4-0
E-book
วชิ ากระบวนการจดั ทาบัญชี รหัสวชิ า 20201-2008
หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562
หนว่ ยที่ 4
วงจรบญั ชีของธรุ กิจ
เรยี บเรียงโดย
พนิ รฎั สตี ลวรางค์
บธ.บ. การบัญชี บธ.บ. การจัดการทวั่ ไป
แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุโขทยั
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
4-1
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 วงจรบญั ชขี องธุรกจิ
สาระสาคญั
วงจรบญั ชี เป็นข้นั ตอนการทาบัญชขี องกิจการทเี่ กิดข้ึนในรอบระยะเวลาบัญชี เรม่ิ ตั้งแต่การวเิ คราะห์
รายการค้า และนารายการค้าบันทึกสมุดรายวันข้ันต้น การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท การจัดทางบ
ทดลอง การจัดทากระดาษทาการ การปรับปรุงบัญชี การปิดบัญชี และการจัดทางบการเงิน รายการค้า
หมายถึง รายการท่กี ่อใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ น หรอื โอนสง่ิ ทมี่ มี ูลค่าเปน็ เงินตรา ระหว่างกจิ การกับบุคคลภายนอก
ซ่ึงมผี ลกระทบต่อการดาเนินงาน หรอื ฐานะการเงนิ ของกิจการ
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของวงจรบญั ชี และรายการค้า
2. ขนั้ ตอนการทาบญั ชีตามวงจร บัญชขี องธุรกิจ
สมรรถนะประจาหนว่ ย
แสดงความรูเ้ กย่ี วกับวงจรบญั ชีของธุรกจิ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของวงจรบญั ชี และรายการค้าได้
2. อธิบายขนั้ ตอนการทาบญั ชตี ามวงจรบญั ชขี องธุรกจิ ได้
3. มีกจิ นสิ ยั มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซ่อื สัตย์ มวี ินัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคติทดี่ ตี ่อวชิ าชีพบัญชี
ผังสาระการเรียนรู้
วงจรบัญชีของธุรกิจ ความหมายของวงจรบญั ชี และรายการคา้
ขนั้ ตอนการทาบญั ชีตามวงจรบญั ชีของธุรกจ
1. ความหมายของวงจรบญั ชี และรายการคา้
วงจรบัญชี (Accounting Cycle) หมายถึง ลาดับขั้นตอนทางการบัญชีในรอบระยะเวลาบัญชี เร่ิมต้ังแต่
การวิเคราะห์รายการค้า และนารายการค้าบันทึกสมุดรายวันข้ันต้น การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท การ
จัดทางบทดลอง การจัดทากระดาษทาการ การปรับปรุงบัญชี การปิดบัญชี การจัดทางบทดลองหลังปิดบัญชี
และการจดั ทางบการเงิน
4-2
เอกสารประกอบการ วเคราะหร์ ายการคา้ สมดุ รายวนั ขนั้ ตน้ งบทดลองกอ่ นปรบั ปรุง
ลงบญั ชี วงจรบัญชี บญั ชีแยกประเภท งบทดลองหลงั ปรบั ปรุง
งบทดลองหลงั ปดบญั ชี
งบการเงน ปรบั ปรุงบญั ชี งบทดลอง
ปดบญั ชี กระดาษทาการ
ภาพที่ 4-1 วงจรบัญชี
รายการค้า (Business Transactions) หมายถึง รายการท่ีก่อให้เกิดการแลกเปล่ียน หรือโอนส่ิงที่มีมูลค่า
เปน็ เงนิ ตรา ระหว่างกิจการกบั บคุ คลภายนอก ซงึ่ มีผลกระทบต่อการดาเนินงาน หรือฐานะการเงินของกิจการ จะตอ้ ง
มีเอกสารยืนยันรายการท่ีเกิดข้ึน และสามารถพิสูจน์ความถูกต้องได้เสมอ เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ ใบกากบั
ภาษี ใบสาคญั จา่ ย เปน็ ต้น
2. ขั้นตอนการทาบัญชตี ามวงจรบญั ชขี องธรุ กจิ
ขน้ั ตอนการทาบัญชีของกจิ การทเ่ี กิดขึน้ ในรอบระยะเวลาบัญชี เริ่มตงั้ แต่การวเิ คราะหร์ ายการคา้ และ
นารายการค้าบนั ทึกสมดุ รายวันขน้ั ต้น การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท การจดั ทางบทดลอง การจดั ทา
กระดาษทาการ การปรบั ปรงุ บญั ชี การปดิ บัญชี และการจัดทางบการเงนิ ดงั นี้
1.1 การวเิ คราะห์รายการค้า
การวิเคราะห์รายการค้า (Transaction Analysis) เป็นข้ันตอนแรกของวงจรบัญชี เป็นการ
วิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นว่ามีผลกระทบตอ่ สินทรัพย์ หนี้สิน หรือส่วนของเจ้าของอย่างไร ซึ่งการวิเคราะห์
รายการค้ามหี ลักการวิเคราะห์ตามหลกั สมการบญั ชี ดงั น้ี
สินทรพั ย์ = หนี้สิน + สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ )
เมื่อวิเคราะห์รายการค้าแล้ว จะต้องทาให้สมการบัญชีเป็นจริงเสมอ คือ สินทรัพย์ที่เปลี่ยนแปลงจะ
เท่ากับหน้ีสินที่เปล่ียนแปลง บวกด้วยส่วนของเจ้าของที่เปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์รายการค้าทาให้ทราบว่า
ต้องเดบติ และเครดิตบญั ชอี ะไร
เดบิต (Debit) คือ ส่วนที่อยู่ด้านซ้าย หรือเรียกว่าด้านซ้าย ใช้สาหรับบันทึกสนิ ทรัพย์และค่าใชจ้ ่ายท่ี
เพิม่ ขึ้น ใชอ้ ักษรยอ่ “Dr.”
4-3
เครดิต (Credit) คือ ส่วนที่อยู่ด้านขวา หรือเรียกว่าด้านขวา ใช้สาหรับบันทึกบัญชีหนี้สิน ส่วนของ
เจ้าของ และรายได้ เพ่ิมขน้ึ ใชอ้ ักษรย่อ “Cr.”
1.2 การบันทกึ รายการในสมุดรายวนั ขั้นต้น
เม่ือวิเคราะห์รายการค้าแล้ว ขั้นต่อไปคือ บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันข้ันต้น ซ่ึงสามารถเลือกใช้
ตามความเหมาะสมของธุรกิจแต่ละประเภท
2.2.1 ประเภทของสมุดรายวนั ข้ันต้น สมุดรายวนั ขน้ั ต้นแบง่ เป็น 2 ประเภท คือ
1) สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันข้ันต้นประเภทหน่ึงท่ีใช้บันทึก
รายการค้าเฉพาะเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง รายการค้าที่มีลักษณะเหมือนกันจะนามาบันทึกไว้ในสมุดเล่มเดียวกัน การ
บนั ทึกรายการค้าในสมดุ รายวันเฉพาะจะทาให้ประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท เพราะจะ
ผา่ นยอดรวมไปลงบัญชแี ยกประเภทในวันส้นิ เดือน แทนที่จะผ่านไปยังบญั ชีแยกประเภททุกรายการและทุกวัน
เหมาะสาหรับกิจการทีม่ รี ายการค้าเกิดขึ้นมาก สมดุ รายวนั เฉพาะ มดี ังนี้
(1) สมดุ รายวันซอ้ื (Purchases Journal) ใช้บนั ทึกเฉพาะรายการซือ้ สนิ ค้าเป็นเงนิ เช่ือ
(2) สมดุ รายวนั ขาย (Sale Journal) ใช้บนั ทกึ เฉพาะรายการขายสินค้าเปน็ เงนิ เชื่อ
(3) สมดุ รายวนั รับเงิน (Cash Receipts Journal) ใชบ้ นั ทกึ เฉพาะรายการรบั เงิน
(4) สมุดรายวนั จ่ายเงิน (Cash Payment Journal) ใชบ้ ันทกึ เฉพาะรายการจา่ ยเงนิ
(5) สมดุ รายวนั รับคนื (Sales Returns Journal) ใชบ้ ันทึกเฉพาะรายการรบั คนื สนิ ค้า
(6) สมดุ รายวนั ส่งคืน (Purchases Returns Journal) ใช้บนั ทึกเฉพาะรายการส่งคืนสนิ คา้
2) สมุดรายวันทัว่ ไป (General Journal) ใช้บันทึกรายการทว่ั ไปที่ไม่สามารถบันทกึ ในสมดุ
รายวันเฉพาะได้ เช่น รายการเปิดบัญชี รายการปรบั ปรุงบัญชี และรายการปิดบัญชี กิจการทมี่ ีรายการค้า
จานวนไม่มาก สามารถใช้สมุดรายวนั ท่วั ไปเพยี งเล่มเดียวบันทึกรายการค้าทุกประเภทกไ็ ด้
2.2.2 วธิ ีการบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ข้นั ต้น
ปัจจุบันกิจการต่างๆ และสานักงานรับทาบัญชี นิยมใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการจัดทาบัญชี ทาให้
