Social Media
Facebook chat
5. อัพเดทให้ทนั ยุคทนั สมยั
6. มี Server ท่ีทันสมัยทส่ี ุด
4. ดา้ นอาคารสถานท่แี ละการจดั สภาพแวดลอ้ ม
การดาเนินงานด้านอาคารสถานที่และการจัดสภาพแวดล้อมจะมี Villa Manager เป็นผู้ดูแลพนักงานในการ
ปฏิบัติหน้าท่แี ละประสานงานตา่ ง ๆ ตามทีล่ กู ค้าตอ้ งการและตามนโยบายของวลิ ลา
1. มีการประสานงานกับลูกคา้ ทเ่ี ป็นชาวตา่ งชาติ
2. การปรับภาพลักษณข์ องอาคารสถานทีต่ ามความต้องการของลูกค้า
3. การดูแลสถานทต่ี ัง้ แต่ ต้งั แต่ทานขา้ วและทกุ จดุ ให้มสี ภาพแวดล้อมทด่ี ีอยู่เสมอ
4. การดารงและคงรกั ษาไวข้ องสภาพแวดลอ้ มเดมิ และปรับเปล่ียนการประยุกต์ใช้

รายการศึกษาดูงานสถานประกอบการแห่งท่ี 2
ชอ่ื สถานประกอบการ หา้ งหุน้ สว่ นจากดั ศิริมงคลทรานสปอร์ต 1995

บรษิ ัทศริ ิมงคลโลจสิ ตกิ ส์ จากัด ไดม้ กี ารเรียนรู้ ปรบั ปรุงและพฒั นาตนเองใหด้ ีย่งิ ขน้ึ โดยไม่เคยหยุดน่ิง
ในด้านการขนส่งและกระจายสนิ ค้า เพอื่ ใหเ้ ขา้ ถึงทุกกระบวนการของธุรกจิ ในการเสริมสรา้ งคณุ ค่าให้กับลูกค้า
หรือผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด จึงพัฒนาปรับขยายการขนส่ง และการกระจายสินค้าในรูปธุรกิจที่มีระบบทันสมัย
และรวดเร็ว บริษัทมีภารกิจในการพัฒนาบุคลากรของบริษัทให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีเป็นตัวแทนของบริษัทได้
อยา่ งเหมาะสม ในการกา้ วไปข้างหน้าสู่อนาคต เพอื่ การพัฒนาคุณภาพในการใหบ้ ริการและยกระดับองค์กรให้
อยู่ในมาตรฐานสากลโดยลาดับ ตัวอักษร SMK สาหรับบางท่านอาจเป็นแค่ตัวอักษร แต่สาหรับเรา นี่คือ
สัญลักษณ์ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงความมุ่งมนั่ ในการพัฒนาองคก์ ร

S = Satisfaction “ยดึ ถือความพึงพอใจสงู สดุ ของลูกคา้ เปน็ หลักสาคญั ในการบริการ”
M = Management “ม่งุ สู่การบรหิ ารจัดการองคก์ รอย่างเปน็ ระบบ”

K = Knowledge “สรา้ งองค์ความร้เู พอื่ พฒั นาบุคลากร และนาพาองค์กรก้าวไปขา้ งหนา้ ”
บริษัท ศิริมงคล โลจิสติกส์ จากัด บริการด้าน โลจิสติกส์หลากหลายประเภท โดยออกแบบผสมผสานวธิ กี ารท่ี
หลากหลาย บนพนื้ ฐานความตอ้ งการ ของลกู คา้ แตล่ ะรายมีการตดิ ตามผลและปรับปรุง กระบวนการเพือ่ ความ
พึงพอใจของลกู คา้

1. บริการให้คาปรกึ ษาและออกแบบการขนส่งให้ตรงกับลกั ษณะสินค้าและความตอ้ งการของลกู คา้ แต่ละ
ราย

