ค�ำชี้แจง ให้นักเรยี นอา่ นท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใช้ความรู้วิทยาศาสตร์
ทเี่ กยี่ วข้อง ตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : อาหารขยะ
อาหาร 3 ชนิด ติดฉลากแสดงปริมาณสารอาหารท่จี ะไดร้ บั จากการรับประทาน ดังนี้
อาหาร A : 1 หนว่ ยบริโภค อาหาร B : 2 หน่วยบริโภค อาหาร C : 3 หน่วยบรโิ ภค
พลังงาน 1,480 กโิ ลแคลอรี พลงั งาน 1,050 กิโลแคลอรี พลังงาน 4,200 กโิ ลแคลอรี
โปรตนี 24 กรมั โปรตีน 23 กรัม โปรตนี 75 กรมั
ธาตุเหล็ก 8 มิลลิกรมั ธาตุเหล็ก 9 มลิ ลิกรมั ธาตุเหลก็ 24 มิลลกิ รัม
วิตามินเอ 512 ไมโครกรมั วิตามินเอ 768 ไมโครกรัม วติ ามนิ เอ 1,050 ไมโครกรมั
โซเดยี ม 432 มิลลกิ รมั โซเดยี ม 859 มิลลกิ รมั โซเดียม 1,200 มิลลกิ รมั
หมายเหตุ 1 หน่วยบริโภค หมายถึง 1 บรรจภุ ณั ฑ์
อาหารชนดิ ใดทเ่ี หมาะแก่การบริโภคส�ำหรบั นกั เรยี นมากท่สี ดุ เพราะเหตใุ ด
ชุดค�ำถามท่ี 2 : อาหารขยะ
“นักเรยี นชายอายุ 15 ปี ทีม่ ีน้�ำหนักแตกต่างกัน ต้องการพลังงานในแต่ละวนั แตกตา่ งกันหรอื ไม”่
เพื่อออกแบบการทดลองหาค�ำตอบของค�ำถามขา้ งต้น ใหน้ กั เรียนตอบค�ำถามขอ้ 2.1-2.3
2.1 จงเขียนเคร่ืองหมายถกู () ลงใน หนา้ ตัวแปรท่เี กย่ี วขอ้ งกับการทดลอง
อายุของนักเรยี นชาย
นำ้� หนักของนกั เรียนชายแต่ละคน
ปรมิ าณอาหารท่ตี อ้ งการในแตล่ ะมือ้
ประเภทของอาหารทใ่ี หร้ ับประทาน
ระยะเวลาทตี่ อ้ งการอาหารในแต่ละม้อื
ความสูงของนกั เรยี นชายแตล่ ะคน
กิจกรรมในแต่ละวนั
2.2 จงระบุตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม (จากขอ้ 2.1)
ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่
ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่
ตวั แปรควบคมุ ได้แก่
94 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินัญขอหาง
2.3 จงเขยี นสมมตฐิ านเพือ่ หาค�ำตอบของค�ำถามข้างต้น
ชุดค�ำถามท่ี 3 : อาหารขยะ
ความตอ้ งการพลงั งานในแตล่ ะวันของชายและหญิงจ�ำแนกตามนำ�้ หนักและส่วนสูง ปรากฏดังตาราง
ดา้ นลา่ ง
เพศ อายุ (ปี) นำ้� หนกั สว่ นสูง พลังงาน
(กโิ ลกรัม) (เซนตเิ มตร) (กิโลแคลอร)ี
10-12
12-14 35 140 2,500
ชาย 14-18 43 150 2,700
59 170 3,000
10-12 67 175 2,800
10-14 35 142 2,250
14-16 44 155 2,300
หญงิ 16-18 52 157 2,400
18-22 54 160 2,300
18-22 58 160 2,000
ให้ใชข้ อ้ มลู จากตารางตอบคำ�ถามข้อ 3.1-3.2
3.1 ปจั จัยทีท่ ำ�ให้เพศชายอายุ 10-12 ปี ต้องการพลังงานในปริมาณตา่ งกนั มีอะไรบ้างและอย่างไร
ระบุปจั จัย อธิบายความแตกต่างของพลงั งานทต่ี ้องการ
แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้นิ ญั ขอหาง 95
3.2 เอสรุปว่า “ปัจจัยท่ีท�ำให้ความต้องการพลังงานของชายและหญิงอายุ 10-14 ปี แตกต่างกัน
คือความสูง”
บกี ลา่ วว่า “ยังมีปจั จัยอื่น ๆ อกี ท่ที �ำใหค้ วามต้องการพลงั งานของชายและหญิงอายุ 10-14 ปี
แตกต่างกัน”
จงระบุ ปัจจัยอื่นท่ีบีกล่าวถึงมา 2 ข้อ พร้อมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและ
ความต้องการพลังงานทนี่ ักเรยี นกล่าวอา้ งถงึ
ระบุปัจจยั ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและความต้องการพลงั งาน
96 แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกกั าษระปการระแเมก้ปนิ ัญขอหาง
สารอาหารจากแมลง
องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) คาดการณ์ว่าในปี 2593 ประชากรโลก
จะเพม่ิ ขนึ้ เปน็ 9 พนั ลา้ นคน และจะตอ้ งเพมิ่ การผลติ อาหารเกอื บเทา่ ตวั เพอ่ื ตอบสนองกบั ความตอ้ งการ ดา้ นอาหาร
ของประชากรโลกในอกี 30 ปขี า้ งหนา้ วกิ ฤตกิ ารขาดแคลนอาหารในอนาคต จงึ เกดิ ความพยายามทจี่ ะหาอาหาร
มาทดแทน โดยพบว่า แมลงเป็นสัตว์ท่ีมีจ�ำนวนมากและสามารถผลิตโปรตีนท่ีย่อยสลายได้ในปริมาณมาก
รวมถงึ สารอาหารอ่นื ไดม้ ากถึง 100 เทา่ เม่ือเทยี บกับโปรตนี ที่ไดจ้ ากเน้อื ววั
ดังนัน้ การพฒั นาอาหารท่ที �ำจากแมลงจึงเปน็ ทางเลือกใหม่ ส�ำหรบั เป็นแหล่งอาหารของมนษุ ยใ์ นอนาคต
พลงั งานทงั้ หมดและโปรตีนตอ่ น้ำ� หนัก 100 กรัมของแมลงกินได้ ปรากฏดังตารางด้านล่าง
ท่ีมา : http://fic.nfc.or.th/foodsectordatabankNews-detail.php?smid=1538
ช่ือแมลง โปรตีน (กรมั ) พลงั งานทง้ั หมด (กิโลแคลอรี)
แมงกนิ ูน 14 78
จิง้ หรดี 13 122
แมงดานา 20 162
ตก๊ั แตนเล็ก 21 153
แมลงตบั เต่า 22 149
ค�ำช้ีแจง ให้นักเรยี นอา่ นท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใชค้ วามร้วู ิทยาศาสตร์
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชุดค�ำถามท่ี 1 : สารอาหารจากแมลง
แมลงตับเตา่ มีโปรตีนมากกว่าแมลงดานา แตแ่ มลงดานาให้พลงั งานสงู กวา่ แมลงตับเต่า
นักเรียนคดิ วา่ เพราะเหตใุ ด จงอธบิ าย
แตบาบมฝแึกนพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินญั ขอหาง 97
ชุดค�ำถามที่ 2 : สารอาหารจากแมลง
ค�ำถามตอ่ ไปนีส้ ามารถตรวจสอบไดด้ ้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตรใ์ ช่หรือไม่
จงเลือกวา่ “ใช”่ หรอื “ไมใ่ ช่” ในแตล่ ะค�ำถาม พร้อมให้เหตผุ ลประกอบ
ค�ำถาม ใช่/ไมใ่ ช่ เหตผุ ลประกอบ
เนื้อหมู ไข่ ถ่ัวเหลือง และแมลงมีโปรตีนอยู่ ใช/่ ไมใ่ ช่
ปริมาณตา่ งกันหรือไม่
พลงั งานทรี่ า่ งกายได้รับมาจากสารอาหาร ใช/่ ไม่ใช่
ประเภทโปรตนี เพยี งอย่างเดียวหรอื ไม่
ชดุ ค�ำถามท่ี 3 : สารอาหารจากแมลง
ถา้ นักเรียนต้องการตรวจสอบสารอาหารท้ังหมดที่มอี ยใู่ นแมลงหนอนรถดว่ น
นกั เรียนจะมีวิธีการส�ำรวจตรวจสอบสารอาหารตอ่ ไปนี้อยา่ งไร
ชนิดของสารอาหาร วธิ กี ารส�ำรวจตรวจสอบ
1. โปรตีน
2. ไขมัน
3. คาร์โบไฮเดรต
98 แตบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
ค�ำถามที่ 4 : สารอาหารจากแมลง
ขอ้ มูลทางโภชนาการของแมลงชนิดต่าง ๆ ตอ่ น�้ำหนัก 100 กรมั แสดงตารางด้านลา่ ง
ชือ่ แมลง พลังงานทง้ั หมด ความช้ืน โปรตีน ไขมัน คารโ์ บไฮเดรต
(กิโลแคลอรี) (กรัม) (กรมั ) (กรมั ) (กรมั )
จิ้งโกรง่
จง้ิ หรีด 188 67 17.5 12.0 2.4
ดกั แด้ไหม 133 73 18.6 6.0 1.0
ตกั๊ แตนปาทังกา้ 162 70 14.7 8.3 4.7
ตัวอ่อนของตอ่ 167 66 27.6 4.7 1.2
แมงกนิ ูน 140 73 14.8 6.8 4.8
98 76 18.1 1.8 2.2
ทีม่ า : วารสารโภชนาการ ปที ่ี 40 ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2548 หนา้ ท่ี 5