รูปแบบของสมุดรายวันขั้นต้นต่างๆ จะเป็นรูปแบบสมุดรายวันทั่วไป ตามที่โปรแกรมบัญชีกาหนดไว้ ซ่ึงใน
หนังสือเรียนน้ีจะแสดงวิธีการบันทึกบัญชีตามรูปแบบสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธีการบันทึกรายการค้าในสมุด
รายวันข้ันตน้ ของธรุ กิจซอื้ มาขายไป และธรุ กิจบรกิ าร มีแนวทางการบันทึกตามหลกั การบญั ชี ดงั นี้
1) หมวดบัญชีสินทรพั ย์
รายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทาให้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจะบันทึกไว้ทางด้านเดบิต ส่วนรายการค้า
ใดทวี่ เิ คราะหแ์ ล้วมผี ลทาให้สนิ ทรพั ย์ลดลงจะบันทึกไว้ทางด้านเครดิต
2) หมวดบญั ชีหนส้ี นิ
รายการค้าใดที่วิเคราะห์แลว้ มผี ลทาให้หนี้สินเพิ่มขึ้นจะบันทึกไว้ทางดา้ นเครดิต ส่วนรายการค้าใด
ทวี่ ิเคราะห์แล้วมผี ลทาให้หนี้สนิ ลดลงจะบันทกึ ไวท้ างด้านเดบิต
3) หมวดบัญชีส่วนของเจ้าของ (ทนุ )
4-4
รายการค้าใดที่วิเคราะห์แล้วมีผลทาให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้นจะบันทึกไว้ทางด้านเครดิต ส่วน
รายการค้าใดท่ีวิเคราะห์แล้วมผี ลทาให้สว่ นของเจา้ ของลดลงจะบนั ทกึ ไว้ทางด้านเดบติ
4) หมวดบัญชีรายได้
ถ้ากิจการมีรายได้เพ่ิมขึ้น จะมีผลทาให้ส่วนของเจ้าของเพ่ิมข้ึน ดังน้ันการวิเคราะห์จะมีแนวทาง
เดียวกันกับหมวดบัญชีทุน กล่าวคือ ถ้ารายได้เพ่ิมขึ้นจะบันทึกไว้ทางด้านเครดิต ถ้ารายได้ลดลงจะบันทึกไว้
ทางดา้ นเครดิต
5) หมวดบัญชคี ่าใชจ้ า่ ย
ถ้ากิจการมีค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึน จะมีผลทาให้ส่วนของเจ้าของลดลง ดังนั้นการวิเคราะห์จะมีแนวทาง
เดียวกันกับหมวดบัญชีทุน กล่าวคือ ถ้าค่าใช้จ่ายเพิ่มข้ึนจะบันทึกไว้ทางด้านเดบิต ถ้าค่าใช้จ่ายลดลงจะบันทกึ
ไว้ทางด้านเครดิต
สินทรพั ย์ หน้สี ิน สว่ นของเจ้าของ (ทนุ )
+- -+ -+
(เดบิต) (เครดติ ) (เดบติ ) (เครดติ )
(เดบิต) (เครดิต)
ค่าใชจ้ า่ ย รายได้
+- -+
(เดบิต) (เครดิต) (เดบิต) (เครดติ )
ตัวอยา่ งการบนั ทกึ รายการเก่ยี วกับการขายสนิ คา้ xx
1. เม่อื ขายสินค้า xx
เดบติ เงินสด/ธนาคาร/ลกู หนีก้ ารคา้ xx
เครดติ ขายสนิ คา้
เครดติ ภาษขี าย xx
2. เมอื่ รับชาระหนี้ xx
เดบติ เงินสด/ธนาคาร
เครดิต ลูกหนกี้ ารค้า xx
3. เมอื่ รับชาระหนีแ้ ละใหส้ ่วนลด xx
เดบติ เงินสด/ธนาคาร
เดบติ สว่ นลดจ่าย xx
เครดติ ลกู หนีก้ ารค้า
4. เมอื่ รับคนื สินคา้ และออกใบลดหนี้ xx
เดบติ สินค้ารับคนื และสว่ นลด xx
เดบติ ภาษขี าย
เครดิต เงินสด/ธนาคาร/ลูกหนก้ี ารค้า xx
4-5
5. เม่ือลดราคาสนิ ค้าให้ เน่อื งจากคดิ ราคาสนิ คา้ สูงไป และออกใบลดหน้ี
เดบิต ขายสนิ ค้า xx
เดบติ ภาษีขาย xx
เครดติ เงินสด/ธนาคาร/ลูกหนก้ี ารคา้ xx
6. เมอ่ื เพิ่มราคาสินคา้ เน่ืองจากคิดราคาสนิ คา้ ต่าไป และออกใบเพิ่มหนี้
เดบิต เงนิ สด/ธนาคาร/ลกู หนกี้ ารค้า xx
เครดิต ขายสินคา้ xx
เครดิต ภาษขี าย xx
7. เม่อื ขายสินคา้ โดยวธิ เี ช่าซอ้ื หรือวธิ ีผ่อนชาระ
7.1 วันทาสัญญาและได้รบั เงินดาวน์
เดบิต เงินสด/ธนาคาร xx
เดบิต ลูกหนีต้ ามสญั ญาเชา่ ซ้ือ xx
เครดติ ขายสนิ ค้า xx
เครดติ ภาษขี าย xx
เครดติ ดอกเบ้ียเช่าซื้อรอตดั บัญชี xx
เครดิต ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ xx
7.2 เม่ือรบั รูร้ ายได้แต่ละงวด
เดบิต ดอกเบี้ยเชา่ ซื้อรอตัดบัญชี xx
เครดิต ดอกเบ้ียเชา่ ซอ้ื xx
7.3 เม่ือได้รับชาระเงินในแต่ละงวด
เดบิต เงินสด/ธนาคาร xx
เดบติ ภาษีขายทีย่ ังไม่ถงึ กาหนดชาระ xx
เครดิต ลกู หนี้ตามสญั ญาเช่าซือ้ xx
เครดิต ภาษขี าย xx
ตัวอยา่ งการบันทกึ รายการเกี่ยวกับการใหบ้ รกิ าร
1. เมื่อใหบ้ ริการเปน็ เงินสด
เดบิต เงินสด/ธนาคาร xx
เดบิต ภาษเี งนิ ได้ถกู หกั ณ ท่ีจา่ ย xx
เครดิต รายได้จากการให้บริการ xx
เครดติ ภาษีขาย xx
2. เม่ือใหบ้ รกิ ารเปน็ เงินเชือ่
เดบิต ลูกหน้ีการคา้ xx
เครดติ รายได้จากการใหบ้ ริการ xx
4-6 xx
เครดติ ภาษีขายทยี่ ังไม่ถงึ กาหนดชาระ xx
3. เมื่อรับชาระหน้ี xx
เดบติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
เครดิต ลกู หน้กี ารค้า xx
เดบติ ภาษขี ายท่ยี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระ xx
เครดิต ภาษีขาย xx
4. เมือ่ รับชาระหนี้ และใหส้ ่วนลด xx
เดบติ เงินสด/ธนาคาร xx
เดบิต ส่วนลดจา่ ย
เครดติ ลกู หน้ีการค้า xx
เดบิต ภาษีขายทย่ี งั ไม่ถึงกาหนดชาระ
เครดิต ภาษขี าย
ตัวอยา่ งการบันทึกรายการเกี่ยวกับการซือ้ สนิ คา้ /สนิ ทรพั ย์/จา่ ยคา่ ใชจ้ ่าย
1. เมื่อซอื้ สินคา้ สินค้า/สนิ ทรพั ย/์ จ่ายค่าใช้จา่ ย
เดบติ ซอ้ื สนิ ค้า/สนิ ทรัพย์/ค่าใชจ้ ่าย (ระบ)ุ xx
เดบิต ภาษซี ื้อ xx
เครดิต เงินสด/ธนาคาร/เจา้ หน้ี xx
2. เมือ่ จา่ ยชาระหนี้
เดบิต เจ้าหนี้ xx
เครดิต เงนิ สด/ธนาคาร xx
3. เมือ่ จ่ายชาระหนแ้ี ละไดร้ ับส่วนลด
เดบติ เจ้าหนี้ xx
เครดิต เงินสด/ธนาคาร xx
เครดิต ส่วนลดรบั xx
4. เมอ่ื สง่ คนื สนิ ค้าและได้รบั ใบลดหน้ี
เดบติ เงนิ สด/ธนาคาร/เจา้ หนี้ xx
เครดิต สินค้าส่งคืนและส่วนลด xx
เครดติ ภาษซี ื้อ xx
5. เม่อื ผูข้ ายลดราคาสนิ คา้ ให้ และไดร้ บั ใบลดหน้ี
เดบิต เงนิ สด/ธนาคาร/เจา้ หนี้ xx
4-7
เครดติ ซ้อื สินคา้ xx xx
เครดติ ภาษีซอ้ื xx
6. เมอื่ ผู้ขายเพ่ิมราคาสินค้า และได้รับใบเพมิ่ หนี้ xx xx
เดบติ ซอ้ื สนิ ค้า
เดบิต ภาษีซ้อื xx xx
เครดิต เงินสด/ธนาคาร/เจ้าหนี้ xx
7. เมื่อซอ้ื สินค้า โดยวิธีเช่าซื้อหรอื วธิ ีผอ่ นชาระ xx xx
7.1 กรณซี ้ือรถยนต์บรรทกุ ใชง้ าน (ขอภาษซี ื้อคนื ได้) xx xx
7.1.1 วนั ทาสญั ญาและจ่ายเงนิ ดาวน์ xx xx
xx
เดบติ รถยนต์บรรทกุ (ใชร้ าคาเงินสด) xx
เดบิต ดอกเบี้ยเชา่ ซ้ือรอตัดบัญชี xx
เดบติ ภาษซี อื้ (คิดจากเงนิ ดาวน)์
เดบิต ภาษซี ้ือท่ยี ังไม่ถงึ กาหนดชาระ
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร
เครดติ เจ้าหนี้ตามสญั ญาเช่าซื้อ
7.1.2 เมอื่ จา่ ยชาระเงินในแต่ละงวด
เดบติ เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าซอ้ื
เดบิต ภาษซี ื้อ
เครดิต เงนิ สด/ธนาคาร
เครดิต ภาษีซ้ือทย่ี ังไมถ่ ึงกาหนดชาระ
เดบิต ดอกเบยี้ เช่าซ้ือ
เครดติ ดอกเบยี้ เชา่ ซ้อื รอตดั บัญชี
7.2 กรณซี ื้อรถยนต์นัง่ (ภาษซี ื้อเป็นภาษตี อ้ งห้าม) xx
7.2.1 วันทาสัญญาและจ่ายเงินดาวน์ xx
เดบิต รถยนต์ (ใชร้ าคาเงินสด)
เดบิต ดอกเบ้ียเช่าซ้ือรอตดั บัญชี xx
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
เครดิต เจ้าหน้ีตามสญั ญาเชา่ ซื้อ
7.2.2 เมอ่ื จ่ายชาระเงนิ ในแตล่ ะงวด xx
เดบติ เจา้ หนตี้ ามสญั ญาเชา่ ซอื้ xx
เครดติ เงินสด/ธนาคาร
เดบติ ดอกเบีย้ เชา่ ซ้ือ xx