2. สถานทกี่ องเกบ็ สนิ คา้ เทกอง ให้บริการจดั เก็บคดั กรองเพ่ือกระจายสโู่ รงงานปลายทาง
3. ระบบจ้ดการเครือขา่ ยการจดั ส่งสนิ คา้ เพื่อประสิทธภิ าพสงู สดุ โดยการใชก้ ารขนสง่ สนิ ค้าหลายทาง
4. บรกิ ารคลงั สนิ ค้าคณุ ภาพ
5. บริการจัดกาวตั ถุดบิ เพื่อเขา้ สูร่ ะบบการผลติ
6. บรกิ ารสง่ สนิ คา้ ข้ามชายแดน และเครือข่ายโลจิสตกิ ส์ในกลุม่ อาเซียน

1. การสรา้ งภาพลักษณ์องคก์ ร

การสรา้ งภาพลกั ษณ์องค์กรของบริษัท ซึง่ ทางบริษทั ได้กาหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจซ่ึงเป็นมาตรฐาน
ด้านจริยธรรมที่กาหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับยึดถือปฏิบัติภาระหน้าท่ีตามท่ีได้รับ
มอบหมาย รวมท้ังส่งเสริมให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับเป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัติหน้าท่ี
ภายใต้จรรยาบรรณธุรกิจบริษัทให้ความสาคัญกับการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรมตาม
นโยบายการกากับดูแลกิจการท่ีดี

ขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียกลุม่ ต่าง ๆ

ตอ่ ผู้ถอื หนุ้
1. เปดิ เผยข้อมลู สารสนเทศอยา่ งครบถ้วน เพียงพอ ยุติธรรม และโปรง่ ใส
2. ระมัดระวังในการปฏิบัติการใด ๆ อันจะทาให้ผู้ถือหุ้นเกิดความสับสนและสาคัญผิดในข้อเท็จจริงของ

สารสนเทศ
3. ปฏบิ ัตติ อ่ ผถู้ อื หุน้ ทกุ รายให้ไดร้ บั ความเปน็ ธรรมอย่างเท่าเทียมกนั
4. กากับดูแลให้มีการบริหารองค์กรด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ เพื่อป้องกันความเสียหายต่อผู้

ถอื หุ้น
ตอ่ ลกู ค้า
1. ปฏิบัติตอ่ ลกู คา้ ทกุ รายอย่างเป็นธรรม
2. ให้บริการท่ีเลิศดว้ ยคุณภาพและประสิทธภิ าพ
3. ดแู ลและรักษาผลประโยชน์ของลกู ค้าอยา่ งเหมาะสมและเปน็ ธรรม
4. รักษาความลับของลูกคา้ รวมถงึ นาไปใชเ้ พื่อประโยชน์ของบรษิ ทั และผู้ท่ีเกยี่ วข้องโดยมิชอบ เว้นแต่
จาเปน็ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
5. จดั ระบบหรือช่องทางเพ่ือให้ลูกคา้ สามารถแสดงความคดิ เห็นหรือรอ้ งเรียนเก่ยี วกับบรกิ ารและ
ดาเนนิ การแก้ไข รวมทั้งแจ้งผลให้ลูกค้าทราบอย่างรวดเร็ว
ตอ่ ค่แู ขง่ ขนั
1. ดาเนนิ ธรุ กิจภายใตก้ รอบกติกาและแขง่ ขันทางการตลาดอย่างเปน็ ธรรม
2. ดาเนนิ ธรุ กจิ โดยไมก่ ล่าวหาให้ร้ายหรือซา้ เติมคแู่ ข่งขัน
3. ดาเนินธรุ กจิ โดยไมแ่ สวงหาขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ความลบั ของคูแ่ ขง่ ขนั ด้วยวธิ ีท่ไี ม่สจุ ริตหรือไม่เหมาะสม
4. ต่อคคู่ า้ และเจา้ หน้ี

5. การจัดหา จัดซ้ือ จัดจ้าง จะต้องอยู่ภายใต้กฎระเบียบของบริษัท โปร่งใส เป็นธรรม เพ่ือ
ประโยชนส์ ูงสดุ ของบรษิ ัท

6. หลกี เลีย่ งการจดั หา จัดซื้อ จดั จ้าง ที่ขัดกบั ผลประโยชน์โดยรวมของบรษิ ัทฯ
7. ผู้เก่ียวข้องกับกิจกรรมจัดหา จัดซ้ือ จัดจ้าง ต้องไม่รับประโยชน์ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมจากคู่