การควบคุมน้�ำหนัก ให้เลือกแมลงจากตารางข้างต้นเพ่ือน�ำมาท�ำเป็นอาหารแปรรูป ส�ำหรับคนท่ี
ต้องการควบคุมนำ�้ หนัก
นักเรยี นจะเลือกแมลงชนิดใด จงให้เหตุผลประกอบ
ชนิดแมลง เหตุผลประกอบ
ตแบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ัญขอหาง 99
วิกฤตขิ ยะในทะเลไทย
ประเทศไทยมขี ยะทงิ้ ในทะเลจดั อยใู่ นล�ำดบั ท่ี 6 ของโลก รองจาก จนี อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เวยี ดนาม
และศรีลังกา ตามล�ำดับ โดยมีขยะพลาสติกและโฟมมากท่ีสุด เพราะการย่อยสลายใช้เวลานานกว่า 450 ปี
ปัจจุบันประเทศไทยยังมีปัญหาขยะในแหล่งท่องเที่ยวทั้งบนบกและในทะเล ปริมาณขยะท่ีไหลลงสู่ทะเล
จะส่งผลกระทบตอ่ ปริมาณขยะท่สี ะสมอยู่ในทะเลใหม้ จี �ำนวนมากย่ิงข้นึ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) เผย 10 อันดับขยะท่ีพบในท้องทะเลไทยมากท่ีสุด
ในปี 2558 ไดแ้ ก่ อนั ดบั ที่ 1 ถงุ พลาสตกิ 15,850 ชนิ้ อนั ดับท่ี 2 หลอด/ทคี่ นเครอื่ งดื่ม 5,252 ช้ิน อนั ดบั ที่ 3
ฝา/จุก 4,419 ชิ้น อนั ดับ 4 เชอื ก 3,752 ช้ิน อันดับท่ี 5 บุหรี่/ก้นกรองบหุ รี่ 3,122 ช้นิ อันดับท่ี 6 ถ้วยโฟม/
กลอ่ งโฟม 2,873 ช้ิน อันดบั ท่ี 7 ขวดเครื่องด่ืมแกว้ 2,065 ชนิ้ อนั ดับที่ 8 ขวดเครือ่ งด่มื พลาสตกิ 2,043 ชน้ิ
อนั ดบั ที่ 9 อื่น ๆ 1,673 ช้นิ และอนั ดับที่ 10 ถว้ ย จาน ช้อน ส้อม มดี 1,334 ช้ิน
ทม่ี า : https://mgronline.com/greeninnoration/detail/961000002153
ค�ำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใช้ความร้วู ทิ ยาศาสตร์
ที่เก่ียวขอ้ ง ตอบค�ำถามต่อไปนี้
ชดุ ค�ำถามท่ี 1 : วิกฤติขยะในทะเลไทย
จงบอกสาเหตุท่ีท�ำให้พบขยะประเภทถุงพลาสตกิ มากเป็นอันดับท่ี 1 มา 1 ขอ้
ชุดค�ำถามท่ี 2 : วิกฤตขิ ยะในทะเลไทย
“ถงุ พลาสติก หลอด/ที่คนเครอ่ื งด่มื ฝา/จุก เชือก บหุ ร/่ี ก้นกรองบหุ รี่ ถว้ ยโฟม/กลอ่ งโฟม
ขวดเครื่องดื่มแกว้ ขวดเคร่อื งด่มื พลาสตกิ ถา่ นไฟฉาย หลอดไฟ ถ้วย จาน ช้อน ส้อม มีด”
นกั เรียนสามารถคัดแยกขยะขา้ งตน้ ได้ก่ีกลุม่ มีเกณฑอ์ ย่างไร แต่ละกลมุ่ มอี ะไรบ้าง
100 แตบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้นิ ัญขอหาง
ชดุ ค�ำถามท่ี 3 : วิกฤตขิ ยะในทะเลไทย
3.1 นกั วิทยาศาสตรม์ กั ใชก้ ารประมาณจ�ำนวนขยะจากผลการส�ำรวจบางบริเวณ
โดยเก็บข้อมูลเฉพาะบรเิ วณ A B C และ D แล้วน�ำมาอนมุ านในพื้นท่ที ้ังหมด
จงอธบิ ายวา่ การเกบ็ ขอ้ มลู ดังภาพด้านลา่ ง มีความเหมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร
1m
1m A B
CD
3.2 นักวทิ ยาศาสตร์ เกบ็ ข้อมูลเพื่อประมาณจ�ำนวนขยะในพน้ื ที่ ดงั ภาพ
1m
1m B
A
C
D
และนับจ�ำนวนขยะจากบรเิ วณ A B C และ D ไดผ้ ลดงั ตาราง
พ้ืนท่ี จ�ำนวนขยะ (ชิ้น)
A 10
B 5
C 0
D 5
(1) จ�ำนวนขยะต่อพน้ื ที่ 1 ตารางเมตรเปน็ เทา่ ใด
(2) จ�ำนวนขยะในพ้ืนท่ีทส่ี �ำรวจ โดยประมาณกช่ี นิ้
แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมกป้นิ ญั ขอหาง 101
ชดุ ค�ำถามท่ี 4 : วกิ ฤติขยะในทะเลไทย
ข้อมลู เบอ้ื งตน้ ปริมาณขยะโดยประมาณทพ่ี บในทะเลไทย แสดงดังแผนภาพดา้ นลา่ ง
ทม่ี า : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง
ใหน้ กั เรียนสรปุ ข้อมูลเกย่ี วกบั ขยะ “ถงุ พลาสติก” มา 2 ขอ้
(1)
(2)
102 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
แผ่นดนิ ไหว
แผ่นดินไหวเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีเกิดจากการส่ันสะเทือนของพื้นดินอันเนื่องมาจาก
การปลดปลอ่ ยพลงั งานเพอ่ื ปรบั สมดลุ ของเปลอื กโลกใหค้ งท่ี ซงึ่ ปจั จบุ นั นกั วทิ ยาศาสตรย์ งั ไมส่ ามารถท�ำนายเวลา
สถานท่ี และความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ผลกระทบจากแผ่นดินไหวก่อให้เกิด
ความเสียหายตอ่ ชีวติ และทรัพย์สนิ ประชาชนจ�ำนวนมาก
ตัวอยา่ งพืน้ ทีห่ น่งึ เกดิ แผน่ ดินไหวในช่วงระยะเวลาหนงึ่ ตอ่ เนอื่ งกัน 6 ครง้ั วัดระดับความส่ันสะเทือน
ได้ 4.0, 5.2, 6.1, 5.0, 4.1, 3.5 แมกนจิ ดู ตามล�ำดับ ดังกราฟ
ระ ัดบความ ่สันสะเ ืทอน (แมก ิน ูจด) 8 กราฟแสดงการเกิดแผน่ ดนิ ไหว 4.1
6 5.2 6.1 5.0
4 4.0
3.5
2
0 ครั้งท่ี 2 ครั้งที่ 3 คร้ังท่ี 4 ครั้งที่ 5 คร้งั ที่ 6
ครั้งท่ี 1
ระดบั ความส่นั สะเทือน (แมกนิจดู )
ค�ำชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านท�ำความเขา้ ใจสถานการณ์ และใชค้ วามรู้วทิ ยาศาสตร์
ทเี่ ก่ยี วข้อง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชุดค�ำถามท่ี 1 : แผ่นดินไหว
นกั เรียนสามารถอธบิ ายระดับความสั่นสะเทือนไดอ้ ย่างไร
ชุดค�ำถามที่ 2 : แผน่ ดินไหว
ให้ระบวุ า่ ครง้ั ใดของการเกิดแผ่นดินไหวทเ่ี รียกว่า ฟอรช์ ็อค เมนชอ็ ค และอาฟเตอร์ชอ็ ค
แตบาบมฝแึกนพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปนิ ญั ขอหาง 103
ชดุ ค�ำถามที่ 3 : แผน่ ดินไหว
การวเิ คราะห์ต�ำแหนง่ จดุ เหนือศูนย์เกิดแผ่นดนิ ไหว (Epicenter) นนั้ จะตอ้ งอาศยั เครือ่ งวัด
ความไหวสะเทือนหลายชดุ ดงั รปู
ภาพแบบจ�ำลอง คลืน่ พื้นผวิ สถานี ก พ้ืนผวิ
จดุ A คลืน่ P คล่นื S
จุดเกิดแผน่ ดนิ ไหว
คลน่ื พน้ื ผิว สถานี ข
จุด A
จดุ เกิดแผน่ ดนิ ไหว
ที่มา : http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geological-phenomenon/earthquake/seismic-waves
จดุ A เป็นจุดทเี่ กดิ แผน่ ดินไหว สถานี ก และ ข มหี นา้ ทต่ี รวจวัดความไหวสะเทือน
สถานใี ดตรวจวดั ความไหวสะเทอื นไดก้ อ่ นและมขี นาดความรนุ แรงของแผน่ ดนิ ไหวแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
104 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ัญขอหาง
กนิ ไข่เพิ่มคอเลสเตอรอลจริงหรือ
ดร.นิโคไล เอน็ เอนิชคอฟ ท�ำการทดลองในกระต่าย พบวา่ กระต่ายทีก่ ินอาหารทีม่ คี อเลสเตอรอล
จะมปี รมิ าณคอเลสเตอรอลเพม่ิ ขน้ึ ในมนษุ ยป์ รมิ าณของคอเลสเตอรอลจะสง่ ผลตอ่ การเกดิ โรคตา่ ง ๆ เชน่ โรคหวั ใจ
และหลอดเลือด
นอกจากนใี้ นเดก็ ทมี่ โี ปรตนี ในเลอื ดปกตอิ ยแู่ ลว้ เมอ่ื รบั ประทานไขเ่ สรมิ ไปอกี กจ็ ะยง่ิ ท�ำใหร้ ะดบั โปรตนี
ในเลือดสูงขึ้นไปอีก ซ่ึงน่าจะเป็นสิ่งที่ดี เนื่องจากในวัยเด็กต้องการสารอาหารท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการเจริญเติบโต
ขณะทก่ี ารรบั ประทานไขไ่ กท่ �ำใหเ้ ดก็ สว่ นใหญม่ รี ะดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ดขน้ มากกวา่ 200 มลิ ลกิ รมั /เดซลิ ติ ร
เชน่ อาหารทะเล ไอศกรมี ฟาสตฟ์ ดู้ นอกจากนไ้ี ขแ่ ดงซง่ึ เปน็ อาหารทมี่ คี อเลสเตอรอลสงู จงึ ท�ำใหเ้ กดิ ขอ้ สงสยั วา่
คนทวั่ ไปควรกินไข่แดงหรือไม่ กินไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน
ทม่ี า : www.siamrath.co.th (9 มนี าคม 2561) ปรับจาก : ไข่แดงกนิ มาก ๆ ไมด่ ีจริงหรือ
ค�ำชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใช้ความรู้วิทยาศาสตร์
ท่เี กย่ี วข้อง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : กนิ ไขเ่ พ่ิมคอเลสเตอรอลจรงิ หรือ
ปริมาณคอเลสเตอรอลส่งผลตอ่ โรคหัวใจและหลอดเลือดอยา่ งไร
ชดุ ค�ำถามท่ี 2 : กินไขเ่ พมิ่ คอเลสเตอรอลจริงหรือ
นักวิทยาศาสตรไ์ ด้ศึกษาภาวะโปรตนี และไขมนั ในกลุ่มเด็กประถมกวา่ 400 คน ในเขตชนบท
โดยมวี ธิ กี ารดงั นี้
1. ให้เดก็ ทั้งหมดได้รบั ประทานไขเ่ ปน็ อาหารเสริมจากอาหารกลางวนั ปกติทีโ่ รงเรียนจดั ให้
2. ทดลองเปรียบเทียบระหว่างการให้รับประทานไข่ 3 ฟอง และรับประทานไข่ 10 ฟองต่อสัปดาห์
ผลการศกึ ษา พบวา่ การรบั ประทานไข่ 3 ฟองตอ่ สปั ดาห์ กเ็ พยี งพอกบั การแกไ้ ขปญั หาการขาดโปรตนี
ในเลอื ดไดเ้ กอื บ 100% ระดับโปรตนี ในเลอื ดสูงข้นึ และระดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ดลดลง ดงั ตาราง
ปริมาณคอเลสเตอรอลในเลอื ด รอ้ ยละของนกั เรียน
มากกวา่ 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร กอ่ นการทดลอง หลงั การทดลอง
น้อยกว่าหรอื เท่ากบั 200 มลิ ลกิ รัม/เดซิลิตร
24 7
76 93
แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปนิ ญั ขอหาง 105
หมายเหตุ ในคนปกติต้องมีคา่ ปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือดไม่เกิน 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาการออกแบบการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ ใหข้ อ้ เสนอแนะขอ้ ควรปรบั ปรงุ
หรือเพิ่มเตมิ ขอ้ มลู ข้อเสนอแนะเพ่ือใหก้ ารทดลองสมบูรณ์นา่ เชือ่ ถอื มากขนึ้
ชุดค�ำถามท่ี 3 : กนิ ไข่เพม่ิ คอเลสเตอรอลจรงิ หรือ
ดร.แอนเซล คีร์ พบว่า LDL-C (คอเลสเตอรอลตัวไม่ดี) มีส่วนท�ำให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ
ส่วนท่มี ีประโยชน์ คือ HDL-C (คอเลสเตอรอลตวั ท่ีดี)
นกั วิจัยจงึ แบง่ อาสาสมัครเป็น 2 กลุ่ม กลุม่ ท่ี 1 รับประทานอาหารปกติ สว่ นกลมุ่ ท่ี 2 รบั ประทาน
อาหารปกติและรับประทานไข่เพ่ิมสัปดาห์ละ 1-2 ฟอง เป็นเวลา 12 สัปดาห์ และสร้างตารางบันทึก
ผลการทดลองเพื่อเก็บข้อมูล ดังน้ี
คา่ เฉล่ยี ปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือด (มิลลิกรัม/เดซลิ ิตร)
ระยะเวลา กล่มุ ท่ี 1 กลมุ่ ท่ี 2
(สปั ดาห)์ ค่าเฉล่ยี ปรมิ าณ คา่ เฉลย่ี ปรมิ าณ ค่าเฉลีย่ ปรมิ าณ คา่ เฉลีย่ ปรมิ าณ
LDL-C HDL-C LDL-C HDL-C
1 A B 20 18
2 C D 18 18
…… … … …
12 E F 10 20
ให้นักเรียนใช้ขอ้ มลู จากตารางตอบค�ำถามข้อ 3.1-3.4
3.1 ตวั แปรตน้ ของข้อมูลข้างต้น คอื อะไร
3.2 ตัวแปรตามของขอ้ มูลข้างต้น คืออะไร
106 แตบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมก้ปนิ ญั ขอหาง
3.3 สมมติฐานของการทดลอง เขียนได้อยา่ งไร
3.4 คา่ เฉล่ยี ปรมิ าณ LDL-C และ HDL-C ของกลมุ่ ที่ 2 เปน็ อย่างไร
3.5 สามารถสรปุ ความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณคอเลสเตอรอลกบั การรบั ประทานไขไ่ ดอ้ ยา่ งไร
ตแบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินัญขอหาง 107
เหด็ ระโงก
เหด็ ระโงก เปน็ ราไมคอรไ์ รซา (mycorrhizas) ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั ไมว้ งศย์ างในลกั ษณะการอยรู่ ว่ มกนั
เออื้ อ�ำนวยประโยชนซ์ ง่ึ กนั และกนั กบั เซลลข์ องรากพชื โดยทตี่ า่ งฝา่ ยกไ็ ดร้ บั ประโยชน์ (mutualistic symbiosis)
ราจะช่วยดูดน�้ำและธาตุอาหารจากดิน โดยเฉพาะฟอสฟอรัส (P) ให้แก่พืช ส่วนราก็ได้สารอาหารจากพืช
ทข่ี บั ออกมาทางรากส�ำหรบั ใชใ้ นการเจรญิ เตบิ โต เชน่ นำ้� ตาล โปรตนี และวติ ามนิ ตา่ ง ๆ นอกจากนรี้ าไมคอรไ์ รซา
ยังช่วยป้องกันรากพืชจากการเข้าท�ำลายของเช้ือก่อโรค พืชต้นกล้าที่มีราไมคอร์ไรซาจึงมีการอยู่รอดมากกว่า
พืชที่ไม่มีราไมคอร์ไรซาเพราะสามารถทนแล้ง และธาตุอาหารต่�ำได้ดีกว่าต้นกล้าที่ไม่มีราไมคอร์ไรซา และ
เม่ือความชื้นและปัจจัยแวดล้อมอ่ืนๆ เหมาะสม ราไมคอร์ไรซาจะเจริญและพัฒนาเป็นดอกเห็ดให้เห็นได้
ไบโอเทค สวทช. ร่วมกบั ส�ำนกั วจิ ัยและพฒั นาการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้ศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งปัจจยั
สิ่งแวดลอ้ มตอ่ ผลผลติ ของเห็ดระโงกทั้งในและนอกฤดูกาล ณ แปลงสาธิตโครงการศูนย์พฒั นาการเกษตรภสู งิ ห์
จงั หวดั ศรสี ะเกษ ในชว่ งปี 2557-2558 พบวา่ ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การเกดิ เหด็ ระโงก ไดแ้ ก่ ปรมิ าณแสง ความชน้ื บรเิ วณ
ผิวดิน อุณหภูมิ และความช้ืนในอากาศ รวมถงึ ความหนาแนน่ ของอนิ ทรียวตั ถเุ หนอื พนื้ ดนิ ผลการศกึ ษา พบว่า
เห็ดระโงกเป็นเห็ดที่ให้ผลผลิตสูงสุดในแปลง โดยสามารถพบเห็ดระโงกถึง 3 ชนิด คือ เห็ดระโงกแดง
เห็ดระโงกเหลอื ง และเหด็ ระโงกขาว นอกจากน้ใี นแปลงสาธิตดงั กล่าว ยังพบเหด็ กินได้ชนดิ อ่ืน ๆ เชน่ เหด็ ถา่ น
เหด็ หาด เหด็ ครก เหด็ โคน และเหด็ ตะไคล ซงึ่ การออกดอกของเหด็ ระโงกนนั้ มคี วามสอดคลอ้ งกบั ปรมิ าณนำ้� ฝน
ในชว่ งตน้ ฤดูเปน็ อยา่ งมาก โดยพบว่าในช่วงเดอื นมถิ ุนายน-กรกฎาคม จะพบปริมาณเห็ดระโงกเปน็ จ�ำนวนมาก
นอกจากนี้การให้น�้ำนอกฤดูก็มีส่วนท�ำให้เกิดเห็ดระโงกได้เช่นกัน ซึ่งความรู้ที่ได้จากการศึกษาอิทธิพลของ
ปัจจัยแวดล้อมต่อผลผลิตเห็ดระโงกในคร้ังนี้จะน�ำไปสู่การปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการออกดอก
ของเหด็ ระโงกซึง่ เป็นประโยชน์ต่อชุมชนทัง้ ด้านอาหารและรายได้
* ท่ีมา : Vincent E. C. Ooi and Fang Liu 2000. Immunomodulation and anti-cancer activity of polysaccharide-protein
complexes. Current Medicinal Chemistry 7 : 715-729.