4-8
เครดติ ดอกเบ้ยี เชา่ ซอื้ รอตดั บญั ชี xx
หมายเหตุ
- ถา้ ไมม่ ภี าษมี ูลค่าเพม่ิ หรือเป็นภาษีซื้อต้องห้ามไม่ตอ้ งบนั ทึกบญั ชภี าษมี ลู ค่าเพิม่
- ตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 82/5 (6) ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เก่ยี วกบั ภาษีมลู คา่ เพ่ิม ฉบบั ท่ี 42 ขอ้ 2 (1) กาหนดหา้ มมิให้ผู้ประกอบการจดทะเบยี นนาภาษีซื้อทเี่ กิดจาก
การซื้อ เช่าซ้ือ เช่า หรือรับโอนรถยนต์น่ัง และรถยนต์โดยสารท่ีมีท่ีน่ังไม่เกิน 10 คน และภาษีซื้อท่ีเกิดจาก
การซื้อสินค้าหรือการรับบริการท่ีเก่ียวข้องกับรถยนต์น่ังและรถยนต์โดยสารที่มีที่น่ังไม่เกิน 10 คน ตาม
กฎหมายว่าดว้ ยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามติ ไปถือเป็นภาษีซ้ือในการคานวณภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3
แห่งประมวลรัษฎากร เว้นแต่ผู้ประกอบการจดทะเบียนท่ีประกอบกิจการขายรถยนต์ หรือให้บริกา รเช่า
รถยนตด์ ังกล่าวของตนเองโดยตรง และการใหบ้ รกิ ารรับประกันวนิ าศภัยสาหรบั รถยนตด์ ังกลา่ ว
- รถยนตน์ ง่ั หมายถึง รถเก๋งหรือรถยนต์ท่ีออกแบบเพื่อใช้สาหรบั นั่งเป็นปกติวสิ ยั และให้
หมายความรวมถึงรถยนต์ในลักษณะทา นองเดียวกนั เชน่ รถยนตท์ มี่ ีหลงั คาตดิ ต่อเปน็ เนื้อเดียวกันใน
ลกั ษณะถาวร ดา้ นขา้ ง หรือด้านหลงั คนขบั มีประตูหรือหน้าตา่ งและมีท่นี ่ัง ท้ังนี้ ไม่วา่ จะมีทนี่ ่ังเท่าใด
- รถยนต์โดยสาร หมายถึง รถตหู้ รอื รถยนตท์ ่ีออกแบบเพ่ือใช้ขนส่งคนโดยสารจานวนมาก รวมทั้ง
รถยนต์ในลกั ษณะทา นองเดียวกัน
ตวั อย่างการบนั ทกึ รายการเกยี่ วกับการใช้บรกิ าร xx
1. เม่ือใชบ้ ริการเป็นเงนิ สด xx
เดบิต คา่ ใช้จ่าย (ระบุ)
เดบิต ภาษซี ้อื (ถา้ ม)ี xx
เครดิต เงินสด/ธนาคาร xx
เครดิต ภาษเี งินไดห้ ัก ณ ท่ีจ่าย (ถ้ามี)
2. เม่อื ใชบ้ ริการเปน็ เงนิ เชอื่ และไดร้ บั ใบแจ้งหนี้ xx
เดบิต ค่าใช้จา่ ย (ระบุ) xx
เดบติ ภาษีซ้ือท่ียังไม่ถึงกาหนดชาระ
เครดิต เจ้าหน้ี xx
3. เมือ่ จา่ ยชาระหนี้
เดบติ เจา้ หนี้ xx
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
เครดติ ภาษเี งนิ ได้หัก ณ ท่จี ่าย (ถ้าม)ี xx
เดบติ ภาษีซอื้
เครดติ ภาษีซือ้ ท่ียังไม่ถงึ กาหนดชาระ xx
4. เมอื่ จ่ายชาระหนแ้ี ละได้รับส่วนลด xx
เดบติ เจา้ หน้ี
xx
4-9
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
เครดติ ส่วนลดรับ xx
เครดติ ภาษีเงินไดห้ ัก ณ ทจ่ี ่าย (ถ้าม)ี xx
เดบิต ภาษีซื้อ xx
เครดิต ภาษซี ้อื ท่ียงั ไมถ่ ึงกาหนดชาระ xx
5. เมื่อใช้บริการสาธารณปู โภค กรณใี บแจ้งหน้ี/ใบกากบั ภาษี เป็นชือ่ ของกิจการ
5.1 เม่ือไดร้ ับใบแจ้งหนี้
เดบติ ค่าสาธารณปู โภค (ระบุ) xx
เดบิต ภาษซี ื้อทีย่ ังไม่ถึงกาหนดชาระ xx
เครดิต คา่ สาธารณปู โภคค้างจา่ ย (ระบ)ุ xx
5.2. เม่ือชาระเงนิ
เดบิต คา่ สาธารณูปโภคค้างจ่าย (ระบุ) xx
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
เครดติ ภาษเี งินได้หัก ณ ทจี่ ่าย (ถ้ามี) xx
เดบิต ภาษีซ้ือ xx
เครดิต ภาษซี ื้อที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ xx
หมายเหตุ
- กรณจี า่ ยค่าโทรศัพท์ ให้หักภาษีใน 2 อัตรา คือ อัตราภาษีหัก ณ ท่จี า่ ย 5% สาหรับค่าเช่าเลขหมาย
และอตั รา 3 % จากค่าบริการโทรออก
- สาหรบั ใบกากบั ภาษีสาธารณปู โภค (ค่านา้ ประปา ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์) ตอ้ งเป็นช่ือท่ีอย่ขู องกิจการ
ตรงตาม ภ.พ.20 (ใบทะเบียนภาษมี ูลค่าเพิ่ม) จึงจะมีสทิ ธ์ิขอภาษีมลู คา่ เพมิ่ คืนได้
6. เมอ่ื ใชบ้ ริการสาธารณูปโภค กรณใี บเสร็จรับเงนิ /ใบกากับภาษี ไม่ใชช่ ่ือของกจิ การ
6.1 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขทางภาษี สาหรบั รายจา่ ยค่าสาธารณูปโภค ซ่ึงใบเสรจ็ รบั เงนิ /ใบกากบั ภาษี
ไมใ่ ช่ชอ่ื ของกิจการ มีดังน้ี
6.1.1 คา่ ธารณูปโภค (คา่ ไฟฟ้า คา่ นา้ ประปาคา่ โทรศพั ท์ เป็นต้น ) โดยใบเสร็จรับเงิน ออกในนาม เจ้าของ
อาคารผู้ให้เช่า กิจการสามารถนามาถือเป็น รายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ เน่ืองจาก
เป็นรายจ่ายเพอ่ื การดาเนินงานของกจิ การ ไมต่ ้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (14) แหง่ ประมวลรษั ฎากร
6.1.2 สาหรับภาษีซ้อื ท่ีปรากฏในใบกากับภาษีท่ีออกในนามของเจ้าของอาคารผู้ใหเ้ ช่า กิจการไม่
สามารถนามาเป็นภาษีซื้อได้ เน่ืองจากเป็นภาษีซื้อที่กิจการไม่มีใบกากับภาษีที่ระบุช่ือของกิจการมาแสดง ซ่ึง
ต้องห้าม ตามมาตรา 82/5(1)แหง่ ประมวลรัษฎากร
6.1.3 ภาษีซื้อ ท่ีปรากฏในใบกากับภาษีที่ออกในนามของเจ้าของอาคารผู้ให้เช่า หากกิจการผู้เชา่
ติดต่อกับ หน่วยงานการไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ เพื่อขอเพิ่มช่ือของกิจการ ลงในใบกากับภาษี โดยเพ่ิมเติม
ข้อความว่า “จ่ายชาระค่าบริการโดยบริษัท เอ จากัด” กิจการมีสิทธินาภาษีซื้อตามใบกากับภาษีดังกล่าว ไป
ถอื เปน็ ภาษีซอื้ ในการคานวณ ภาษีมูลค่าเพมิ่ ตามมาตรา 82/3 แห่งประมวลรษั ฎากรได้
4-10
6.1.4 รายจา่ ยทีเ่ กี่ยวข้อง กรณีเชา่ สถานประกอบการ ซึง่ เป็นท่อี ย่อู าศัยของกรรมการด้วย หรอื กรณใี ช้
ทรัพยส์ ินรว่ มกนั กบั กจิ การหรือบุคคลอน่ื ให้เฉลีย่ เป็นคา่ ใชจ้ ่ายของกจิ การได้ตามเกณฑ์ท่ี เหมาะสม
6.2 การบนั ทกึ บญั ชี กรณีกจิ การอยู่ในระบบภาษีมลู ค่าเพม่ิ (ยกตวั อย่างค่าไฟฟ้า)
6.2.1 กรณี ใบเสรจ็ รบั เงนิ /ใบกากบั ภาษี ไม่ใช่ ช่อื ของกิจการ และ ไม่ได้แจ้ง ขอเพ่ิมชื่อใน
ใบเสร็จรับเงิน /ใบกากบั ภาษี
เดบิต ค่าไฟฟ้า xx
เดบิต ภาษซี อ้ื ขอคนื ไม่ได้-ค่าไฟฟ้า xx (ภาษซี อ้ื ต้องห้าม/รายจา่ ยต้องหา้ ม)
เครดิต เงนิ สด/ธนาคาร xx
6.2.2 กรณกี จิ การได้แจ้งขอเพมิ่ ชือ่ ของกิจการ ลงในใบเสร็จรบั เงิน/ใบกากับภาษี ของคา่
สาธารณูปโภคดังกลา่ ว “ จ่ายชาระคา่ บริการโดย บรษิ ัท เอ จากดั ”
เดบิต ค่าไฟฟ้า xx (ถอื เปน็ ค่าใช้จ่ายใน ภ.ง.ด.นติ บิ คุคลได้ )
เดบิต ภาษซี ้ือ xx (ถอื เปน็ ภาษซี ้ือ นาไปหักจากภาษีขายได้ )
เครดิต เงินสด/ธนาคาร xx
6.2.3 กรณี ขอคนื ภาษซี ื้อได้ แต่ไมป่ ระสงค์ขอคนื ภาษี
เดบิต ค่าไฟฟ้า xx
เดบิต ภาษซี ้อื ไมข่ อคนื -คา่ ไฟฟ้า xx (ภาษซี ้อื ตอ้ งห้าม/รายจ่ายต้องห้าม)
เครดิต เงินสด/ธนาคาร xx
6.2.4 กรณี ไดร้ บั ใบแจ้งหน้ี แต่ยงั ไม่ไดจ้ ่ายชาระเงนิ
เดบิต ค่าไฟฟ้า xx
เดบิต ภาษีซ้ือยังไม่ถึงกาหนดชาระ xx (บญั ชีพกั ภาษีซ้ือ)
เครดติ ค่าไฟฟ้าคา้ งจ่าย xx
6.2.5 กรณจี ่ายชาระเงนิ ตามใบแจง้ หน้ี
เดบิต คา่ ไฟฟ้าคา้ งจ่าย xx
เดบิต ภาษซี อ้ื xx
เครดิต ภาษซี ื้อยงั ไม่ถึงกาหนดชาระ xx (บญั ชพี ักภาษีซื้อ)