ค้า และไม่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดจนอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ในกรณีท่ีมีการ
จัดหา จัดซ้ือ จัดจ้างกับคู่ค้าที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ให้ผู้เก่ียวข้องรายงานความสัมพันธ์ต่อฝ่าย
กากับกฏระเบียบและข้อบังคับเพ่ือทราบและให้ความเห็นเป็นการล่วงหน้า และต้องไม่มีส่วนร่วมใน
การอนุมัติ
8. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ท่ีเป็นคู่ค้ากับบริษัท ต้องรายงานความสัมพันธ์ต่อฝ่ายกากับ
กฎระเบยี บและขอ้ บังคบั และสายการบงั คับบัญชาเพอื่ ทราบเปน็ การล่วงหนา้
9. เคารพและดาเนินการตามข้อตกลงท่ีมกี ารเจรจาต่อรอง และเปน็ ไปตามเงอื่ นไขที่ไดร้ บั การอนมุ ัติจาก
ผมู้ ีอานาจของบริษัท
10.ต้องให้ข้อมูลท่ีครบถ้วน ถูกต้อง เป็นจริง และไม่หลอกลวงให้เกิดความเข้าใจผิดแก่คู่ค้า หรือ
เจา้ หน้โี ดยต้องไมเ่ ปิดเผยข้อมลู ที่สาคญั ของบริษัทก่อนไดร้ บั อนญุ าตจากผ้มู ีอานาจของบริษัท
11.ปฏิบัติอย่างเป็นธรรม และรับผิดชอบต่อเจ้าหน้ี โดยเฉพาะในเร่ืองเง่ือนไขการค้าประกัน การ
บริหารเงนิ ทุนและกรณีท่เี กดิ การผดิ นดั ชาระหน้ี
12.หากพบเหตุที่ทาให้ไมส่ ามารถดาเนินการตามข้อตกลง หรอื สญั ญาได้ ผรู้ บั ผดิ ชอบต้องรบี รายงานต่อ
ผูบ้ งั คบั บัญชาทนั ที และแจ้งใหค้ สู่ ัญญาทราบเพือ่ หาแนวทางแกไ้ ขปัญหาร่วมกัน
13.ห้ามรับของกานัล สินน้าใจ การรับเชิญไปงานเลี้ยงสังสรรค์ หรืองานเล้ียงรับรองจากคู่ค้าที่จัดขึ้น
เปน็ การเฉพาะ
ต่อทางการและสงั คมสว่ นรวม
1. ดาเนินธุรกิจให้ถูกต้องตามกฎหมายและไม่เข้าไปมีส่วนร่วมหรือให้การสนับสนุนไม่ว่าทางตรงหรือ
ทางออ้ มหรือดาเนนิ ธุรกิจกับองค์กรและ/หรือบุคคลที่กระทาผดิ ตอ่ กฎหมาย เป็นภยั ต่อสงั คม
2. ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลท่ีสามารถเปิดเผยได้ เพ่ือป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้นกับระบบ
เศรษฐกิจ
3. ใหค้ วามรว่ มมอื และสนบั สนนุ นโยบายต่าง ๆ ของทางการ
4. ส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม และสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ตามสมควร โดยสนับสนุนและส่งเสริมให้
พนักงานมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีต่อสงั คม และเปิดเผยไวใ้ นรายงานประจาปี ของบรษิ ัท
5. จัดทารายงานแห่งความยั่งยืนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการไว้ในรายงานประจาปี หรือ
จัดทาเปน็ ฉบบั ตา่ งหากแยกจากรายงานประจาปี
6. ส่งเสริมให้มีการดาเนินธุรกิจในเร่ืองการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และมีการใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธภิ าพรวมทั้งมีแนวปฏิบตั ิทเี่ ปน็ รูปธรรม โดยเปิดเผยไวใ้ นรายงานประจาปี

2. ดา้ นการบริหารทรพั ยากรมนุษย์

บริษัท ศิริมงคลโลจิสติกส์ จากัด มีอุดมการณ์ในการดาเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม ยึดม่ันในความ
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตามหลักจรรยาบรรณของบริษัทฯในด้านการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน บริษัทฯได้ปฏิบัติตามกฎหมาย และหลักสากลอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนและ
ปฏิบัติตามข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC) และปฏิญญาว่า