: https://www.nstda.or.th/th/nstda-r-and-d/5112
108 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้ินัญขอหาง
ค�ำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอ่านท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใชค้ วามรวู้ ิทยาศาสตร์
ที่เก่ียวข้อง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : เหด็ ระโงก
1.1 ความสมั พนั ธข์ องเหด็ ระโงกกับไมว้ งศ์ยาง เปน็ ความสมั พนั ธข์ องสิ่งมชี ีวติ แบบใด
1. พึ่งพากนั
2. เปน็ กลาง
3. อาศัยเกื้อกูลกัน
4. มปี ระโยชน์ร่วมกนั
1.2 ความสมั พนั ธข์ องสง่ิ มชี วี ติ ตอ่ ไปน้ี มคี วามสมั พนั ธเ์ ชน่ เดยี วกบั เหด็ ระโงกและไมว้ งศย์ างใชห่ รอื ไม่
จงใหเ้ หตุผลประกอบ
ความสัมพนั ธข์ องส่ิงมีชีวิต ใช/่ ไม่ใช่
กาฝากกับต้นมะมว่ ง ใช่/ไมใ่ ช่
กลว้ ยไม้กับตน้ ไมใ้ หญ่ ใช่/ไมใ่ ช่
แบคทีเรยี ในปมรากพืชตระกลู ถว่ั ใช่/ไม่ใช่
ไลเคน (รากับสาหรา่ ยสีเขียว) ใช/่ ไมใ่ ช่
ชุดค�ำถามท่ี 2 : เหด็ ระโงก
นกั วิจัยตอ้ งการรวู้ า่ “ต้นกลา้ ของไม้วงศ์ยางทป่ี ลูกพร้อมเห็ดระโงกกับต้นกล้าของไม้วงศย์ างทีไ่ ม่มี
เหด็ ระโงก มีการเจรญิ เติบโตตา่ งกันหรือไม”่
2.1 จงเขยี นสมมตฐิ านของการทดลองข้างต้น
สมมติฐาน :
2.2 จงระบุตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม ตวั แปรควบคุมทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี 109
ตัวแปรต้น :
ตัวแปรตาม :
ตัวแปรควบคุม :
ตแบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ัญขอหาง
2.3 การทดลองของใครตอ่ ไปนี้ สามารถตรวจสอบสมมตฐิ านตามขอ้ 2.1 ได้
A : ปลูกตน้ กลา้ ของไมว้ งศ์ยางต้น 2 ตน้ ในทีท่ ม่ี ีปจั จยั ในการเจริญเติบโตเหมือนกันแต่ต้นท่ี 1
ปลูกพรอ้ มเห็ดระโงก ต้นท่ี 2 ไมม่ ีเหด็ ระโงก
B : ปลกู ตน้ กลา้ ของไมว้ งศย์ างตน้ 2 ตน้ ในทที่ ม่ี ปี จั จยั ในการเจรญิ เตบิ โตตา่ งกนั แตม่ เี หด็ ระโงก
อย่เู หมือนกัน
2.4 A : เพาะเหด็ ระโงกโดยเก็บดอกแก่มาขยแ้ี ละผสมกับน้�ำเปลา่ น�ำไปรดบริเวณโคนตน้ ยาง
B : เพาะเหด็ ระโงกโดยเก็บดอกแก่มาขย้ีแลว้ น�ำไปโปรยบรเิ วณโคนตน้ ยาง
ทัง้ A และ B มีการควบคมุ ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการเกดิ ของเห็ดระโงกใหเ้ หมือนกนั
การทดลองใดจะมเี ห็ดระโงกเกิดขึ้นมากกวา่ เพราะเหตุใด
ชดุ ค�ำถามท่ี 3 : เหด็ ระโงก
สภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสมในการเกดิ เหด็ ระโงกกับต้นไม้วงศ์ยางในฤดกู าล เปน็ ดังน้ี
สภาพแวดล้อม คา่ ความเหมาะสม
ลักษณะเน้อื ดนิ ดนิ ทราย
ความชืน้ ของดิน
ปริมาณอินทรยี วัตถุ 13.05-14.35%
ความชน้ื ของอากาศ 0.17-1.02%
อุณหภมู ิของอากาศ
60-70%
30 องศาเซลเซยี ส
ถา้ ต้องการจะผลติ เห็ดระโงกนอกฤดูกาล จะมีวิธีการจดั สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมได้อย่างไร
และมวี ิธีการด�ำเนินการอย่างไร พร้อมใหเ้ หตุผลประกอบ
ฤดกู าล วธิ ีด�ำเนนิ การ เหตผุ ลประกอบ
ฤดูรอ้ น
ฤดหู นาว
110 แตบาบมฝแึกนพวัฒทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
ฝุ่นมลพิษ พเี อ็ม 2.5
ทีม่ า : Institete for Health and Education มหาวิทยาลัยวอชงิ ตัน สนบั สนนุ โดยธนาคารโลก
: รายงานพลังงานของประเทศไทย 2549. กระทรวงพลังงาน, รายงานโครงการติดตามและประเมินสถานการณ์การเผาในที่โล่ง
ในพื้นท่ีการเกษตรของประเทศไทย 2548, กรมควบคุมมลพิษ, รายงานระบบฐานข้อมูลแหล่งด�ำเนินมลพิษทางอากาศ
และเสยี งในประเทศไทย 2537, กรมควบคุมมลพษิ
“พเี อม็ 2.5” คอื ฝนุ่ มลพษิ ขนาดเล็กจิ๋ว ทมี่ ขี นาดเล็กไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน เลก็ กวา่ ขนาดเสน้ ผา่ น
ศนู ยก์ ลางของเสน้ ผมถงึ 25 เทา่ และดว้ ยเหตนุ ม้ี นั จงึ สามารถเลด็ ลอดผา่ นการดกั จบั ของขนจมกู ผา่ นเขา้ สรู่ ะบบ
ทางเดนิ หายใจ ถงุ ลมในปอด และผา่ นเขา้ สกู่ ระแสเลอื ด กระจายไปสอู่ วยั วะตา่ ง ๆ ทว่ั รา่ งกาย ซงึ่ เมอื่ สะสมนาน ๆ
เขา้ เสยี่ งตอ่ การเปน็ โรคเรอ้ื รงั เพมิ่ โอกาสในการเกดิ โรคตา่ ง ๆ ตงั้ แตภ่ มู แิ พไ้ ปจนถงึ โรคปอดอดุ กน้ั เรอ้ื รงั มะเรง็ ปอด
หวั ใจขาดเลอื ด โรคหลอดเลอื ดสมอง ฯลฯ
โดยในปี 2560 ระดบั มลพษิ ในอากาศทบี่ นั ทกึ โดยสถานตี รวจสอบ 19 แหง่ ใน 14 พนื้ ทที่ วั่ ประเทศไทย
ยังคงมีคา่ มลพษิ เกนิ มาตรฐานขององคก์ ารอนามัยโลก
“มาตรฐานการปล่อยมลพิษท่ีสูงเกิน นั่นหมายความว่าเวลาท่ีวัดพีเอ็ม 2.5 จะวัดตามมาตรฐาน
ซ่งึ องค์การอนามัยโลกถือว่าเปน็ ระดับท่ีปลอดภัย คอื 10 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร แตป่ ระเทศไทยก�ำหนดที่
25 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร”
ตแบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินญั ขอหาง 111
ค�ำชี้แจง ให้นกั เรียนอา่ นท�ำความเขา้ ใจสถานการณ์ และใชค้ วามรู้วิทยาศาสตร์
ท่เี ก่ียวขอ้ ง ตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : “ฝนุ่ มลพิษ พเี อม็ 2.5”
1.1 มลพิษ พีเอ็ม 2.5 สง่ ผลต่อการด�ำเนนิ ชวี ติ ของสิง่ มชี วี ิตอย่างไร จงอธิบาย
มนุษย์ :
สัตว ์ :
พชื :
1.2 พีเอ็ม 2.5 ที่มคี ่าสงู เกินมาตรฐาน จะส่งผลต่อระบบหายใจอยา่ งไร
1.3 หนา้ กากอนามัย เปน็ วิธหี น่งึ ในการปอ้ งกันตนเอง จากปญั หามลภาวะทางอากาศ
ให้นักเรยี นอธบิ ายหลกั การท�ำงานของหน้ากากอนามยั ในการแกป้ ัญหามลภาวะทางอากาศ
1.4 “กรงุ เทพมหานคร มฝี ุน่ หนาแน่น ปรมิ าณพีเอ็ม 2.5 ตรวจวดั ได้ 69-94 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศก์เมตร
ซง่ึ เกนิ ค่ามาตรฐาน โดยปรมิ าณฝนุ่ ละอองมีแนวโน้มเพ่มิ ขน้ึ ”
ใหน้ ักเรยี นออกแบบอปุ กรณจ์ �ำลองในการปอ้ งกันมลพษิ “พเี อ็ม 2.5”
112 แตบาบมฝแึกนพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
ชดุ ค�ำถามที่ 2 : “ฝุ่นมลพิษ พเี อม็ 2.5”
ภาพวิกฤติ ฝนุ่ ละออง PM 2.5 ในพื้นที่ 14 จังหวัด
ท่มี า : Institete for Health and Education มหาวิทยาลัยวอชงิ ตนั สนับสนุนโดยธนาคารโลก
: รายงานพลังงานของประเทศไทย 2549. กระทรวงพลังงาน, รายงานโครงการติดตามและประเมินสถานการณ์การเผาในท่ีโล่ง
ในพื้นท่ีการเกษตรของประเทศไทย 2548, กรมควบคุมมลพิษ, รายงานระบบฐานข้อมูลแหล่งด�ำเนินมลพิษทางอากาศ