เครดติ เงินสด/ธนาคาร xx
6.3 การบันทึกบญั ชี กรณีกจิ การไม่อยใู่ นระบบภาษีมลู ค่าเพ่มิ (ยกตัวอยา่ งค่าไฟฟา้ )
6.3.1 กรณีไดใ้ บเสรจ็ รบั เงิน /ใบกากับภาษี
เดบิต คา่ ไฟฟ้า (คา่ ไฟฟ้า+ภาษซี ้ือ) xx (ถอื เปน็ ค่าใช้จา่ ยใน ภ.ง.ด.นติ บิ ุคคล)
เครดิต เงนิ สด/ธนาคาร xx
6.3.2 กรณี ไดร้ ับใบแจ้งหน้ี แตย่ ังไม่ได้จา่ ยชาระเงิน
เดบิต คา่ ไฟฟ้า (คา่ ไฟฟ้า+ภาษซี อื้ ) xx (ถอื เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยใน ภ.ง.ด.นิติบุคคล)
เครดิต ค่าไฟฟ้าคา้ งจ่าย xx
6.2.5 กรณีจ่ายชาระเงนิ ตามใบแจ้งหนี้
เดบติ คา่ ไฟฟา้ คา้ งจ่าย xx
4-11
เครดติ เงนิ สด/ธนาคาร xx
1.3 การผา่ นรายการไปบัญชแี ยกประเภท
บัญชแี ยกประเภท (Ledger Accounts) หมายถึง บญั ชที ี่รวบรวมการบันทกึ รายการค้าท่ีเกิดข้ึนไว้
เป็นหมวดหมู่ เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อย และสะดวก ในการค้นหาหรือแก้ไขข้อผิดพลาด หลังจากการ
บันทกึ รายการค้าในสมุดรายวันข้ันต้นเรยี บร้อยแลว้ ข้นั ตอ่ ไปกจ็ ะนารายการท่ีบนั ทกึ ไว้ไปลงบัญชีในบัญชีแยก
ประเภท ซึง่ เรียกว่า การผา่ นรายการ (Posting)
ในทางปฏิบัติจริงกรณีใช้โปรแกรมบัญชีสาเร็จรูป เม่ือกรอกข้อมูลรายการค้าที่เกิดขึ้นโปรแกรมจะ
ส่งผา่ นขอ้ มลู ไปยังสมุดรายวันข้ันตน้ แต่ละเลม่ และเชื่อมโยงไปลงบญั ชีแยกประเภทโดยอัตโนมตั ิ อยา่ งไรก็ตาม
ผู้ทาบัญชีผู้ทาบัญชีต้องมีพื้นฐานและมีความรู้ตามหลักการบัญชี เพื่อจะได้ทราบผลประมวลทางบัญชีของ
โปรแกรมว่าถูกต้องตามหลักการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป และเมื่อมีข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูล สามารถนา
ทฤษฎีหลกั การบญั ชีมาวเิ คราะห์และแกป้ ัญหาได้ถูกต้อง
บญั ชีแยกประเภท แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ชนิด ดงั น้ี
2.3.1 บัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นท่ีรวบรวมหรือคุมยอดของบัญชีแยกประเภททุก
บัญชี ซึ่งใช้บันทึกการเปล่ียนแปลงสินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของเจ้าของ (ทุน) ต่อจากการบันทึกลงในสมุด
รายวันท่ัวไป ได้แก่ บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีลูกหน้ี บัญชี
สินค้า บัญชีวัสดุสานักงาน บัญชีอาคาร เป็นต้น บัญชีแยกประเภทหนี้สิน เช่น บัญชีเจ้าหนี้การค้า บัญชีเงินกู้
บัญชีเจ้าหน้ีอ่ืน ๆ เป็นต้น บัญชีแยกประเภทส่วนของเจ้าของ เช่น บัญชีทุน บัญชีรายได้ (Income) บัญชี
ค่าใชจ้ ่าย (expense) และบัญชีถอนใชส้ ่วนตัว
2.3.2 บัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นท่ีรวบรวมของบัญชีแยกประเภทยอ่ ยของบัญชี
คุมยอด (Controlling Accounts) ในบัญชีแยกประเภทท่ัวไป เช่น บัญชีแยกประเภทลูกหน้ีรายตัว บัญชีเจ้าหน้ีราย
ตัว ซ่งึ ยอดรวมของบญั ชีแยกประเภทรายตวั ทั้งหมดจะเทา่ กับยอดรวมในบญั ชแี ยกประเภททว่ั ไป
บัญชีแยกประเภทท่วั ไป มี 5 หมวดบญั ชี แต่ละหมวดบญั ชมี ธี รรมชาตทิ างบญั ชี สามารถสรปุ ได้ดังนี้
หมวด 1 สนิ ทรัพย์ เพิ่ม อยู่ด้าน เดบติ ลด อยู่ด้าน เครดติ
ยอดยกมา อยดู่ ้าน เดบติ ยอดยกไป อย่ดู า้ น เครดติ
หมวด 2 หน้สี นิ เพม่ิ อยดู่ า้ น เครดิต ลด อยู่ดา้ น เดบิต
ยอดยกมา อยดู่ า้ น เครดติ ยอดยกไป อยู่ด้าน เดบิต
หมวด 3 ส่วนของเจ้าของ (ทุน) เพิ่ม อยู่ด้าน เครดิต ลด อยูด่ ้าน เดบติ
ยอดยกมา อย่ดู า้ น เครดติ ยอดยกไป อยดู่ า้ น เดบิต
หมวด 4 รายได้ อยู่ด้าน เครดิต ไมม่ ยี อดยกไป/ยอดยกมา จะปิดเขา้ บัญชีกาไรขาดทนุ
หมวด 5 คา่ ใช้จา่ ย อย่ดู า้ น เดบิต ไมม่ ยี อดยกไป/ยอดยกมา จะปิดเข้าบญั ชีกาไรขาดทนุ
4-12
(เพ่มิ ) สนิ ทรพั ย์ xx (ลด) หน้ีสนิ xx
ยอดยกมา xx (ลด) xx ยอดยกไป xx (เพ่ิม) xx
xx xx xx xx
xx ยอดยกไป xx xx xx
xx xx xx
xx
ยอดยกมา
ค่าใช้จา่ ย สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) xx
xx (ลด) xx (เพ่ิม) xx
xx xx
xx ปดิ เขา้ บญั ชีกาไรขาดทุน xx xx xx
xx xx ยอดยกไป xx xx
xx xx
ยอดยกมา xx
xx
รายได้
ปิดเขา้ บญั ชีกาไรขาดทนุ xx
xx
1.4 การทางบทดลอง
งบทดลอง (Trial Balance) หมายถึง รายงานท่ีแสดงยอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททั่วไปของ
กิจการ ณ วันใดวันหน่ึง ทาขึ้นเพ่ือพิสูจน์ความถูกต้องของการบันทึกบัญชีตั้งแต่การบันทึกรายการค้าในสมุด
รายวันข้ันต้น การผ่านรายการจากสมุดรายวันขั้นต้นไปบัญชีแยกประเภท และการหายอดคงเหลือในบัญชี
แยกประเภททุกบัญชี
การหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท ทาได้โดยรวมยอดทางด้านเดบิต และเครดิต จากนั้นหา
ผลต่างระหว่างด้านเดบิต กับเครดิต หากยอดคงเหลือของบัญชีใดเกิดจากด้านเดบิตมากกว่าด้านเครดิต
เรียกว่า ยอดคงเหลือด้านเดบิต ในทางตรงกันข้าม หากยอดคงเหลือเกิดจากด้านเครดิตมากกว่าด้านเดบิต
เรยี กวา่ ยอดคงเหลือดา้ นเครดติ ซ่ึงโดยปกตบิ ัญชีประเภทสินทรัพย์ และคา่ ใช้จา่ ย จะมียอดคงเหลอื ดา้ นเดบิต
สว่ นบัญชีประเภทหน้ีสนิ ส่วนของเจา้ ของ (ทนุ ) และรายได้ จะมยี อดคงเหลอื ด้านเครดติ
การจดั ทางบทดลองควรเรียงรายการตามหมวดบัญชี 5 หมวด โดยเริ่มจากบัญชีทรัพย์สนิ หนส้ี นิ สว่ น
ของเจ้าของ (ทุน) รายได้ และค่าใช้จ่าย เม่ือนาผลต่างในบัญชีแยกประเภททุกบัญชีท่ีมียอดคงเหลือด้านเดบติ
และยอดคงเหลือดา้ นเครดติ มาจัดทางบทดลอง ผลรวมด้านเดบติ จะต้องเท่ากับผลรวมด้านเครดิตในงบทดลอง
การทีย่ อดเทา่ กันทงั้ สองดา้ น เรียกวา่ งบทดลองลงตวั แสดงวา่ การบันทกึ บัญชเี ปน็ ไปตามหลักบัญชีคู่
ขอ้ ผิดพลาดทีท่ าให้งบทดลองไมล่ งตวั มีดงั นี้
1) บวกยอดรวมดา้ นเดบิต และเครดติ ผิด ใหล้ องบวกใหม่
4-13
2) นายอดคงเหลือจากบญั ชีแยกประเภท มาลงในงบทดลองผิด
3) ลืมยกยอดคงเหลือในบางบญั ชีมาลงในงบทดลอง
4) คานวณยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทผดิ ให้ลองคานวณใหม่
5) ผ่านรายการจากสมุดรายวนั ขน้ั ต้นมายังบัญชแี ยกประเภทไม่ครบถ้วน หรอื จานวนเงินไมถ่ ูกต้อง
หลงั จากหายอดคงเหลอื ของบญั ชแี ยกประเภทแล้ว กจิ การจะจัดทางบทดลอง ขึน้ เพอื่ ตรวจสอบการบันทึกบัญชี
ต่างๆ ว่าถูกต้องตามหลักบัญชีคู่ และเมื่อวันสิ้นงวดบัญชีหากกิจการมีรายการการปรับปรุงบัญชีก็จะทางบทดลองหลัง
รายการปรับปรุง และจดั ทาอีกครัง้ หน่งึ หลังจากปดิ บญั ชี
งบทดลองหลงั รายการปรบั ปรงุ (Post-Adjusting Trial Balance) หมายถึง งบทดลองทจ่ี ัดทาขึ้นอีกครั้งหน่ึง
หลังจากทก่ี จิ การบันทึกรายการปรับปรงุ แล้ว ทาใหย้ อดคงเหลอื ในบัญชตี า่ งๆ เป็นยอดคงเหลือทถ่ี กู ต้องตรงกับความเป็น
จริง พร้อมท่ีจะนาไปจัดทางบการเงิน บัญชีท่ีแสดงในงบทดลอง จะประกอบด้วยบัญชี 5 หมวด ได้แก่ บัญชี