ด้วยหลักการและสิทธิ ข้ันพื้นฐานในการทางานขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (The International
Labor Organization (ILO) Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work) เพอื่ ให้ม่ันใจ
ว่าการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ ปลอดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการจึงเห็นสมควรให้กาหนด
นโยบายและแนวปฏบิ ัติดา้ นสิทธิมนุษยชนขึ้นเพ่ือป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนในทุกกิจกรรมทางธรุ กิจของ
บริษัทฯ รวมถงึ ผูร้ ว่ มธรุ กิจ (Joint Venture)

นิยามศัพท์ที่ใช้กับนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน (Human Rights) หมายความว่า
สทิ ธขิ ัน้ พน้ื ฐานท่ีมนุษย์ทุกคนได้รับการรับรองหรือ คมุ้ ครองให้ไม่ถูกเลือกปฏิบัติเพยี งเพราะความแตกต่างทาง
กาย จิตใจ เชื้อชาติสัญชาติศาสนา เพศ ภาษา อายุ สีผิว การศึกษา สถานะทางสังคมหรือเร่ืองอื่นใดตาม
กฎหมายของแตล่ ะประเทศ และตามสนธิสัญญาทแ่ี ต่ละประเทศมีพนั ธกรณีจะต้องปฏบิ ัติตาม
บรษิ ัทฯ หมายความวา่ บรษิ ทั ศิริมงคลโลจิสตกิ ส์ จากดั มนี โยบายด้านสิทธมิ นุษยชน คณะกรรมการ ผู้บรหิ าร
และพนักงานบริษัทฯทุกระดับ ต้องตระหนักถึงความสาคัญและเคารพต่อสิทธิ มนุษยชนในทุกด้านของบุคคล
ทุกคน ตลอดจนสังคมและชุมชน ตามกฎหมายของแต่ละประเทศ และตาม สนธิสัญญาที่แต่ละประเทศมี
พันธกรณีทีต่ ้องปฏบิ ัตโิ ดยรวมถึง

▪ การปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนตามหลักสิทธมิ นษุ ยชนอย่างเทา่ เทียมปราศจากการเลือกปฏบิ ัติ
▪ การหลีกเล่ียงการกระทาท่ีเปน็ การละเมดิ สิทธิมนุษยชน
▪ การสนับสนุนสง่ เสริมสิทธิมนุษยชน
▪ การสื่อสาร เผยแพร่ ให้ความรู้ ทาความเข้าใจ กาหนดแนวทาง สอดส่องดูแล และให้การสนับสนุน

อ่ืนใดแก่ผู้เก่ียวข้องในการดาเนินธุรกิจ ลูกค้า ( Customer) ผู้ส่งมอบสินค้าและบริการ (Supplier)
ผู้รับเหมา (Contractor) ตลอดจนผู้ร่วมธุรกิจ (Joint Venture) เพ่ือให้มีส่วนร่วมในการดาเนินธุรกิจ
อย่างมีคุณธรรม เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และปฏิบัติต่อทุกคน ตามหลักสิทธิมนุษยชนตาม
แนวนโยบายน้ี แนวทางปฏบิ ตั ิ
1. ให้ความเคารพต่อสทิ ธมิ นษุ ยชน ปฏบิ ัตติ ่อกันดว้ ยความเคารพ ใหเ้ กยี รติซงึ่ กนั และกัน และปฏิบัติ