และเสยี งในประเทศไทย 2537, กรมควบคุมมลพษิ
จากภาพให้นกั เรียนตอบค�ำถามต่อไปน้ี
2.1 จงั หวดั ใดมีภาวะ “ฝ่นุ มลพิษ พีเอ็ม 2.5” รนุ แรงมากที่สุด
2.2 จงระบแุ ละอธิบายวิธลี ดภาวะ “ฝุ่นมลพิษ พเี อม็ 2.5” ทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพของจังหวดั ในข้อ 2.1 (1 วธิ )ี
ตแบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินัญขอหาง 113
ดาวเคราะห์
เฟริ ์ส เปน็ นกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เกดิ ความสงสยั ตอ้ งการท�ำการทดลองเพอ่ื พิสจู น์
วา่ ระยะทางทหี่ า่ งจากดวงอาทติ ยม์ ผี ลตอ่ อณุ หภมู ขิ องดาวเคราะหห์ รอื ไม่ โดยเทยี บเคยี งจากสง่ิ ทหี่ าไดง้ า่ ย
และไม่ค�ำนึงถึงความแตกต่างของบรรยากาศระหว่างดาวเคราะห์ต่าง ๆ จึงออกแบบและท�ำการทดลอง
ดังนี้
1. จัดชุดการทดลองดังภาพโดยให้หลอดไฟเป็นแหล่งก�ำเนิดความร้อน และวัตถุ A, B และ C
แทนดาวเคราะห์ จดั วางตามรูปแบบและระยะ ดังภาพ
หลอดไฟ วตั ถุ A วัตถุ B วัตถุ C
50 cm 50 cm 50 cm
2. วดั อณุ หภมู บิ ริเวณผิวของวตั ถุ A B และ C ดา้ นทโ่ี ดนแสง ทกุ ๆ 10 นาที จนครบ 2 ช่วั โมง
ุอณหภู ิม (องศาเซลเ ีซยส) สงั เกตและบนั ทกึ ผลการทดลอง แสดงดงั ภาพดา้ นลา่ ง A
45 B
40 C
35
30
25
20
15
10
5
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120
เวลา (นาที)
114 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
ค�ำชแี้ จง ให้นกั เรยี นอ่านท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใช้ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ทเี่ กีย่ วข้อง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชุดค�ำถามท่ี 1 : ดาวองั คาร
1.1 เฟริ ส์ สรุปว่า “ระยะทางที่ห่างจากแหล่งความรอ้ นมีผลตอ่ อุณหภูมบิ นผวิ ของวตั ถ”ุ
ข้อมลู ใดท่ีสนับสนนุ แนวคิดดงั กลา่ วอย่างไร
1.2 เมอ่ื เวลาผ่านไปอณุ หภูมขิ อง B และ C เปลยี่ นแปลงอย่างไร นกั เรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใด
ชุดค�ำถามที่ 2 : ดาวองั คาร
ต้นข้าวเพอ่ื นของเฟิร์สไม่เหน็ ด้วยกบั ข้อสรปุ ทว่ี า่
“ระยะทางท่ีหา่ งจากแหล่งความร้อนมผี ลตอ่ อุณหภูมิบนผิวของวัตถุ”
2.1 นักเรยี นจะให้เหตุผลเพื่อสนับสนนุ แนวคดิ ของต้นขา้ วว่าอยา่ งไร
2.2 นักเรียนจะแนะน�ำเฟิร์สให้ปรับปรุงการออกแบบการทดลองอย่างไร เพื่อให้ผลการทดลอง
มคี วามน่าเชือ่ ถอื ขึ้น
ตแบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ญั ขอหาง 115
เต่าทะเล
ฝ่ายสิ่งแวดล้อม องค์การระหว่างประเทศเพื่ออนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCM) เปิดเผยว่า เวลานี้
เกดิ ปรากฏการณท์ นี่ า่ เปน็ หว่ งทส่ี ดุ โดยระบวุ า่ ปรากฏการณโ์ ลกรอ้ นไดท้ �ำใหป้ ระชากรเตา่ ตนใุ นเกรท แบรเิ ออ รฟี
(Great Barrier Reef) ซึ่งเปน็ พน้ื ทท่ี มี่ ปี ะการังอุดมสมบูรณ์ทสี่ ุดในโลกทป่ี ระเทศออสเตรเลียเปลย่ี นเพศสภาพ
จากเตา่ ตัวผู้เปน็ เต่าตัวเมยี เกอื บทงั้ หมด หรือราว 99%
จากงานวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ พบว่า ที่อุณหภูมิขณะฟักไข่แตกต่างกันสัดส่วนการฟักออกเป็น
เต่าตวั ผกู้ บั เปน็ เตา่ ตวั เมีย ปรากฏดงั กราฟดา้ นล่าง
ปรบั จาก : ปรากฏการณ์นา่ เป็นห่วงโลกรอ้ นท�ำเตา่ ตนุเกิดใหม่เป็นเพศเมีย 99%
www.khoasod.co.th (17 มกราคม 2561)
(ร้อยละ)
เพศเมีย
เพศผู้
(อณุ หภมู )ิ
116 แตบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
ค�ำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนอ่านท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใชค้ วามรู้วิทยาศาสตร์
ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ตอบค�ำถามต่อไปนี้
ชดุ ค�ำถามท่ี 1 : เตา่ ทะเล
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอณุ หภมู ิขณะฟกั ไข่กับการเกดิ เพศของลกู เตา่ ทะเลเปน็ อย่างไร
ชุดค�ำถามที่ 2 : เต่าทะเล
มีรายงานว่า กรมสิ่งแวดล้อมและคุ้มครองมรดกทางธรรมชาติของรัฐควีนส์แลนด์ ออสเตรเลีย
ไดพ้ ยายามทดสอบหามาตรการตา่ ง ๆ ในบรเิ วณชายหาดทเี่ ปน็ ทว่ี างไขข่ องเตา่ ทะเล เชน่ การท�ำทบี่ งั แดด
หรอื แมแ้ ตฝ่ นเทยี ม
กรมสงิ่ แวดลอ้ มและคมุ้ ครองมรดกทางธรรมชาติ ท�ำเชน่ นนั้ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ ดและผลทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ
เป็นอยา่ งไร
วัตถปุ ระสงค์ :
ชุดค�ำถามที่ 3 : เตา่ ทะเล
การผสมพนั ธุ์จะเกดิ ขน้ึ ทุก ๆ สองปี หลงั จากการผสมพนั ธ์ตุ ัวเมียจะรอจนน�ำ้ ขนึ้ และจะคลานกลับไปยัง
ชายหาดทม่ี นั เกดิ ขดุ หลมุ และวางไข่ ประมาณ 100-200 ฟอง และจะกลบไวด้ ว้ ยทรายเสรจ็ แลว้ กจ็ ากไป
ประมาณสองเดือนลูกเตา่ กจ็ ะฟกั ตัวออกมากอ่ นทจ่ี ะว่ายกลบั ลงสู่ทะเล
ที่เกาะตรังกานู ประเทศมาเลเซยี พบวา่ เต่าตนทุ ่เี กาะตรงั กานูไมม่ ตี วั ผูเ้ ลย
3.1 จงอธิบายลกั ษณะอณุ หภมู ขิ องทรายทีเ่ กาะตรังกานู ประเทศมาเลเซีย
3.2 นกั เรยี นคดิ วา่ แนวโนม้ ประชากรเตา่ ตะนทุ เ่ี กาะตรงั กานู ประเทศมาเลเซยี เปลยี่ นแปลงอยา่ งไร
ตแบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินัญขอหาง 117
การนอนเพื่อสขุ ภาพ
ระยะเวลาและคณุ ภาพของการนอนหลบั ทเ่ี ราตอ้ งการเปลยี่ นแปลงไปตามอายุ อยา่ งไรกต็ ามอายมุ ใิ ช่
เพยี งปจั จยั เดยี วทเี่ ปน็ ตวั ตดั สนิ แตล่ ะคนมคี วามตอ้ งการการนอนหลบั ทแี่ ตกตา่ งกนั บางคนตอ้ งการมาก และบางคน
ต้องการน้อยกว่า ความต้องการของคนโดยเฉล่ียระยะเวลาการนอนหลับอาจมีความส�ำคัญน้อยกว่าคุณภาพ
ของการนอนหลับ ความต้องการในการนอนหลับแต่ละวันก็อาจเปลี่ยนไปวันต่อวัน ขึ้นกับสถานการณ์ท่ีเผชิญ
อย่างไรก็ตามตราบใดที่ยังรู้สึกสดช่ืนและตื่นตัวในวันรุ่งข้ึนน่ันบ่งบอกว่าได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอแล้ว
ซง่ึ การนอนหลบั ยงั มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ระบบอน่ื ๆของรา่ งกายตลอดจน
โรคบางโรคด้วย เนอ่ื งจากตอนนอนสมองไดพ้ ักผอ่ น กลา้ มเน้ือ
ได้คลายตวั หวั ใจสงบข้นึ ความดนั ลด ดงั นนั้ การนอนกเ็ หมอื น
เขา้ อู่ซ่อมรา่ งกายทส่ี กึ หรอไปจากงานหนักท้งั วัน ย่ิงได้นอนเรว็