สนิ ทรพั ย์ หนี้สิน สว่ นของเจา้ ของ (ทุน) รายได้ และค่าใช้จ่าย
งบทดลองหลังปิดบัญชี (After-closing Trial Balance) หมายถึง งบทดลองท่ีจัดทาข้ึนหลังจาก
ปิดบัญชีเมื่อส้ินงวดหรอื สิ้นรอบระยะเวลาบัญชแี ลว้ บัญชีท่ีแสดงในงบทดลอง จะประกอบด้วยบัญชีแท้ (Real
Account) ได้แก่ บัญชีสินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจ้าของ (ทุน) เท่าน้ัน โดยยอดเดบิตต้องเท่ากับยอด
เครดิตเสมอ ยอดคงเหลือของบัญชีท่ีปรากฏในงบทดลองหลังปิดบัญชี ก็คือยอดคงเหลือที่จะยกไปเร่ิมต้นใน
งวดบญั ชีใหมต่ ่อไป
1.5 การทากระดาษทาการ
กระดาษทาการ (Work Sheet) หมายถึง แบบฟอร์มท่ีใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดเตรียมงบ
การเงินให้สะดวก รวดเร็วข้ึน และไม่ผิดพลาด กิจการจะจัดทากระดาษทาการหรือไม่จัดทาก็ได้ แต่ถ้าจะทา ก็
จะทาขนึ้ หลงั จากจบการจัดทางบทดลอง
กระดาษทาการ เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยแบ่งแยกบัญชีต่างๆ ในงบทดลองไปจัดทางบกาไรขาดทุน และงบ
แสดงฐานะการเงิน โดยจะนาบัญชีหมวดรายได้ และค่าใช้จ่ายไปจัดทางบกาไรขาดทุน และนาบัญชีหมวด
สนิ ทรพั ย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของไปจดั ทางบแสดงฐานะการเงิน
กระดาษทาการมีหลายชนิด เช่น กระดาษทาการ 6 ช่อง กระดาษทาการ 8 ช่อง กระดาษทาการ 10
ช่อง และกระดาษทาการ 12 ช่อง จะเลือกใช้แบบใดข้ึนอยู่กับความต้องการและความจาเป็นท่ีต้องใช้ ตาม
จานวนและลักษณะความยุ่งยากของรายการบัญชีท่ีกิดข้ึนในแต่ละกิจการ สาหรับรูปแบบท่ีนิยมใช้กัน ได้แก่
กระดาษคาตอบ 8 ช่อง และกระดาษทาการแบบ 10 ช่อง เนื่องจากสามารถช่วยการจัดทางบการเงิน กรณีท่ี
กิจการมรี ายการปรับปรุงบัญชี ณ วันสิ้นงวดด้วย
กระดาษทาการ 6 ช่อง ประกอบดว้ ย ช่องเดบติ และช่องเครดติ ของงบทดลอง งบกาไรขาดทนุ และงบ
แสดงฐานะการเงนิ
กระดาษทาการ 8 ช่อง ประกอบด้วย ช่องเดบิต และช่องเครดิตของงบทดลองก่อนรายการปรับปรุง
รายการปรับปรงุ งบกาไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน
4-14
กระดาษทาการ 10 ช่อง ประกอบด้วย ช่องเดบิต และช่องเครดิตของงบทดลองก่อนรายการปรับปรงุ
รายการปรับปรุง งบทดลองหลังรายการปรบั ปรงุ งบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ
สาหรบั กระดาษทาการแบบ 12 ช่อง จะเพิ่มชอ่ งเดบติ และช่องเครดิตของงบกาไรสะสม
1.6 การปรับปรงุ บัญชี
การปรับปรุงบัญชี (Adjusting Entry) หมายถึง การปรับปรุงจานวนเงินท่ีบันทึกไว้ในบัญชีให้
ถูกต้องก่อนการจัดทางบการเงิน ซ่ึงการจัดทางบการเงินในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีหน่ึงๆ จัดทาขึ้นตามข้อ
สมมติทางการบัญชีในแม่บทการบัญชีที่กาหนดไว้ ตามหลักการบัญชีรับรองทั่วไป กิจการต้องบันทึกบัญชีตาม
เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) ซึ่งเป็นการบันทึกบัญชีโดยคานึงถึงรายได้และค่าใชจ้ ่ายที่เกิดขึ้นจริงในงวดนัน้ ๆ
ไม่คานึงถึงว่าจะได้รับหรอื จา่ ยเป็นเงินสดแล้วหรอื ไม่
การปรับปรุงบัญชีจะต้องบันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันท่ัวไป และผ่านไปบัญชีแยกประเภท
ทั่วไปที่เก่ียวข้อง โดยต้องทาในวันส้ินงวดบัญชี ก่อนการปิดบัญชี และจัดทางบการเงิน ซึ่งรายการปรับปรุง
บญั ชที ่จี าเป็นต้องทาการบนั ทกึ บัญชี ได้แก่
2.6.1 รายได้ค้างรับ (Accrued Income) หมายถึง รายได้ที่เกิดข้ึนแล้วในงวดบัญชีปัจจุบัน แต่
กิจการยังไม่ได้รับชาระเงินสด เพราะยังไม่ถึงวันครบกาหนดรับเงินจนกว่าจะถึงงวดบัญชีหน้า จึงต้องปรับปรุง
รายได้คา้ งรบั นใี้ หเ้ ป็นรายได้ในงวดบัญชีปจั จบุ นั เช่น รายไดค้ า่ เช่าค้างรบั รายได้ดอกเบย้ี ค้างรบั เป็นตน้ รายได้
ค้างรับถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน ซ่ึงจะต้องแสดงยอดไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวดบัญชี มีวิธีการ
ปรบั ปรุงบัญชใี นสมุดรายวนั ดังน้ี
เดบิต รายได้ค้างรับ xx
เครดิต รายได้ (ระบชุ อ่ื ) xx
ตัวอย่าง กิจการให้ลูกค้าเช่าอาคารเป็นระยะเวลา 1 ปี เร่ิมตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือน
ธันวาคม 25x1 โดยคิดค่าเช่าเดือนละ 5,000 บาท ปรากฏว่าลูกค้าไม่ได้จ่ายชาระค่าเช่าเดือนธันวาคม 25x1
แตก่ ิจการทาการปิดบญั ชี ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25x1 จะตอ้ งปรับปรุงบัญชอี ย่างไร
เดบติ รายได้ค่าเช่าค้างรบั 5,000
เครดติ รายไดค้ า่ เชา่ 5,000
2.6.2 รายได้รบั ล่วงหนา้ (Deferred Income) หมายถึง รายได้ที่กิจการไดร้ ับมาล่วงหนา้ จากลูกคา้ แลว้
แต่กิจการยงั ไม่ได้ใหบ้ ริการตอบแทนแก่ลกู ค้า เมื่อรับเงินมาแล้วจะยังไม่ถือวา่ เป็นรายได้ของกิจการ แต่ถือว่ากจิ การ
มีหนี้สินซึ่งต้องชาระคืนเมื่อถึงกาหนดเวลาท่ีได้ทาสัญญากันไว้ เช่น รายได้ค่าบริการรับล่วงหน้า รายได้ค่าเช่ารับ
ลว่ งหนา้ เป็นตน้ รายได้รบั ล่วงหน้าถือเปน็ หน้ีสนิ หมนุ เวียน ซ่ึงจะตอ้ งแสดงยอดไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั สิ้น
งวดบญั ชี มวี ธิ ีการปรับปรงุ บัญชใี นสมุดรายวัน 2 วธิ ี ดงั น้ี
1) บันทึกไว้เป็นรายได้ ณ วันที่กิจการได้รับเงินสด เมื่อวันส้ินงวดบัญชีกิจการต้องทาการปรับปรุง
บัญชเี ฉพาะส่วนทยี่ งั ไม่ไดใ้ ห้บรกิ ารตอบแทน เป็นรายไดร้ ับล่วงหนา้ โดยบนั ทกึ บัญชี ดงั นี้
4-15
(1) วนั ทกี่ ิจการได้รบั เงนิ สด (บันทกึ เป็นรายไดท้ ้ังจานวน)
เดบติ เงนิ สด xx
เครดติ รายได้ (ระบุชอ่ื ) xx
(2) วนั สนิ้ งวดบญั ชี (ปรับปรงุ รายไดร้ ับลว่ งหน้า)
เดบิต รายได้ (ระบุช่อื ) xx
เครดติ รายได้รบั ลว่ งหน้า xx
ตวั อย่าง วนั ท่ี 1 สงิ หาคม 25x1 กจิ การไดร้ ับเงินสดจานวน 60,000 บาท จากการให้ลูกค้าเช่า
อาคารเป็นระยะเวลา 1 ปี เร่ิมตัง้ แตเ่ ดือนสงิ หาคม 25x1 ถงึ เดอื นกรกฎาคม 25x2 วนั ที่กจิ การได้รับเงนิ สด บันทึก
เป็นรายได้ทง้ั จานวน เม่อื ทาการปิดบญั ชี ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 จะบนั ทึกบัญชอี ยา่ งไร
(1) วนั ทกี่ จิ การไดร้ ับเงนิ สด (บันทึกเปน็ รายไดท้ ง้ั จานวน)
เดบิต เงนิ สด 60,000
เครดิต รายได้ค่าเช่า 60,000
(2) วนั สิ้นงวดบัญชี (ปรับปรงุ รายไดร้ บั ล่วงหนา้ เดือนมกราคม – กรกฎาคม 25x2)
เดบติ รายไดค้ ่าเชา่ 35,000
เครดิต รายได้คา่ เชา่ รบั ลว่ งหน้า 35,000
2) บันทึกไว้เป็นรายได้รับล่วงหน้า ณ วันที่กิจการได้รับเงินสด เมื่อวันส้ินงวดบัญชีกิจการต้องทา
การปรบั ปรุงบัญชีเฉพาะสว่ นทีใ่ หบ้ รกิ ารไปแล้ว เป็นรายได้ (ระบชุ อื่ ) โดยบนั ทึกบญั ชี ดงั น้ี