ตอ่ กัน อยา่ งเทา่ เทยี มโดยไม่แบง่ แยกความแตกต่างในทางกาย จิตใจ เชอื้ ชาติสัญชาตศิ าสนา เพศ
ภาษา อายสุ ีผิว การศกึ ษา สถานะทางสงั คมหรอื เรื่องอ่นื ใด
2. ใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่เพ่ือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน
การ ดาเนนิ ธุรกิจ สอดสอ่ งดูแลเรือ่ งการเคารพสทิ ธิมนษุ ยชน
3. สนบั สนุนสง่ เสริมการดาเนินการเพื่อค้มุ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน
4. สื่อสาร เผยแพร่ ให้ความรู้ ทาความเข้าใจ กาหนดแนวทาง และให้การสนับสนุนอื่นใด แก่
ผู้เกี่ยวข้องในการดาเนินธุรกิจ ลูกค้า ( Customer) ผู้ส่งมอบสินค้าและบริการ (Supplier)
ผู้รับเหมา (Contractor) ตลอดจนผู้ร่วมธุรกิจ (Joint Venture) เพ่ือให้มีส่วนร่วมในการ ดาเนิน
ธุรกิจอย่างมีคุณธรรม เคารพต่อสิทธิมนุษยชน และปฏิบัติต่อทุกคนตามหลักสิทธิมนุษยชนตาม
แนวนโยบายน้ี
5. สอดสอ่ งดแู ลเรื่องการเคารพสทิ ธิมนุษยชน ไม่ละเลยหรือเพิกเฉยเม่ือพบเห็นการกระทาที่เข้าข่าย
ละเมิดสิทธิมนุษยชนท่ีเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ต้องรายงานให้ผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลท่ีรับผิดชอบ
ทราบ และให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่าง ๆ หากมีข้อสงสัยหรือข้อซักถามให้
ปรกึ ษากับ ผบู้ ังคับบัญชา หรอื บุคคลทรี่ บั ผิดชอบผ่านช่องทางต่าง ๆ ท่ี กาหนดไว้

6. บริษัทฯจะให้ความเป็นธรรมและคุ้มครองบุคคลที่แจ้งเร่ืองการละเมิดสิทธิมนุษยชน ท่ีเก่ียวข้อง
กับบริษทั ฯ โดยใช้มาตรการคุ้มครองผูร้ ้องเรียน หรอื ผู้ท่ีให้ความรว่ มมือในการรายงานการละเมิด
สิทธมิ นุษยชน ตามที่บริษัทฯกาหนดไว้

7. บริษัทฯจะพัฒนาและดาเนินกระบวนการจัดการด้านสิทธิมนุษยชน (Due Diligence Process)
อย่างต่อเน่ือง เพื่อที่จะระบุประเด็นความเส่ียงด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน กาหนดกลุ่มหรือ
บุคคลที่ได้รับผลกระทบ วางแผนและกาหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน จัดการแก้ไขและป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน และตรวจสอบติดตามผล
โดยจัดให้มกี ระบวนการบรรเทา ผลกระทบทเ่ี หมาะสมในกรณีทมี่ กี ารละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนดว้ ย

8. บริษัทฯมุ่งมั่นที่จะสร้างและรักษาวัฒนธรรมองค์กรที่ยึดม่ันต่อการเคารพสิทธิมนุษยชนตาม
นโยบายด้านสิทธมิ นษุ ยชนน้ี

9. ผู้กระทาการละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นการกระทาผิดจรรยาบรรณบริษัทฯ ซ่ึงจะต้องได้รับการ
พิจารณาทางวินัยตามระเบียบท่ีบริษัทฯกาหนดไว้ นอกจากนี้อาจจะได้รับโทษตามกฎหมายหาก
การกระทานัน้ ผดิ กฎหมาย

การบริหารบคุ คลภายใต้จรรยาบรรณของบรษิ ัท
ต่อพนักงาน

1. ใหค้ วามเปน็ ธรรมตอ่ พนกั งานทุกคนและใหผ้ ลตอบแทนและจัดให้มสี วสั ดิการทเี่ หมาะสม
2. ดแู ลเอาใจใส่ในสวัสดภิ าพความปลอดภยั ตอ่ ชวี ิตและทรพั ยส์ ินของพนักงานทุกคน
3. ส่งเสริมและสนับสนุนพนักงานในการพัฒนาความรู้ และให้ความก้าวหน้าแก่พนักงานตาม

ความสามารถและความเหมาะสมของพนักงานอย่างเปน็ ธรรม
4. ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานอยา่ งเป็นธรรม
5. จดั สถานท่ที างานท่ถี กู สุขลกั ษณะ และสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มทดี่ สี าหรับพนกั งาน
6. ให้สิทธิกับพนักงานในการเข้าไปมีส่วนรว่ มในการใช้สทิ ธิทางการเมืองภายใต้บทบญั ญัตแิ ห่งกฎหมาย

