The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pinnarat.see, 2020-06-14 09:28:45

คู่มือภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

Keywords: ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษกเี งบันิ รไดาน้ยติ จบิ า่ คุ ยคตลอ้ งหา้ ม

คำ� นำ�

ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล เปน็ ภาษอี ากรประเมนิ ประเภทหนง่ึ
ท่ีบัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร โดยจัดเก็บจากนิติบุคคล
ให้สามารถกระท�ำการบางอย่าง และไม่สามารถกระท�ำการ
บางอยา่ งได้ โดยใหผ้ มู้ อี ำ� นาจทถี่ กู กำ� หนดไวใ้ นหนงั สอื รบั รองบรษิ ทั
มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการกระท�ำการใด ๆ ของ
นิติบุคคล เช่น การจดทะเบียน การติดต่อทางการค้า
กับนิติบุคคลอ่ืน หรือหน่วยงานราชการต่าง ๆ การย่ืนแบบ
แสดงรายการภาษี การยน่ื งบการเงิน เปน็ ตน้

คู่มือน้ีจะกล่าวถึงหน้าท่ีของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
นิติบุคคล การแสดงรายได้และรายจ่ายท่ีกฎหมายก�ำหนด
ให้ถอื เปน็ รายจ่ายได้ และรายจา่ ยใดท่กี ฎหมายห้ามไว้ แล้วนำ�
ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากการดำ� เนนิ กจิ การในรอบระยะเวลาบญั ชี นนั่ กค็ อื
“ก�ำไรสุทธิ” มาค�ำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามท่ีกฎหมาย
กำ� หนด เพอ่ื ใหน้ ติ บิ คุ คลไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ ง
ถกู ตอ้ งในการด�ำเนินธุรกิจตอ่ ไป

กรมสรรพากร
พฤศจิกายน 2560

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

2

6 4

ผู้มีหน้าท่ี ภาษีเงินได้
เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล

11 นิติบุคคล

ฐานภาษีเงินได้
นิติบุคคล

11 สารบัญ
การเสียภาษีเงินได้
นิติบุคคลจาก 17
ก�ำไรสุทธิ

หลักเกณฑ์การค�ำนวณ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
18 จากก�ำไรสุทธิ 53

รายจ่ายต้องห้าม
ในการคำ� นวณกำ� ไรสทุ ธิ
เพ่ือเสียภาษี อัตรา
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
57 58จากก�ำไรสุทธิ
สถานท่ีย่ืนแบบแสดง
รายการภาษีเงินได้
การยื่นแบบและช�ำระ นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
จากก�ำไรสุทธิ

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

3

ภาษี
เงนิ ได้
นิตบิ ุคคล

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

4

ค�ำว่า “นิตบิ ุคคล” หมายถึง บุคคลทกี่ ฎหมายสมมุติขึน้ เพอ่ื ให้

สามารถมีสิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ตามกฎหมาย จงึ ได้ก�ำหนดให้นิตบิ คุ คล
ต้องมี ผู้แทนของนิติบุคคลจะเป็นบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนก็ได้ ท่ีจะรับไป
ซึ่งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดในการกระท�ำการของนิติบุคคลน้ัน ๆ เช่น
หนุ้ สว่ นผจู้ ดั การมอี ำ� นาจกระทำ� การแทนหา้ งหนุ้ สว่ นจำ� กดั กรรมการผมู้ อี ำ� นาจ
กระท�ำการแทนบริษัทจ�ำกัด เป็นตน้

ส�ำหรับภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax) เป็นการ
จัดเก็บจากรายได้ที่ใช้เป็นหลักฐานในการค�ำนวณภาษีคูณด้วยอัตราภาษี
ที่ก�ำหนด ดังน้ัน รายได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือฐานภาษีเงินได้
นิติบุคคลน้ัน โดยท่ัวไป ได้แก่ ก�ำไรสุทธิซ่ึงค�ำนวณได้จากรายได้จากกิจการ
หรอื เนอื่ งจากกจิ การทกี่ ระทำ� ในรอบระยะเวลาบญั ชหี กั ดว้ ยรายจา่ ยตามเงอื่ นไข
ทรี่ ะบไุ วใ้ นมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แหง่ ประมวลรษั ฎากร เพ่อื ความ
เป็นธรรมจึงได้มีการบัญญัติการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลจากเงินได้หรือ
ฐานภาษที แ่ี ตกต่างกัน ดงั นี้