(1) วันท่ีกิจการได้รบั เงนิ สด (บันทกึ เป็นรายได้รบั ลว่ งหนา้ ทง้ั จานวน)
เดบิต เงินสด xx
เครดติ รายได้รบั ลว่ งหนา้ xx
(2) วนั สน้ิ งวดบัญชี (ปรับปรงุ บัญชีรายได)้
เดบติ รายได้รับลว่ งหนา้ xx
เครดติ รายได้ (ระบุชื่อ) xx
ตัวอย่าง วันท่ี 1 สิงหาคม 25x1 กิจการได้รับเงินสดจานวน 60,000 บาท จากการให้ลูกค้าเช่า
อาคารเป็นระยะเวลา 1 ปี เร่ิมต้ังแต่เดือนสิงหาคม 25x1 ถึงเดือนกรกฎาคม 25x2 วันท่ีกิจการได้รับเงินสด บันทึก
เปน็ รายไดร้ ับลว่ งหนา้ ทั้งจานวน เมื่อทาการปิดบัญชี ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25x1 จะบันทึกบัญชอี ยา่ งไร
(1) วันท่ีกจิ การได้รบั เงนิ สด (บนั ทึกเป็นรายไดร้ บั ล่วงหนา้ ทง้ั จานวน)
เดบิต เงนิ สด 60,000
เครดิต รายได้ค่าเชา่ รับลว่ งหนา้ 60,000
(2) วนั สิ้นงวดบญั ชี (ปรบั ปรุงรายได้คา่ เช่า เดอื นสงิ หาคม – ธันวาคม 25x1)
เดบติ รายไดร้ บั ล่วงหนา้ 25,000
เครดิต รายได้คา่ เชา่ 25,000
4-16
2.6.3 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นแล้วในระหว่างงวด
บัญชีปัจจุบันแต่กิจการยงั ไม่ได้ทาการจ่ายเงิน ซ่ึงอาจจะจ่ายในงวดบัญชีหน้า และกิจการยังไม่ได้ทาการบันทกึ
รายการลงสมุดบัญชี จึงทาให้มีหน้ีสินเกิดข้ึน เช่น ค่าเช่าค้างจ่าย ค่าแรงงานค้างจ่าย ดอกเบ้ียค้างจ่าย เป็นต้น
ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายถือเป็นหนี้สินหมุนเวียนท่ีต้องแสดงไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันส้ินงวดบัญชี มีวิธีการ
ปรับปรุงบัญชีในสมดุ รายวนั ดงั น้ี
เดบิต ค่าใชจ้ ่าย (ระบุช่อื ) xx
เครดิต ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย xx
ตัวอย่าง กิจการยังไม่ได้จ่ายเงินเดือนประจาธันวาคม 25x1 ให้พนักงาน เป็นเงิน 50,000
บาท แต่กิจการทาการปดิ บญั ชี ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 จะบันทึกรายการปรับปรุงบญั ชอี ย่างไร
เดบิต เงินเดือนพนกั งาน 50,000
เครดติ เงินเดือนพนักงานค้างจ่าย 50,000
2.6.4 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (Prepaid Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีกิจการได้จ่ายไปเป็น
ค่าบริการแล้วในงวดบัญชปี ัจจุบัน แต่ยังได้รับประโยชน์ไม่หมด มีบางส่วนที่เป็นของงวดบญั ชถี ัดไปรวมอยู่ด้วย
เช่น ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า จึงต้องปรับปรุงค่าใช้จ่ายท่ียังไม่ถึงกาหนดเวลาการได้รับ
ผลประโยชน์ตอบแทน เป็นคา่ ใช้จ่ายจา่ ยล่วงหน้า ถอื เปน็ สินทรัพยห์ มนุ เวยี น ซึ่งจะตอ้ งแสดงยอดไวใ้ นงบแสดง
ฐานะการเงิน ณ วนั ส้ินงวดบญั ชี มีวิธีการปรับปรงุ บัญชใี นสมดุ รายวัน 2 วธิ ี ดงั น้ี
1) บันทึกไว้เป็นค่าใช้จ่าย ณ วันท่ีกิจการจ่ายเงินสด โดยบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายท้ังจานวน เม่ือ
วันส้ินงวดบัญชีกิจการต้องทาการปรบั ปรุงบัญชีเฉพาะส่วนที่ยังไม่ถึงกาหนดเวลาที่จะได้รับประโยชน์ตอบแทน
เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายลว่ งหนา้ โดยบันทกึ บัญชี ดงั นี้
(1) วนั ทีก่ ิจการจา่ ยเงนิ สด (บันทึกเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายทั้งจานวน)
เดบติ ค่าใชจ้ า่ ย (ระบชุ อื่ ) xx
เครดติ เงินสด xx
(2) วนั ส้นิ งวดบญั ชี (ปรับปรุงคา่ ใชจ้ ่ายจ่ายลว่ งหน้า)
เดบิต คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า xx
เครดติ ค่าใช้จ่าย (ระบุช่อื ) xx
ตัวอย่าง วันที่ 5 เมษายน 25x1 กิจการจ่ายเงินค่าทาประกันภัยเป็นระยะเวลา 1 ปี เริ่ม
ต้ังแต่เดือนเมษายน 25x1 เป็นเงิน 36,000 บาท วันท่ีกิจการจ่ายเงินสด บันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายทั้งจานวน
กจิ การทาการปิดบัญชี ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 จะบันทึกบัญชีอย่างไร
(1) วันทกี่ จิ การจ่ายเงินสด (บันทกึ เป็นคา่ ใช้จ่ายทัง้ จานวน)
เดบติ ค่าประกันภยั 36,000
เครดติ เงินสด 36,000
4-17
(2) วนั ส้ินงวดบญั ชี (ปรับปรงุ ค่าใช้จา่ ยจา่ ยลว่ งหน้า เดือนมกราคม – มีนาคม 25x2)
เดบิต คา่ ประกันภัยจา่ ยล่วงหนา้ 9,000
เครดติ คา่ ประกนั ภัย 9,000
2) บันทึกไว้เป็นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ณ วันท่ีกิจการจ่ายเงินสด เม่ือวันส้ินงวดบัญชีกิจการต้องทา
การปรับปรุงบญั ชีเฉพาะสว่ นที่ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนไปแล้ว เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย โดยบนั ทกึ บญั ชี ดงั น้ี
(1) วนั ท่ีกิจการจ่ายค่าใชจ้ า่ ยเปน็ เงนิ สด (บันทึกเปน็ ค่าใช้จา่ ยจา่ ยลว่ งหนา้ ทงั้ จานวน)
เดบิต ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหนา้ xx
เครดติ เงนิ สด xx
(2) วันสิน้ งวดบัญชี (ปรับปรุงคา่ ใช้จา่ ย)
เดบิต ค่าใช้จ่าย (ระบชุ ่อื ) xx
เครดติ ค่าใช้จา่ ยจา่ ยล่วงหน้า xx
ตัวอย่าง วันที่ 5 เมษายน 25x1 กิจการจ่ายเงินค่าทาประกันภัยเป็นระยะเวลา 1 ปี เริ่ม
ตงั้ แตเ่ ดอื นเมษายน 25x1 เป็นเงิน 36,000 บาท วันที่กจิ การจ่ายเงนิ สด บันทึกบญั ชเี ปน็ คา่ ใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า
ท้งั จานวน กิจการทาการปิดบญั ชี ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 จะบนั ทกึ บญั ชอี ยา่ งไร
(1) วนั ที่กิจการจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยเป็นเงินสด (บนั ทกึ เป็นคา่ ใช้จา่ ยจ่ายลว่ งหน้าทงั้ จานวน)
เดบติ ค่าประกนั ภยั จา่ ยล่วงหน้า 36,000
เครดติ เงินสด 36,000
(2) วันส้ินงวดบญั ชี (ปรบั ปรุงคา่ ใช้จา่ ย เดือนเมษายน – ธันวาคม 25x1)
เดบิต ค่าประกันภัย 27,000
เครดิต ค่าประกนั ภัยจ่ายลว่ งหนา้ 27,000
2.6.5 ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) หมายถึง การปันส่วนจานวนท่ีคิดค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์
อย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์น้ัน เป็นค่าใช้จ่ายที่ตัดออกจากมูลค่าสินทรัพย์ถาวรที่
กิจการใช้ประโยชน์ เน่ืองจากสินทรัพย์ถาวร เช่น รถยนต์ อุปกรณ์ เครื่องจักร เป็นสินทรัพย์ท่ีมีไว้ใช้งานเป็น
ระยะเวลานานและมักมีมูลค่าสูง จงึ มีการประมาณการประโยชน์จากสินทรัพย์ถาวรเหล่าน้ีโดยเฉลย่ี เพ่ือตัดเป็น
คา่ ใชจ้ ่ายแต่ละงวด เพราะสินทรัพย์ก็จะมีการเสื่อมค่าลงตามการใชง้ าน ราคาทุนของสินทรัพย์ถาวรก็จะถูกลด
ค่าลงด้วยจานวนค่าเส่ือมราคา นับต้ังแต่วันท่ีเริ่มใช้จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงวิธีการคิดค่าเส่ือมราคาของสินทรัพย์ มี
หลายวธิ ี เช่น
วิธีเส้นตรง (Straight Line Method) วิธีน้ีมีผลทาให้ค่าเส่ือมราคามีจานวนคงที่ตลอดอายุการใช้