รฐั ธรรมนูญ โดยบริษัทจะไมย่ ุ่งเก่ียวและไมเ่ กย่ี วขอ้ งกับการใช้สิทธินัน้ ๆ ของพนักงาน
7. สนับสนุนและส่งเสริมให้พนักงานทุกคนคานึงถึงผลประโยชน์ขององค์กรหรือส่วนรวมมากกว่า

ผลประโยชนส์ ว่ นตน
จรรยาบรรณของพนกั งานต่อองค์กร

1. ปฏิบัตหิ น้าทดี่ ้วยความซือ่ สัตย์สุจริตเปน็ ธรรมเพ่อื ประโยชนส์ งู สุดตอ่ องคก์ รและผู้มีสว่ นได้เสยี
2. ปฏิบตั ิหนา้ ทใ่ี ห้ถูกต้องและเป็นไปตามกฎหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ข้อบงั คับ ระเบยี บคาสั่ง และประกาศท่ี

กลมุ่ ธรุ กิจทางการเงินบรษิ ทั ศิริมงคล โลจิสติกส์ จากัด กาหนด
3. มีทัศนคติที่ดีต่อกลุ่มธุรกิจทางการเงินบริษัทศิริมงคลโลจิสติกส์ จากัดและผู้บังคับบัญชาตลอดจนมี

ความเครารพเชอื่ ฟังผบู้ งั คับบญั ชา
4. ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความรู้ความสามารถอย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานตามที่พึงมีในตาแหน่ง

หน้าทก่ี ารงานด้วยความเอาใจใสแ่ ละมีความรบั ผดิ ชอบ
5. แขง่ ขนั กับบุคคลอื่นหรือองค์กรอน่ื ภายใต้กฎระเบียบและข้อบังคับท่ีทางการกาหนดไว้อย่างเปน็ ธรรม

รวมท้ังไมต่ าหนติ เิ ตยี นหรอื กล่าวหาในทางรา้ ยแกบ่ ุคคลอน่ื
6. ไมป่ ระกอบธุรกิจแข่งขันกับบริษทั
7. ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและผู้ท่ีเกี่ยวข้องจากตาแหน่งหน้าที่และข้อมูลอันเป็นความลับของ

บรษิ ทั

8. ใช้ทรพั ย์สนิ ของบรษิ ทั เพื่อประโยชน์สงู สุดของบรษิ ทั มใิ ชเ้ พื่อประโยชนส์ ว่ นตน
9. วางตนให้เหมาสมในฐานะตัวแทนขององค์กรต่อบคุ คลภายนอก
10.ให้ความสนใจในกฎข้อปฏิบัติทางจรรยาบรรณท่ีบริษัทกาหนด และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด รวมท้ัง

หลกี เลย่ี งการกระทาทข่ี ดั แย้งต่อผลประโยชนข์ องบริษัท
11.มีหน้าท่ีดูแลความประพฤติของตน เพ่ือนร่วมงาน ไม่ให้มีพฤติกรรมหรือการกระทาใด ๆ ท่ีเป็น

ลักษณะ การคุกคามทางเพศ เช่น การเกี้ยวพาราสี การเรียกร้องผลประโยชน์ทางเพศ หรือการล่วง
ละเมิดทางเพศดว้ ยกายและวาจา
12.ห้ามกระทาการใด ๆ ท่ีเป็นการจัดหาหรือจัดให้มีกิจกรรมทางเพศ เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจหรือเพ่ือ
สนับสนนุ หน้าทีก่ ารงาน
13.พนักงานทุกคนมีหน้าท่ีสอดส่องดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของเพ่ือนพนักงานทุกระดับเม่ือพบเหตุท่ีส่อไป
ในทางไม่สุจรติ ตอ้ งรบี รายงานความผิดปกตนิ นั้ ต่อผบู้ งั คับบัญชา หรอื สายงานตรวจสอบภายในตาม
ระเบียบของบรษิ ทั
14.พึงระมัดระวังการใช้เวลางานไปปฏิบัติหน้าท่ีอื่นใดเพ่ือประโยชน์ส่วนตน นอกเหนือจากหน้าที่
รับผิดชอบท่ีมีตอ่ บรษิ ัท เช่น การเป็นกรรมการในกจิ การอนื่ นอกกลุม่ บริษัทศริ ิมงคล โลจิสตกิ ส์ จากดั
และต้องใช้เวลางานไปทาหน้าท่ีดังกล่าวให้รายงานฝ่ายกากับกฎระเบียบและข้อบังคับและจะต้อง
ได้รับอนมุ ตั จิ ากผบู้ งั คบั บญั ชา