ก็เท่ากับได้ตักตวงก�ำไรส�ำคัญท่ีจะท�ำให้คุณมีสุขภาพดี คนท่ี
นอนเรว็ จะไมเ่ สย่ี งกบั การเจบ็ ปว่ ยไดง้ า่ ย อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยใหไ้ มเ่ กดิ
การเสยี่ งโรคอว้ นลงพงุ เพราะการนอนเรว็ ชว่ ยสกดั อาการหวิ ดกึ
และกินดุที่จะตามมา ตลอดจนมีกลไกดับหิวด้วยการสร้างเคมี
ดับหวิ ข้นึ มา ท�ำให้การนอนเรว็ ช่วยคุมน�ำ้ หนักตัวได้ดกี วา่ เพราะกระตนุ้ เตาเผาในรา่ งกายใหท้ �ำงานได้ดี ช่วยให้
ไมอ่ ว้ นงา่ ย ไมส่ รา้ งเคมี เกบ็ ไขมนั มาก นอกจากนม้ี กี ารศกึ ษาของสมาคมจติ วทิ ยาอเมรกิ นั (APA) ชวี้ า่ คนทน่ี อนนอ้ ย
(ราว 4 ชั่วโมงต่อคืน) ติดกันมีผลต่อความจ�ำ สมาธิ และอุบัติเหตุมาก ด้วยกลไกขณะนอนช่วยจัดระเบียบ
สมอง (Consolidation) คล้ายอีเมลท่ีแยกเมลขยะออกไป สังเกตว่าเวลาอดนอนจะมีอาการมึน ความจ�ำมัว
ลืมงา่ ย หรือไม่กล็ ิ้นพนั กนั เพราะคดิ อีกอยา่ งแต่กลับพดู อีกอยา่ ง ดงั นั้น การไดน้ อนเต็มอมิ่ มสี ่วนช่วยให้สมอง
ได้เตมิ พลงั ชารจ์ แบตพร้อมรับความจ�ำใหม่ ๆ ได้ดขี ้นึ
ทีม่ า : www.actra.co.th (บทความเกยี่ วกับสุขภาพ)
118 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมก้ปินญั ขอหาง
ค�ำช้ีแจง ให้นักเรยี นอา่ นท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใช้ความร้วู ทิ ยาศาสตร์
ทเ่ี กย่ี วข้อง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : การนอนเพ่อื สขุ ภาพ
การนอนหลับส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพการท�ำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกายอย่างไร จงอธบิ าย
ชุดค�ำถามท่ี 2 : การนอนเพื่อสขุ ภาพ
การส�ำรวจตรวจสอบเพ่อื หาค�ำตอบว่า “จ�ำนวนช่ัวโมงการนอนหลบั มผี ลตอ่ น้ำ� หนกั ตัวอยา่ งไร”
สามารถออกแบบการทดลองต่อไปน้ไี ดอ้ ยา่ งไร
2.1 จงระบุตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคุม ในการส�ำรวจตรวจสอบเพ่ือหาค�ำตอบ
ตวั แปรตน้ :
ตวั แปรตาม :
ตวั แปรควบคุม :
2.2 จ�ำเปน็ ตอ้ งเก็บข้อมลู ตอ่ ไปนจี้ �ำเป็นหรอื ไม่ เพราะอะไร
ขอ้ มลู ผลการพิจารณา เหตุผลประกอบ
เพศ จ�ำเป็น/ไม่จ�ำเป็น
น�้ำหนักตัว จ�ำเปน็ /ไมจ่ �ำเปน็
จ�ำนวนม้อื อาหาร จ�ำเป็น/ไมจ่ �ำเปน็
จ�ำนวนชว่ั โมงการนอนหลับ จ�ำเปน็ /ไมจ่ �ำเปน็
จ�ำนวนสมาชิกในห้องเรยี น จ�ำเป็น/ไมจ่ �ำเปน็
แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปนิ ัญขอหาง 119
อันตรายน�ำ้ มันทอดซ�้ำ
นำ้� มนั เปรยี บเสมอื นตวั น�ำความรอ้ น เมอ่ื นำ้� มนั ไดร้ บั อณุ หภมู สิ งู เปน็ เวลานาน หรอื ใชป้ ระกอบอาหาร
ซ�้ำหลาย ๆ คร้ัง ความช้ืนของอาหารและออกซิเจนจากอากาศจะเร่งการเส่ือมสภาพของน�้ำมัน ซ่ึงมีผลท�ำให้
สี กลิ่น และรสชาตเิ ปลยี่ นไป จุดเกิดควันลดลงและความหนืดมากข้ึน
การเส่ือมสภาพนี้ ก่อให้เกิดสารท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพ คือ สารกลุ่มโพลาร์ (Polar compound)
และกลุ่มโพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน (PAHS) สารโพลาร์เป็นสารท่ีเกิดขึ้นในน้�ำมันที่ผ่าน
การทอดซำ้� หลายครงั้ จนเสอื่ มสภาพ โดยสารโพลารจ์ ะเพม่ิ สงู ขน้ึ เมอ่ื มกี ารใชน้ ำ�้ มนั ทอดซำ�้ หลายครงั้ ทสี่ ามารถสะสม
ในรา่ งกายและสง่ ผลกระทบตอ่ การท�ำงานของเซลล์ สง่ ผลตอ่ การเกดิ โรคมะเรง็ หากรบั ประทานอาหารทใ่ี ชน้ ำ้� มนั
ทอดซ้�ำ ก่อให้เกิดมะเร็งตับ และมีโอกาสเส่ียงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจอีกด้วย
ไม่ใช่เพียงแค่ผู้บริโภคเท่าน้ันที่จะได้รับอันตราย แต่ผู้ประกอบอาหารก็ได้รับอันตรายเช่นเดียวกัน โดยหาก
ผู้ประกอบอาหารสูดดมไอระเหยจากน�้ำมันทอดอาหารซ�้ำเป็นระยะเวลานาน เส่ยี งต่อการเกดิ โรคมะเรง็ ปอด
ที่มา : http:///www.orgornoi.com/kb/ผลติ ภณั ฑ์อาหาร 171
ค�ำชี้แจง ใหน้ ักเรียนอา่ นท�ำความเขา้ ใจสถานการณ์ และใช้ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ตอบค�ำถามตอ่ ไปนี้
ชดุ ค�ำถามท่ี 1 : อันตรายนำ�้ มันทอดซ�้ำ
เพราะเหตใุ ดการกนิ อาหารทใ่ี ชน้ ำ้� มนั ทอดซ้�ำจงึ เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพ
ชุดค�ำถามที่ 2 : อันตรายน�้ำมนั ทอดซ�้ำ
จากการส�ำรวจและเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ มนั ทใ่ี ชท้ อดอาหารในทอ้ งตลาด พบวา่ มกี ารใชน้ ำ้� มนั ในการทอดอาหาร
มากกวา่ 1 คร้งั และทดสอบหาปริมาณของสารโพลารใ์ นน�้ำมัน พบวา่ มีสารโพลารเ์ กนิ มาตรฐาน คอื
มมี ากกวา่ รอ้ ยละ 25 โดยนำ�้ หนกั
จากข้อมลู ผลการทดลอง ใหน้ ักเรียนอภปิ รายผลการทดลองและแสดงเหตผุ ลโดยใช้ขอ้ มูลประจักษพ์ ยาน
ทางวิทยาศาสตร์
120 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ัญขอหาง
ชดุ ค�ำถามที่ 3 : อันตรายน้ำ� มันทอดซำ�้
ถ้าพบว่าปาท่องโก๋ทีซ่ ือ้ มาทาน มกี ลน่ิ เหมน็ หนื แสดงว่าเกดิ จากการใชน้ �้ำมนั ทอดซ้�ำใช่หรือไม่
จงใหเ้ หตผุ ลประกอบ
แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินัญขอหาง 121
ไฮโดรพอนกิ ส์ (Hydroponics)
ไฮโดรพอนิกส์ (Hydroponics) เป็นการปลูกพืชในน�้ำท่ีมี
ธาตุอาหารพืชละลายอยู่ หรือการปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหารพืช
โดยใช้รากสัมผัสกับสารละลายโดยตรง ทดแทนการปลูกพืชในดิน
นับเป็นวิธีการใหม่ในการปลูกพืช โดยเฉพาะการปลูกผักและพืชที่ใช้
เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพ้ืนท่ี ใช้เวลาในการปลูกน้อยกว่าพืชในดิน
และไม่ปนเปื้อนกบั สารเคมีตา่ ง ๆ ในดิน
ท่ีมา : http://www.scimath.org/article-science/item/2172-hydroponics-house
ค�ำช้ีแจง ให้นักเรยี นอา่ นท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใชค้ วามรู้วทิ ยาศาสตร์
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตอบค�ำถามต่อไปน้ี
ชดุ ค�ำถามที่ 1 : ไฮโดรพอนิกส์ (Hydroponics)
จากการส�ำ รวจ พบวา่ ผกั ทปี่ ลกู ทกุ ชนดิ มกี ารตกคา้ งของสารไนเตรต ทงั้ นก้ี ารตกคา้ งของสารไนเตรต
เกินมาตรฐานจะมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคมะเร็ง อย่างไรก็ตามปริมาณการสะสมของไนเตรตในพืชน้ันข้ึนกับ
ชนดิ ของพืช อายุพืช เวลาทเ่ี ก็บเกีย่ ว ความเข้มแสง ฤดูกาลปลกู และชนิดของปุ๋ยไนโตรเจนทใ่ี ห้กบั พืช