1. ก�ำไรสุทธิ
2. ยอดรายได้กอ่ นหักรายจ่าย
3. เงินได้ทจี่ า่ ยจากหรอื ในประเทศไทย
4. การจำ� หน่ายเงินกำ� ไรออกไปนอกประเทศ

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

5

ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทหรือ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีจดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ และหมายความรวมถึงนิติบุคคลที่อธิบดีก�ำหนดโดยอนุมัติ
รัฐมนตรี

ผ้มู ีหนา้ ทีเ่ สยี ภาษีเงนิ ได้นติ บิ คุ คล

ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
นิติบคุ คลตามค�ำนิยามในมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ซ่ึงใหค้ �ำนยิ ามไว้
เป็นพิเศษ นอกจากจะหมายถึงบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณชิ ยแ์ ล้ว ยังหมายความรวมถงึ บคุ คลอนื่ ๆ ด้วย บริษัท
หรอื หา้ งหนุ้ ส่วนนติ บิ ุคคลทีม่ ีหน้าท่เี สยี ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ไดแ้ ก่

1. บรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายไทย ไดแ้ ก่
ก. บรษิ ัทจ�ำกัด บริษัทมหาชนจำ� กัด
ข. หา้ งหนุ้ สว่ นจ�ำกัด
ค. ห้างหนุ้ ส่วนสามัญจดทะเบยี น
2. บรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทตี่ ง้ั ขนึ้ ตามกฎหมายตา่ งประเทศ
ไดแ้ ก่
ก. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ และเข้ามากระท�ำกิจการในท่ีอ่ืน ๆ รวมท้ังในประเทศไทยด้วย
(มาตรา 66 วรรค 2)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

6

ข. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ และกระท�ำกิจการในที่อ่ืน ๆ รวมทั้งในประเทศไทยด้วย และ
กจิ การทท่ี �ำน้นั เปน็ กิจการประเภทการขนสง่ ผ่านประเทศตา่ ง ๆ (มาตรา 67)

ค. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้รับเงินได้พึงประเมิน
ตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) และ (6) หรอื ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
(มาตรา 70)

ง. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายของ
ตา่ งประเทศ มลี กู จา้ งหรอื ผทู้ ำ� การแทนหรอื ผทู้ ำ� การตดิ ตอ่ ในการประกอบกจิ การ
ในประเทศไทย ซงึ่ เปน็ เหตใุ หไ้ ดร้ บั เงนิ ไดห้ รอื ผลกำ� ไรในประเทศไทย(มาตรา76 ทว)ิ

3. กิจการซึง่ ดำ� เนินการเปน็ ทางคา้ หรอื หากำ� ไร โดย
ก. รฐั บาลต่างประเทศ หรอื
ข. องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือ
ค. นิตบิ ุคคลอนื่ ท่ตี ้ังขน้ึ ตามกฎหมายของตา่ งประเทศ
4. กิจการร่วมค้า (Joint Venture) ได้แก่ กิจการท่ีด�ำเนินการ
ร่วมกันเป็นทางค้าหรอื หาก�ำไร ระหวา่ ง
ก. บริษัทกบั บรษิ ัท
ข. บริษัทกับหา้ งหุ้นส่วนนติ บิ คุ คล
ค. ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คลกับห้างหนุ้ สว่ นนติ ิบุคคล
ง. บริษัทและหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา
คณะบุคคลท่ีมใิ ช่นิติบุคคล ห้างห้นุ สว่ นสามญั หรอื นิตบิ คุ คลอื่น