3. ดา้ นการประยุคใชเ้ ทคโนโลยีในการบริหาร

บรษิ ัทส่งเสรมิ และอบรมพนักงานให้มีความสามารถในการใชท้ ักษะทางด้านดจิ ิทลั ในการปฏิบัตงิ านทั้ง

การใช้สื่อ Social Media ในการรายงานการปฏิบัติหน้าที่ นอกจากที่การดาเนินงานหลักของบริษัทใช้ระบบ

GPS Tracking และระบบจัดการการขนส่ง Transportation Management System (TMS) หมายถึง

โปรแกรมที่ใช้ในการบริหารธุรกิจขนส่ง โดยช่วยในการจัดการระบบงาน และเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในรูปแบบ

อิเล็กทรอนิคส์ อีกทั้งครอบคลุมระบบงานต่าง ๆ ในธุรกิจขนส่ง ต้ังแต่การรับสินค้าจากลูกค้า,รายละเอียดของ

ผู้ส่ง-ผู้รับสินค้า การคุมรถและพนักงานประจารถ, การกระจายสินค้าและการวางบิล ประวัติของรถและ

ระบบงานซ่อมบารุง รวมถึงฟังก์ช่ันการออกรายงานต่าง ๆ ระบบ TMS จะติดตามการจัดส่ง การชาระค่า

เดินทาง และประสทิ ธภิ าพของผู้ส่ง ซึง่ ไมว่ า่ คณุ จะสง่ ทางรถบรรทุก เครอื่ งบนิ หรอื เรอื กต็ าม จะสร้างเอกสารที่

ประกอบตดิ ตามไปกบั สนิ ค้าจนถงึ ปลายทาง

ประโยชน์ของโปรแกรม

1. การเก็บและค้นหาข้อมูลของรถบรรทุก ข้อมูลพนักงาน สต็อกอะไหล่ และสินค้าทีส่งได้อย่าง

สะดวก รวดเรว็ และถูกต้อง

2. แสดงรายงานและบนั ทึกรายการประวัติการเปลี่ยนยาง ประวตั ิ การบารงุ รกั ษา ประวัตกิ ารซ่อม

3. สามารถเปรียบเทียบขอ้ มลู มาตรฐานของน้ามันและค่าใชจ้ า่ ยนา้ มนั ที่เกิดขนึ้ จริง

4. สามารถเปรียบเทียบข้อมูลมาตรฐานของระยะทางวิ่งต้นทาง และ ปลายทางเพื่อคานวนรายได้

คา่ ใช้จ่ายต่าง ๆ

5. สามารถแสดงรายรับ รายจ่าย และคานวณยอดสุทธิในการขนส่ง แสดงรายรับ รายจ่าย ตามวันท่ี

รวมถึงค่าเท่ียวว่ิงพนักงาน แสดงรายรับ รายจ่ายตามทะเบียนรถ แสดงรายรับ จ่ายตามรายการสินค้าท่ีขนส่ง

แสดงรายรับจ่ายตามต้นทางปลายทางที่ทาการขนส่ง สรุปยอดรายรับรายจ่ายและยอดสุทธิในการขนส่ง

ท้ังหมดของ บริษัทประจาวัน เดือน ปี โดยท่านสามารถกาหนดเอง สรุปยอดรายจ่ายสุทธิของพนักงานในส่วน

ของคา่ เทยี่ วเบิกเงนิ และเงนิ เดอื นของพนักงาน

6. โปรแกรมสามารถเตือนอัตโนมัติ เมื่อมีอะไหล่ตัวใดในสต็อกเหลือ น้อยหรือต่ากว่าที่กาหนด และ