จากรายงานของตา่ งประเทศ พบวา่ ในฤดหู นาวคา่ ของปรมิ าณไนเตรตทย่ี อมรบั ไดจ้ ะสงู กวา่ ในฤดรู อ้ น
ทง้ั นเ้ี นอ่ื งจากความเขม้ แสงเปน็ ปจั จยั หลกั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การสะสมของไนเตรต กลา่ วคอื ในสภาพทมี่ คี วามเขม้ แสงนอ้ ย
พืชจะมีการสะสมไนเตรตสูงกว่า ส่วนในสภาพที่มีความเข้มแสงมากพืชจะมีการสะสมสารไนเตรตน้อยกว่า
ซ่ึงปัจจัยข้อน้ีเป็นข้อได้เปรียบสำ�หรับพืชผักที่ปลูกในประเทศไทย หรือประเทศเขตร้อน เพราะว่าบ้านเรา
มคี วามเข้มแสงสูงกว่าประเทศทางแถบยุโรป
1.1 สารไนเตรตที่พบในผักไฮโดรพอนกิ ส์ สามารถเขา้ สูพ่ ชื ไดอ้ ยา่ งไร
1.2 พชื B เปน็ พชื ลม้ ลกุ ทสี่ ามารถปลกู ได้ 2 ครงั้ ตอ่ ปี (ปลกู ลงดนิ แบบปกต)ิ คอื ชว่ งฤดรู อ้ นและฤดหู นาว
ปรมิ าณปยุ๋ ไนโตรเจนทีใ่ ชเ้ พอ่ื บำ�รงุ พืชในการเพาะปลกู ทัง้ 2 ครัง้ ควรเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
122 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินญั ขอหาง
1.3 หากนำ�พืช A และ B มาปลูกด้วยระบบไฮโดรพอนิกส์ในสภาพปิดภายในโรงเรือนโดยใช้แสง
จากหลอดไฟเท่านัน้ เม่ือตรวจปรมิ าณสารไนเตรตตกคา้ ง ปรากฏว่า พชื A มีมากกว่า B
ให้นกั เรียนระบุปัจจัยท่ีทำ�ให้พืช A มีสารไนเตรตตกคา้ งมากกวา่ B
ชุดค�ำถามท่ี 2 : ไฮโดรพอนกิ ส์ (Hydroponics)
ถ้าตอ้ งการสำ�รวจตรวจสอบว่าปริมาณไนเตรตตกคา้ งของพืชชนดิ ต่าง ๆ แตกต่างกนั หรือไม่
การทดลองต่อไปนี้ สามารถตอบคำ�ถามข้างต้นได้หรือไม่ โดยเขียนวงกลมล้อมรอบคำ�ตอบ
ในชอ่ งผลการพิจารณา
การทดลอง ผลการพิจารณา
การสำ�รวจตรวจสอบหาชนิดของผักท่ขี าดในตลาด ได/้ ไม่ได้
การสำ�รวจตรวจสอบหาปริมาณไนเตรตในผกั แต่ละชนิดทขี่ าดในตลาด ได/้ ไมไ่ ด้
การส�ำ รวจแหลง่ ท่มี าของผกั ทีข่ าดในตลาด ได/้ ไม่ได้
ชดุ ค�ำถามท่ี 3 : ไฮโดรพอนิกส์ (Hydroponics)
ส�ำ รวจตรวจสอบว่าปรมิ าณไนเตรตของพชื A บริเวณ ราก ลำ�ต้น และก้านใบ ปรากฏผลดังตาราง
การทดลองคร้งั ท่ี ปรมิ าณไนเตรต (มลิ ลกิ รมั ต่อกโิ ลกรมั )
1 ราก ล�ำตน้ ก้านใบ
2
3 1,300 1,200 800
1,200 1,700 700
1,400 1,200 800
หมายเหตุ ปริมาณไนเตรตในพืชควรมคี า่ ไม่เกนิ 2,500 มลิ ลิกรมั ตอ่ กิโลกรัม
นกั เรยี นคนน้สี รุปว่า “พชื A ท่ีมีปรมิ าณไนเตรตตกค้างในบรเิ วณลำ�ตน้ มากทสี่ ดุ ”
3.1 นักเรยี นเห็นดว้ ยกับข้อสรปุ นหี้ รือไม่
3.2 ใหน้ ักเรยี นแสดงเหตุผลหรือกระบวนการเพอ่ื สนับสนนุ คำ�ตอบของนักเรียน
ตแบาบมฝแึกนพวัฒทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้นิ ญั ขอหาง 123
สารกันบดู ในเส้นกว๋ ยเต๋ียว
ผลวิจัยชี้ เสน้ เลก็ -เสน้ หม่ี มสี ารกันบดู เพียบ
จากการส�ำรวจเสน้ กว๋ ยเตย๋ี วในพนื้ ทที่ ท่ี �ำการส�ำรวจ
พบว่า มีการเติมสารกันบูด เช่น กรดเบนโซอิก
เกินกว่ามาตรฐาน ขณะที่พวกนิยมบะหมี่เหลือง-
วุ้นเส้น ปลอดภยั ไรก้ ังวล
ท่ีมา : https://www.partiharn.com/contents/9376
สบื คน้ เม่อื 3 เมษายน 2562
ค�ำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านท�ำความเข้าใจสถานการณ์ และใชค้ วามรู้วทิ ยาศาสตร์
ท่เี กีย่ วขอ้ ง ตอบค�ำถามตอ่ ไปนี้
ชุดค�ำถามท่ี 1 : สารกันบูดในเส้นกว๋ ยเตย๋ี ว
กรดเบนโซอกิ ในสารกนั บูด ชว่ ยถนอมอาหารไดอ้ ยา่ งไร
124 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมก้ปินญั ขอหาง
ชดุ ค�ำถามท่ี 2 : สารกนั บดู ในเส้นก๋วยเต๋ียว
ข้อมูลการส�ำรวจของศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ในเส้นก๋วยเตี๋ยวแต่ละชนิด ปรากฏผล
ดงั ตาราง
ชนิดของเส้น ปริมาณ สาร พลงั งาน ความหนา อายุ
ก๋วยเต๋ียว วตั ถุดิบหลกั สารกันบดู ความชื้น เคลือบ (kcal/ ของเสน้ การเกบ็
ในการผลติ เสน้ (มลิ ลกิ รัม (%) 100 กรัม) (cm) รักษา
ต่อกโิ ลกรมั )
1. ก๋วยเตยี๋ วเส้นเล็ก แปง้ ขา้ วเจา้ 17,250 11-13 ไม่มี 180 0.2-0.4 1 ปี
2. เสน้ หม่ี แป้งขา้ วเจา้ 7,825 10 ไมม่ ี 150 0.1 1 ปี
3. กว๋ ยเตยี๋ วเส้นใหญ่ แป้งข้าวเจ้า 4,230 62-64 น้�ำมนั พชื 220 *1.5-2.5 1-2 วัน
4. บะหมเี่ หลอื ง แป้งสาลี ไม่พบ 10 แปง้ สาลี 280 **0.15-0.2 1 เดอื น
5. วุ้นเสน้ แป้งมัน ไมพ่ บ 15.7 ไม่มี 80 0.15 1 ปี
ส�ำปะหลัง
หมายเหตุ ปริมาณสารกันบูดควรมคี า่ ไมเ่ กนิ 1,000 มิลลกิ รัมตอ่ กิโลกรัม
*http://puechkaset.com
**http://www.ku.ac.th/e-magazine/august47/agri/noodle.html
ใหใ้ ช้ข้อมลู ตอบค�ำถามขอ้ 2.1-2.3
2.1 วัตถุดบิ หลักในการผลติ เส้นก๋วยเต๋ียวมีความสมั พันธก์ บั ปรมิ าณสารกันบดู อย่างไร
2.2 ขอ้ สรปุ ตอ่ ไปนีถ้ ูกต้องหรือไม่ ใหน้ กั เรียนเขียน “ใช่” หรอื “ไมใ่ ช่” ลงในช่องค�ำตอบ
ขอ้ สรปุ ค�ำตอบ
พบสารกันบดู ในเสน้ กว๋ ยเตี๋ยวท่ีใช้แป้งขา้ วเจ้าเป็นวตั ถุดบิ ในการผลิตแตไ่ มพ่ บ
ในเส้นก๋วยเตย๋ี วท่ใี ช้แป้งสาลแี ละแปง้ มันส�ำปะหลัง
เส้นกว๋ ยเตย๋ี วท่มี คี วามช้นื สงู จะพบสารกนั บดู มากกวา่
ปรมิ าณสารกันบูดในเส้นกว๋ ยเตย๋ี วข้ึนอยกู่ บั ระยะเวลาในการเก็บรกั ษา
ตแบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินัญขอหาง 125
2.3 เพราะเหตใุ ดกว๋ ยเตย๋ี วเส้นเลก็ จึงมสี ารกนั บดู มากทีส่ ุด
ชุดค�ำถามท่ี 3 : สารกนั บูดในเสน้ กว๋ ยเตย๋ี ว
ถ้าตอ้ งการศกึ ษา “ความหนาของเสน้ ก๋วยเตย๋ี วมีผลตอ่ ระยะเวลาในการเกบ็ รักษาหรือไม่”
ให้ระบวุ า่ ตวั แปรตอ่ ไปน้ี เป็นตัวแปรชนิดใด โดยเชียนเครอ่ื งหมาย “P” ลงในชอ่ งตวั แปร
ตวั แปร ตัวแปรตาม ตัวแปรตน้ ตวั แปร
ควบคมุ
ชนดิ ของเสน้ กว๋ ยเต๋ียว
ความช้ืน
วัตถดุ บิ หลักในการผลติ เสน้
ความหนาของเสน้
เวลาในการเก็บรกั ษา
อณุ หภูมิ
126 แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกักาษระปการระแเมกป้นิ ญั ขอหาง
คณะทำ�งาน
ทป่ี รกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
1. ดร.บญุ รกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
2. นางสุกญั ญา งามบรรจง ผูอ้ �ำนวยการส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา
3. ดร.วิษณุ ทรพั ย์สมบัติ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ PISA สพฐ.
1. ดร.ณัฐา เพชรธนู
2. นางสาวจรูญศรี แจบไธสง รองผอู้ �ำนวยการศนู ย์ PISA สพฐ.