ประโยชนข์ องสนิ ทรพั ย์ หากมลู ค่าคงเหลือของสนิ ทรพั ยน์ นั้ ไมเ่ ปลยี่ นแปลง
วิธียอดคงเหลือลดลง (Diminishing Balance Method) วิธีน้ีมีผลทาให้ค่าเส่ือมราคาลดลงตลอด
อายุการใชป้ ระโยชน์ของสนิ ทรพั ย์
วิธีจานวนผลผลิต (Unit Output Method) วิธีนี้มีผลทาให้ค่าเส่ือมราคาข้ึนอยู่กับประโยชน์หรือ
ผลผลติ ท่คี าดว่าจะไดร้ บั จากสนิ ทรัพย์
4-18
กิจการต้องเลือกใช้วิธีการคิดค่าเสื่อมราคาท่ีสะท้อนรูปแบบของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตท่ีกิจการ
คาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์ และต้องทบทวนวิธีการคิดค่าเส่ือมราคาของสนิ ทรัพยอ์ ย่างน้อยท่ีสุดทุกส้ินรอบปีบญั ชี
และในการคิดค่าเสื่อมราคา นอกจากต้องปฏบิ ัติตามมาตรฐานการบัญชีแล้ว ยังต้องปฏบิ ัตติ ามพระราชกฤษฎีกาออก
ตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการหักค่าสกึ หรอและค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์อย่างเคร่งครัด และเม่ือกิจการ
เลือกใช้วิธีใดวิธีหน่ึงแล้วจะต้องใช้วิธีนั้นตลอดไป หากต้องการเปลี่ยนแปลงจะต้องได้รับอนุมัติจากอธิบดี
กรมสรรพากรเสยี กอ่ น อยา่ งไรก็ตามสนิ ทรพั ยแ์ ต่ละชนดิ อาจใช้วธิ ีคิดค่าเส่ือมราคาต่างกันได้
การบนั ทกึ รายการค่าเส่ือมราคาของสนิ ทรพั ย์ จะบันทกึ ในสมุดรายวันทั่วไป ดงั น้ี
เดบิต ค่าเส่ือมราคา-ชอ่ื สินทรัพย์ xx (เป็นบญั ชีคา่ ใชจ้ ่าย)
เครดติ *ค่าเสือ่ มราคาสะสม-ชื่อสินทรัพย์ xx (เป็นบญั ชีปรบั มูลค่าของสินทรัพย)์
2.6.6 หนี้สงสัยจะสูญ (Allowance for Doubtful Debt) หมายถึง ลูกหนี้ท่ีคาดว่าจะเรียกเก็บ
ไม่ได้ และถือเป็นค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน ดังนั้นจึงบันทึกเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย แต่เนื่องจากเป็น
ค่าใช้จ่ายท่ียังไม่เกิดขึ้น จึงถือเป็นรายการปรับปรุงในวันสิ้นงวดบัญชี บัญชีหน้ีสงสัยจะสูญเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย
แสดงในงบกาไรขาดทนุ
ในด้านภาษีอากร ใหน้ ายอดตามทป่ี รากฏในบัญชหี นสี้ งสัยจะสูญในงบกาไรขาดทุน ไม่วา่ จะเป็นยอดเด
บิตหรือเครดิตมารวมในการคานวณกาไรสุทธิ เพ่ือการคานวณภาษีเงินได้นิติบุคคล กล่าวคือ ถ้าเป็นยอดเดบิต
ใหน้ าไปบวกเพิ่มกาไรสุทธิ แตถ่ า้ เปน็ ยอดเครดิตให้นาไปหักกาไรสทุ ธิ
การบันทกึ ลูกหนีท้ เี่ ก็บเงินไม่ได้ มี 2 วิธี คือ
1. วิธีตัดจาหน่ายโดยตรง (Direct Write-off Method) จะไม่บันทึกรายการจนกว่าในรอบ
ระยะเวลาบัญชีที่มลี ูกหน้สี ูญจรงิ จึงบันทึกเป็นผลเสียหายในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน โดย
เดบติ หนี้สูญ xx (เป็นบัญชคี า่ ใช้จา่ ย)
เครดติ ลกู หนีก้ ารคา้ xx
2. วิธีต้ังค่าเผื่อ (Allowance Method) วิธีนี้จะประมาณหนี้ท่ีคาดว่าจะเก็บไม่ได้ โดยคานวณจาก
ยอดขายหรอื ยอดลกู หนี้ แล้วบันทกึ จานวนท่ีประมาณข้ึนนน้ั โดย
เดบิต หน้ีสงสยั จะสูญ xx (เป็นบญั ชคี ่าใชจ้ ่าย)
เครดิต ค่าเผื่อหนส้ี งสัยจะสญู xx (เป็นบัญชีปรับมลู ค่าลูกหน)ี้
ในทางปฏิบัติวิธีตัดจาหน่ายโดยตรงเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก แต่ไม่เป็นไปตามหลักทฤษฎีว่าด้วยการ
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของระยะเวลาบัญชี อีกทั้งมูลค่าของลูกหน้ีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินก็
มิได้อยู่ในมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจริง วิธีนี้จึงไม่เป็นท่ียอมรับเว้นแต่ว่าหน้ีท่ีคาดว่าจะเก็บไม่ได้มีจานวนท่ีไม่มี
นัยสาคัญ ดงั นัน้ วิธกี ารต้งั ค่าเผอ่ื จงึ เปน็ วธิ ที ีเ่ หมาะสมกวา่
วิธกี ารประมาณหนสี้ งสยั จะสูญ ท่ีนิยมใช้มี 3 วธิ ี ได้แก่
1. คานวณเป็นร้อยละของยอดขาย วิธีนี้กิจการจะต้องวิเคราะห์จากประสบการณ์ที่ผ่านมาเกี่ยวกับ
จานวนลูกหน้ีที่เก็บไมไ่ ดเ้ ปรียบเทยี บเปน็ อัตราส่วนกบั ยอดขาย คือ
4-19
1.1 คานวณเป็นร้อยละของยอดขายรวม โดยถือว่าการขายเป็นรายการที่ก่อให้เกิดลูกหน้ี และ
อตั ราสว่ นของการขายสมั พนั ธก์ บั จานวนหนท้ี ีเ่ กบ็ ไมไ่ ด้
1.2 คานวณเป็นร้อยละของยอดขายเช่ือ โดยถือว่าการขายเช่อื สัมพันธ์โดยตรงกับลูกหน้ี ส่วนการ
ขายสดไม่ได้กอ่ ใหเ้ กดิ ลกู หนแ้ี ต่อย่างใด
2. คานวณเปน็ ร้อยละของยอดลูกหนี้
2.1 คานวณเป็นร้อยละของยอดลูกหนี้ โดยถือว่าอัตราส่วนของจานวนหนี้สงสัยจะสูญสาหรับ
ลูกหนีท้ ั้งหมดจะคงท่ี
2.2 คานวณโดยจัดกลุ่มลูกหนี้จาแนกตามอายุของหนี้ที่ค้างชาระ โดยถือว่าลูกหนี้ท่ีค้างชาระ
เทา่ น้ัน เป็นหนีส้ งสยั จะสูญ (วิธนี ้อี าจกระทาได้ยากในธุรกจิ ท่ีมีลูกหนจ้ี านวนมากราย)
2.6.7 วัสดุส้ินเปลืองใช้ไป (Supplies Used) หมายถึง วัสดุสิ้นเปลอื งไปตามสภาพการใช้งาน เป็น
สนิ ทรพั ยท์ ไ่ี ม่มีอายุการใช้งานส่วนใหญซ่ ื้อมาแล้วใชห้ มดสภาพไปทันที ไมส่ ามารถนากลบั มาใช้ได้อีก โดยท่วั ไป
อายุการใช้งานมักจะไม่เกิน 1 ปี หรือเป็นของใช้เล็กๆ น้อยๆ ในสานักงาน วัสดุสิ้นเปลือง อาจเรียกว่าวัสดุ
สานักงาน หรือวัสดุโรงงาน แล้วแต่ลักษณะของวัสดุส้ินเปลือง และสถานที่ใช้ เช่น กระดาษ ลวดเย็บกระดาษ
น้ายาลบคาผิด ปากกา เป็นต้น โดยปกติกิจการมักจะซ้ือวัสดุส้ินเปลืองไว้จานวนมาก เพื่อให้มีไว้ใช้โดยไม่ขาด
มือ และจะบันทึกไว้ในบัญชีวัสดุส้ินเปลือง หรือบัญชีวัสดุสานักงาน ซึ่งถือเป็นสินทรัพย์หมุนเวียน และเมื่อถึง
วนั ส้นิ งวดบัญชี ก็จะบนั ทึกรายการปรับปรุงโดยโอนสว่ นท่ีใช้ไปแลว้ เป็นคา่ ใช้จา่ ยประจางวดบญั ชีนน้ั ๆ
การคานวณวสั ดุสิ้นเปลืองใชไ้ ป
วสั ดุส้นิ เปลืองใชไ้ ป = วัสดุสิ้นเปลืองตน้ ปี + ซอ้ื ระหวา่ งปี – วสั ดสุ ้ินเปลืองปลายปี
การบนั ทกึ รายการปรับปรุงในสมดุ รายวันทั่วไป
เดบิต วัสดุส้ินเปลอื งใชไ้ ป xx (เปน็ บญั ชคี ่าใช้จ่าย)
เครดิต วัสดุส้นิ เปลือง xx
เพ่ือให้การบันทึกรายการที่เก่ียวกับการปรับปรุงบัญชีเม่ือวันส้ินงวดบัญชีท่ีผ่านมา และมีผลต่องวด
บัญชีปัจจุบันเป็นไปอย่างถูกต้อง กิจการจะนารายการปรับปรุงดังกล่าวมาบันทึกกลับรายการหรือกลับบัญชี
(Reversing Entries) ในสมุดรายวันทั่วไป โดยจะทาในวันต้นงวดบัญชี รายการปรับปรุงท่ีต้องนามาบันทึก
กลับรายการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้ค้างรับ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า และรายได้รับล่วงหน้า หลังจาก
กลับรายการแลว้ บญั ชีทเี่ ปน็ รายการปรับปรุงเหล่านจ้ี ะถูกปดิ ไป และยอดจะไปปรากฏในบญั ชีปกติของกิจการ
แต่จะแสดงทางดา้ นตรงขา้ มกับยอดปกติ เพือ่ รอหักกับรายการรับเงนิ และรายการจา่ ยเงนิ