สามารถออกเป็นรายงานเพ่อื ใช้ใน การอนุมัติการสง่ั ซ้ือได้

7. สามารถออกรายงานแสดงการเบิกอะไหล่จาก Stock ของรถบรรทุก แต่ละคันที่เบิกไปใช้ รวมทั้ง

แสดงอะไหลท่ ้งั หมดทีเ่ บิกไป และราคา ท่เี กิดขึ้น

8. สามารถออกรายงานแสดงการรับเข้าและจ่ายออกพัสดุอะไหล่ ตาม วันที่หรือเดือนท่ีท่านสามารถ

กาหนดเองได้

4. ดา้ นอาคารสถานท่แี ละการจดั สภาพแวดลอ้ ม

สถานประกอบการมีการแบ่งโซนพื้ท่ีในการปฏิบัติเป็นสัดส่วน ซึ่งแบ่งเป็นโซนสานักงานและโซน
บริเวณรับสินค้าและดูแลรถขนส่ง นอกจากนี้อาคารสานักงานมีความสวยงามสะอาดเหมาะสาหรับการทางาน
มีการซ่อมบารุงอาคารสถานท่ีให้มีความปลอดภัย มีการจัดสถานที่และตกแต่งบริเวณงานพิธีให้สวยงาม
ภูมิทัศน์และสภาพแวดลอ้ มของสถานประกอบการ สวยงาม น่าอยู่ มีการกาจัดวัชพืช รวมถึงต้นไม้ท่ีอาจทาให้
เกดิ อบุ ตั ิเหตุ พ้นื ท่ภี ายในบริษทั สะอาดความปลอดภยั ของสถานแวดล้อมของสถานท่ีทางาน

5. สรปุ แนวทางในการนาไปประยุกใชใ้ นสถานศกึ ษาครอบคลุม 3 สมรรถนะ
การดารงตนของรองผอู้ านวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษายุคชวี ิตวถิ อี นาคต (Next Normal)
เน่ืองจากว่า Next normal ของการทางานทุกสิ่งทุกอย่างจะถูกทดแทนได้โดยง่าย (Disrupt) ด้วย

อตั ราเรง่ ที่รวดเรว็ และจะไมก่ ลบั ไปเหมอื นเดิม การทางานจะต้องใชส้ ติปัญญามากกวา่ เดมิ คนทางานทีป่ รับตัว
ไม่ทันจะสูญเสียงานไป จึงเป็นความจาเป็นที่องค์กรต้องเข้ามาพัฒนาความรู้ ความสามารถ ศักยภาพ เพื่อให้
คนพร้อมสามารถทางานต่อไปได้ การทางานในโลกอนาคตต้องพัฒนาให้คนมีวิธีคิดของการเป็นพลเมืองโลก
(Global Mindset) การเรียนรู้จะต้องเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long Learning) และมีความสามารถใช้
ความคิดอย่างยืดหยุ่น ( Cognitive Flexibility) การทางานในอนาคตคนจะต้องใช้ปัญญาทางานใน
3 องคป์ ระกอบหลัก ๆผสมผสานกนั ดังน้ี 1.) ทักษะพืน้ ฐานที่จาเป็นต้องใชใ้ นชวี ิตประจาวนั (Foundational
Literacies) เช่น การใช้เทคโนโลยีให้เป็น (Digital Literacies) การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
การดูแลสุขภาพและการกินอาหาร ( Exercise and Nutrition Literacies) เป็นต้น 2.) ทักษะการจัดการ
ปัญหาด้วยการใช้สติปัญญาความคิด ในการจัดการข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การออกแบความคิด
(Design Thinking) การวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้คน (Internet of Behavior) เป็นต้น 3.) ทักษะในการ
จัดการตัวเอง ให้เท่าทันกับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เช่น การจัดการกับ
อาการ Burn-out การทางานรว่ มกบั คนอนื่ (Collaboration) การเปน็ ผ้นู าที่เก่งและดี

ภาคผนวก
ภาพประกอบการศึกษาดูงานสถานประกอบการ

ศึกษาดูงาน ANDARA VILLA & RESORT

ศึกษาดูงานห้างหุ้นส่วนจากัดศิริมงคลทรานสปอร์ต 1995


Click to View FlipBook Version