เจ้าหน้าท่ศี ูนย์ PISA สพฐ. ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา
1. นางสาวสดุ ารตั น์ เวชพันธ์ นักวชิ าการศกึ ษา
2. นางสาวพิณพโิ ส เสยี งดัง นกั วิชาการศึกษา
3. นางสาวณฐั พร เผอื ดจนั ทกึ นกั วชิ าการศกึ ษา
4. นางสาววาทินี ศรีวชิ ยั นักวิชาการศึกษา
คณะท�ำงานแบบฝึกพัฒนาทักษะการแก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA : การรู้เรือ่ งการอ่าน
1. นางพรรณภา พลู บวั ข้าราชการบ�ำนาญ
2. นางสาวพชั รี ยนั ตรสี ิงห ์ ข้าราชการบ�ำนาญ
3. นางเปรมจติ ชมชื่น ขา้ ราชการบ�ำนาญ
4. นางจรีรัตน์ ปานพรมมินทร์ ขา้ ราชการบ�ำนาญ
5. นางประไพศรี พุ่มชศู ักด ์ิ ขา้ ราชการบ�ำนาญ
6. นางวไิ ล วัชรพิชัย ข้าราชการบ�ำนาญ
7. นายชยั วฒั น์ ชุ่มนาเสยี ว ข้าราชการบ�ำนาญ
8. นายญาณวฒุ ิ ทองอย ู่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดบรุ ีรมั ย์
9. นางกฤษณา เสมหริ ญั ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดขอนแกน่
10. นายภานุพงศ์ แสงดี ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดขอนแก่น
11. นางสาวสรุ ตั น์นารี ธิลาใจ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เชยี งใหม่
12. นางพรณชิ า บาร์เบอร ์ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบรุ รี มั ย์
13. นางรญั ญาภทั ร์ อัยรา ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั พิษณุโลก
14. นางสาวปุญยาพร ปฐมพัฒนา ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พษิ ณุโลก
15. นางสาวดวงดาว แซ่โง้ว ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดพษิ ณุโลก
16. นางสุรัมภา เพชรกองกลุ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั มหาสารคาม
17. นางสาวรัชนีกร วรรณสทุ ธ์ิ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ร้อยเอด็
18. นางวันเพ็ญ ชนะพนั ธ ์ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั รอ้ ยเอด็
19. นางศภุ ศิตา รสโหมด ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
20. นางจารุรตั น์ ราชชมภ ู ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5
21. นายสุทธิ สวุ รรณปาล ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 1
22. นางสาวธนารักษ์ ปัน้ เทียน ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1
แตบาบมฝแกึ นพวัฒทนาางทกกั าษระปการระแเมก้ปนิ ญั ขอหาง 127
23. นางนติ ยา กนิษฐ์ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 1
24. นางพยอม รตั นาภรณ ์ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2
25. นางรงุ่ ทิวา ชมชน่ื จิตร์ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 4
26. นางสาวประทมุ วนั ดอมไธสง ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 6
27. นางเพญ็ จา เสมอเหมือน ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 2
28. นางนลิ ยา ทองศรี ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
29. นางมนสั นนั ท์ กลุ วงศ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
30. นางภิญญาพัชญ์ ไพเรอื งโสม ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2
31. นางนติ พิ ร ศรีโนนยาง ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3
32. นางศุกลรตั น์ ม่ิงสมร ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุโขทยั เขต 2
33. นางรัดดา วิทยากร ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 2
34. นางบุญรมั ภา ภูมิลา ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2
35. นายมงคล จนั ทรง์ าม ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 3
36. นางสาวรตั นาภรณ์ ค�ำมลู ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4
37. นางสาววชั รากร ตระการไทย ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 1
38. นางอัจฉรา ฉายววิ ัฒน ์ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบุรรี มั ย์ เขต 3
39. นางสาวพิชพันณก์ ลุ พนั สด ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 24
40. นายนิคม กองเพชร ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 25
41. นางวนิดา ปาณนี ิจ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 27
42. นางนวลฉวี มนตรปี ฐม ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 27
43. นายทองพลู ศิริโท ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 27
44. นางสุพัชรช์ ญา วสิ ูญ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 27
45. นางศภุ สิ รา กอ้ งเกียรตศิ ักดา ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 31
46. นางวิไลวรรณ เหมือนชาติ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
47. นางเสาวคนธ์ ประมูลจักรโก ครู โรงเรยี นทับกุงประชานุกุล ส�ำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาอดุ มศกึ ษา เขต 2
คณะท�ำงานแบบฝกึ พัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA : การร้เู รื่องคณิตศาสตร์
1. นางพรรณภา พลู บวั ข้าราชการบ�ำนาญ
2. นายกระจาย คงสง ขา้ ราชการบ�ำนาญ
3. นายเอกชยั จนั ทา ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เพชบรู ณ์
4. นางรญั ญาภทั ร์ อยั รา ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพษิ ณุโลก
5. นายญาณวุฒิ ทองอยู ่ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดบรุ รี ัมย์
6. นางสาวพริ ิยา เอกวเิ ศษ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดบรุ รี มั ย์
7. นางผการัตน์ พึ่งพานิช ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดบุรีรมั ย์
8. นายอวยชยั สขุ ณะลำ�้ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
9. นางพชั รี ศรษี ะภูมิ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ร้อยเอด็
10. นางมนัสนนั ท์ กุลวงศ ์ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
11. นายปญั ญา ตรเี ลศิ พจน์กุล ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 1
12. นางสาวประทุมวัน ดอมไธสง ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 6
128 แตบาบมฝแกึ นพวฒั ทนาางทกกั าษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง
13. นางสาวสปุ รดี า สถติ ธรรมรัตน์ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 3
14. นางสาวสุวิมล ใจโปร่ง ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
15. นางสาวสาลินี จงใจสรุ ธรรม ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต 1
16. นางสาวศศิธร นาคดิลก ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2
17. นางกชพร ตณุ สุวรรณ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต 1
18. นายกรี ติ ชาดาเมก็ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3
19. นางประพิณพกั ตร์ ธุระนนท์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 23
20. นางวนิดา ปาณีนจิ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 27
21. นายพิพฒั น์ ภภู่ ีโญ ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นบา้ นคยุ บา้ นโอ่ง
ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาก�ำแพงเพชร เขต 1
22. นางเยาวลกั ษณ์ เกษรเกศรา ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นบ้านหนองเตา
ส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาล�ำปาง เขต 2
23. นายภทั รพล แกว้ เสนา ครู โรงเรยี นวดั ทรงธรรม ส�ำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 6
24. นางสาววไลรตั น์ ใจน้อม ครู โรงเรียนหนองจอกพิทยาณสุ รณ์ ส�ำนกั งานเขตหนองจอก
คณะท�ำงานแบบฝึกพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมินของ PISA : การรู้เรือ่ งวทิ ยาศาสตร์
1. นางพรรณภา พลู บัว ข้าราชการบ�ำนาญ
2. นางสาวกญั นกิ า พราหมณ์พิทกั ษ์ ข้าราชการบ�ำนาญ
3. นางเปรมจติ ชมช่ืน ขา้ ราชการบ�ำนาญ
4. นางจรีรัตน์ ปานพรมมินทร์ ขา้ ราชการบ�ำนาญ
5. นายกระจาย คงสง ข้าราชการบ�ำนาญ
6. นายวีระวัฒน์ ทรพั ยอ์ ดุ ม ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั บรุ ีรมั ย์
7. นางสาวราตรี สงวนรัมย ์ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดบรุ รี มั ย์
8. นายชศู ักดิ์ ชืน่ เย็น ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดบุรรี มั ย์
9. นายธรี ภัทร์ ยศท้าว ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดบุรรี ัมย์
10. นางสาวจฑุ ามาศ ทรายแก้ว ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นครสวรรค์
11. นางวนั เพ็ญ ชนะพันธ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
12. นางสาวธนารักษ์ ป้นั เทยี น ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 1
13. นางสาววัชรากร ตระการไทย ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 1
14. นางสาวสุวิมล ใจโปร่ง ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2
15. นายศริ พิ งศ์ บุญประเสริฐ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2
16. นางสาวยพุ าพร หรเสริฐ ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 3
17. นางสาวจิณัฐตา วรรณเกษม ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธ์ุ เขต 3
18. นางเยาวลกั ษณ์ ศิริรกั ษ ์ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต 3
19. นางพรเพญ็ ฤทธิลนั ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต 1
20. นางวาสนา ตาลทอง ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3
21. นางสดศรี สทุ ธการ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2
22. นายส�ำราญ วงั นุราช ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต 1
23. นางสาวสุภาภรณ์ ใจสขุ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2
ตแบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมกป้ินญั ขอหาง 129
24. นายวศิ ธสิ ิทธิ์ พมิ พ์แสนศร ี ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษามหาสารคาม เขต 1
25. นางสาวบุญโรม ดอมไธสง ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 7
26. นางสพุ ตั รา ไชยเชษฐ ์ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 7
27. นางนวลฉวี มนตรปี ฐม ศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 27
28. นางผอ่ งศรี ถมยา ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 29
29. นางณฐั กานต์ ปีแหล่ ศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 33
30. นายเอกสทิ ธ์ิ ปิยะแสงทอง ครู โรงเรยี นคณะราษฎรบ์ �ำรุงปทมุ ธานี ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 4
31. นางสาวทองใบ สุขประเสรฐิ ชัย ครู โรงเรียนคณะราษฎรบ์ �ำรงุ ปทมุ ธานี ส�ำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 4
32. นายสรุ นิ ทร์ ทวยหม่นื ครู โรงเรียนรอ้ ยเอ็ดวทิ ยาลัย ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
คณะบรรณาธกิ ารกจิ ผอู้ �ำนวยการศนู ย์ PISA สพฐ.
1. ดร.ณัฐา เพชรธน ู รองผู้อ�ำนวยการศนู ย์ PISA สพฐ.
2. นางสาวจรูญศรี แจบไธสง
130 แตบาบมฝแึกนพวฒั ทนาางทกักาษระปการระแเมก้ปินัญขอหาง
แบบฝก พัฒนาทกั ษะการแกปญ หา
ตามแนวทางการประเมนิ ของ
ปท พ่ี มิ พ พ.ศ. 2562
จาํ นวนพิมพ 10,500 เลม
ผูจัดพมิ พ สํานกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พมิ พท่ี โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กัด
79 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพิมพผ ูโฆษณา
แบบฝก คมู อื
พัฒนาทกั ษะ การใชแบบฝก พัฒนาทกั ษะ
การแกปญ หาตามแนวทาง การแกป ญหาตามแนวทาง
การประเมินของ PISA การประเมนิ ของ PISA