1.7 การปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง วิธีปฏิบัติเพ่ือโอนปิดรายได้ และค่าใช้จ่ายไปเข้า
บัญชีกาไรขาดทนุ และโอนปดิ บญั ชีกาไรขาดทุนไปเขา้ บัญชีส่วนของเจา้ ของ รวมทงั้ การปิดบัญชีถอนใชส้ ว่ นตวั
(ถา้ ม)ี ไปเข้าบัญชีส่วนของเจา้ ของ
การบันทกึ ปดิ บัญชี จะกระทาตามหลกั การบันทกึ บญั ชีปกติ คือ บันทึกลงในสมดุ รายวันทัว่ ไป แล้วผา่ น
ไปยังบัญชีแยกประเภท ปกติแล้วจะทาเม่ือส้ินงวด หรือส้ินรอบระยะเวลาบัญชี การปิดบัญชีของธุรกิจซื้อขาย
สินค้าจะมวี ธิ ีการคล้ายกับธรุ กจิ บรกิ าร โดยมขี ัน้ ตอนดงั น้ี
4-20
ข้นั ตอนที่ 1 บันทกึ ปดิ บัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
1.1 บันทกึ รายการปิดบัญชหี มวดรายได้เขา้ บัญชีกาไรขาดทุน
1.2 บันทึกรายการปดิ บญั ชหี มวดคา่ ใชจ้ ่ายเข้าบัญชีกาไรขาดทุน
1.3 บันทึกรายการปดิ บญั ชีกาไรขาดทุนเขา้ บญั ชสี ่วนของเจ้าของ (ทนุ )
1.4 บันทกึ รายการปดิ บัญชถี อนใช้สว่ นตวั หรือบญั ชเี งนิ ถอนเข้าบัญชสี ว่ นของเจา้ ของ (ทนุ )
ขน้ั ตอนที่ 2 ผา่ นรายการปดิ บญั ชจี ากสุดรายวันทัว่ ไป ไปยงั บญั ชีแยกประเภททวั่ ไป
ขนั้ ตอนที่ 3 ปดิ บญั ชีสนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของในบญั ชีแยกประเภททวั่ ไป
การบันทึกปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป สาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้าที่ใช้วิธีบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ
แบบส้ินงวด (Periodic Accounting System) จะมีวิธีการปิดบัญชี 2 วิธี คือ การปิดบัญชีโดยผ่านบัญชีต้นทนุ
ขาย และการปดิ บญั ชีโดยไม่ผ่านบัญชีตน้ ทนุ ขาย โดยมีขนั้ ตอนดังน้ี
1. การปดิ บญั ชีโดยผ่านตน้ ทุนขาย
ข้ันตอนท่ี รายการ การบันทกึ บัญชี
1 ปดิ บัญชีท่เี กยี่ วกับตน้ ทุนขาย ทม่ี ยี อด เดบิต ตน้ ทนุ ขาย xx
เดบิตไปบัญชตี ้นทนุ ขาย เครดติ สนิ คา้ คงเหลอื (ต้นงวด) xx
ซือ้ สินคา้ xx
ค่าขนสง่ เข้า xx
2 บันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดและ เดบติ สินค้าคงเหลอื (ปลายงวด) xx
ปิดบัญชีท่ีเก่ียวกับต้นทุนขายที่มียอด ส่งคนื สนิ คา้ xx
เครดิต ไปบัญชตี ้นทนุ ขาย ส่วนลดรบั xx
เครดติ ตน้ ทนุ ขาย xx
3 ปิดบัญชีขายสินค้าและรายได้อื่นๆ เดบติ ขายสนิ ค้า xx
(ถา้ มี) ไปบัญชีกาไรขาดทุน รายได้อนื่ ๆ xx
เครดติ กาไรขาดทุน xx
4 ปิดบัญชีต้นทุนขาย รับคืนสินค้า เดบิต กาไรขาดทนุ xx
ส่วนลดจ่าย และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ไป เครดติ ต้นทุนขาย xx
บัญชีกาไรขาดทุน รบั คนื สนิ คา้ xx
สว่ นลดจา่ ย xx
คา่ ใชจ้ ่าย (แยกแต่ละบัญช)ี xx
5 ปดิ บัญชกี าไรขาดทุนไปบัญชีส่วนของ เดบติ กาไรขาดทนุ xx
เจา้ ของ (ทุน) กรณีกาไรสทุ ธิ เครดติ ทนุ -เจ้าของกจิ การ xx
ปิดบญั ชกี าไรขาดทุนไปบัญชีส่วนของ เดบติ ทุน-เจ้าของกจิ การ xx
เจา้ ของ (ทนุ ) กรณีขาดทุนสทุ ธิ เครดิต กาไรขาดทนุ xx
4-21
6 ปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัว/เงินถอน ไป เดบติ ทุน-เจ้าของกจิ การ xx
บญั ชสี ว่ นของเจ้าของ (ทุน) เครดติ ถอนใชส้ ว่ นตวั /เงนิ ถอน xx
2. การปดิ บญั ชโี ดยไมผ่ ่านตน้ ทุนขาย
ขั้นตอนท่ี รายการ การบันทกึ บญั ชี
1 บันทึกรายการสินค้าคงเหลือปลาย เดบติ สนิ ค้าคงเหลือ (ปลายงวด) xx
งวดและปิดบัญชีที่ที่มียอดทางด้าน ขายสินค้า xx
เครดิต ไปบัญชีกาไรขาดทนุ รายได้อนื่ ๆ xx
ส่งคนื สนิ คา้ xx
สว่ นลดรบั xx
เครดิต กาไรขาดทนุ xx
2 ปิดบัญชีท่ีมียอดทางด้านเดบิตไป เดบติ กาไรขาดทนุ xx
บญั ชกี าไรขาดทุน เครดติ สนิ ค้าคงเหลือ (ต้นงวด) xx
รบั คนื สินคา้ xx
สว่ นลดจา่ ย xx
ซ้ือสินค้า xx
ค่าขนส่งเขา้ xx
คา่ ใชจ้ ่าย (แยกแต่ละบัญชี) xx
3 ปิดบญั ชกี าไรขาดทนุ ไปบญั ชีสว่ นของ เดบิต กาไรขาดทุน xx
เจ้าของ (ทนุ ) กรณกี าไรสทุ ธิ เครดิต ทุน-เจา้ ของกจิ การ xx
ปิดบญั ชีกาไรขาดทนุ ไปบญั ชีสว่ นของ เดบติ ทุน-เจ้าของกิจการ xx
เจ้าของ (ทนุ ) กรณีขาดทุนสุทธิ เครดิต กาไรขาดทุน xx
4 ปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัว/เงินถอน ไป เดบิต ทุน-เจ้าของกิจการ xx
บญั ชีสว่ นของเจ้าของ (ทนุ ) เครดติ ถอนใชส้ ่วนตัว/เงินถอน xx
1.8 การทางบการเงิน
งบการเงิน (Financial Statements) ตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 1 หมายถึง งบการเงินท่ี
จัดทาขนึ้ เพอื่ สนองความตอ้ งการของผู้ใชง้ บการเงนิ ซ่งึ ไม่อย่ใู นฐานะทจ่ี ะเรียกร้องให้กจิ การจัดทา รายงานทมี่ ี
การดดั แปลงตามความต้องการขอ้ มูลท่เี ฉพาะเจาะจง
งบการเงินเป็นการนาเสนอฐานะการเงิน และผลการดาเนนิ งาน ของกจิ การอยา่ งมีแบบแผน โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ ให้ข้อมลู เก่ียวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนนิ งาน และกระแสเงนิ สดของกิจการ ซึ่งเป็น
ประโยชนต์ ่อการตดั สนิ ใจเชิงเศรษฐกิจของผ้ใู ช้งบการเงนิ กล่มุ ตา่ งๆ นอกจากนี้ งบการเงินยังแสดงถงึ ผลการ
บรหิ ารงานของฝ่ายบริหาร งบการเงนิ ต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจการทุกข้อ ดงั นี้
4-22
1. สนิ ทรพั ย์
2. หน้สี ิน
3. สว่ นของเจา้ ของ
4. รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย รวทถึงผลกาไรและขาดทนุ
5. เงนิ ทุนท่ไี ด้รบั จากผเู้ ป็นเจา้ ของ และการจัดสรรสว่ นทนุ ให้ผูเ้ ปน็ เจา้ ของในฐานะทเ่ี ป็นเจ้าของ
6. กระแสเงินสด
ขอ้ มูลเหล่านี้ และข้อมลู อ่ืนท่ีเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ชว่ ยใหผ้ ้ใู ชง้ บการเงินคาดการณ์
เกีย่ วกับจังหวะเวลา และความแนน่ อนทกี่ จิ การจะกอ่ ให้เกิดกระแสเงนิ สดในอนาคตของกิจการ
งบการเงนิ ฉบับสมบรู ณ์ ตามมาตรฐานการบัญชี ประกอบดว้ ย
1. งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั สนิ้ งวด
2. งบกาไรขาดทนุ เบด็ เสร็จสาหรบั งวด
3. งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของสาหรบั งวด
4. งบกระแสเงนิ สดสาหรับงวด
5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งประกอบด้วยนโยบายการบัญชีที่สาคัญและข้อมูลที่ให้คาอธิบาย
อ่ืน และการเปิดเผยข้อมูลเปรียบเทียบของงวดก่อนสาหรับทุกรายการท่ีแสดงจานวนเงินในงบการเงินงวด
ปัจจุบัน
6. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดก่อน เมื่อกิจการได้นานโยบายการบัญชีใหม่มาถือ
ปฏิบัติยอ้ นหลัง หรือการปรับย้อนหลังรายการในงบการเงนิ หรือเมอื่ กิจการมีการจัดประเภทรายการใหม่ในงบ
การเงินซ่งึ มีผลกระทบอย่างมีสาระสาคญั ต่อข้อมลู ในงบแสดงฐานะการเงนิ ณ วันตน้ งวดของงวดกอ่ น
***********************************
4-23