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

7

5. มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซ่ึงมีรายได้ แต่ไม่รวมถึง
มูลนิธิหรือสมาคมท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศก�ำหนดให้เป็น
องค์การหรือสถานสาธารณกุศล

นิติบุคคลอื่นท่ีอธิบดีกรมสรรพากรประกาศก�ำหนดโดยอนุมัติ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็น
บรษิ ัทหรอื ห้างหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลตามประมวลรษั ฎากร ไดแ้ ก่ ตลาดหลกั ทรัพย์
แห่งประเทศไทย ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้
(ฉบบั ที่ 271) เร่อื ง ก�ำหนดนติ บิ คุ คลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

8

นติ บิ คุ คลทไี่ มต่ อ้ งเสยี ภาษเี งนิ ได้ และนติ บิ คุ คลทไี่ ดร้ บั ยกเวน้ ภาษเี งนิ ได้ ไดแ้ ก่
1. นติ ิบุคคลอน่ื เช่น กระทรวง ทบวง กรม องค์การของรฐั บาล

วัด หอการค้าจังหวัด พรรคการเมือง สหกรณ์ มหาวิทยาลัยเอกชน
โรงเรยี นเอกชนในระบบ ไมเ่ ปน็ นติ บิ คุ คลตามมาตรา 39 แหง่ ประมวลรษั ฎากร
จงึ ไมต่ อ้ งเสียภาษเี งนิ ได้

2. มูลนิธิหรือสมาคม ท่ีได้รับการประกาศให้เป็นองค์การหรือ
สถานสาธารณกุศล

3. นิติบุคคลบางประเภท แม้จะเข้าลักษณะเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษี
เงินได้นิติบุคคล แต่อาจได้รับการยกเว้นภาษีได้ตามเงื่อนไขท่ีก�ำหนดไว้
ในประมวลรษั ฎากร หรอื บทบัญญัตขิ องกฎหมายต่าง ๆ เชน่

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

9

สรรพากร

ก. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีมีข้อผูกพันท่ีประเทศไทย
มีอยู่ตามสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจหรือทางเทคนิคระหว่าง
รัฐบาลไทยกับรฐั บาลตา่ งประเทศ

ข. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นหรือลดอัตรา
ภาษีเงนิ ได้ตามเงอ่ื นไขทีก่ ำ� หนดในกฎหมายวา่ ด้วยการส่งเสรมิ การลงทนุ

ค. บรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทอ่ี ยู่ในประเทศทมี่ อี นสุ ญั ญา
ภาษซี ้อนกับประเทศไทย เป็นต้น

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

10

ฐานภาษเี งินไดน้ ิติบุคคล

ประมวลรัษฎากร ได้ก�ำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
ค�ำนวณภาษีเงินได้นติ ิบคุ คลจากฐานภาษีที่แตกตา่ งกนั ดังน้ี

1. ฐานกำ� ไรสุทธิ (มาตรา 65)
2. ฐานรายไดก้ ่อนหักรายจ่าย (มาตรา 67)
3. ฐานเงนิ ได้ท่จี ่ายจากหรอื ในประเทศไทย (มาตรา 70)
4. ฐานการจ�ำหนา่ ยเงินกำ� ไรออกไปนอกประเทศ (มาตรา 70 ทวิ)

การเสียภาษีเงนิ ไดน้ ิติบุคคลจากก�ำไรสุทธิ

ผมู้ หี นา้ ทเ่ี สยี ภาษีเงนิ ไดจ้ ากกำ� ไรสุทธิ ไดแ้ ก่

1. บริษัทหรือห้างหุน้ สว่ นนติ ิบุคคลท่ตี ัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย ได้แก่
ก. บรษิ ัทจ�ำกดั บรษิ ัทมหาชนจ�ำกัด
ข. หา้ งห้นุ สว่ นจ�ำกัด
ค. หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั จดทะเบยี น

Coffee ในกรณีท่ีบริษัทหรอื หา้ งห้นุ สว่ นนิตบิ ุคคล
ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มีสาขาไม่ว่าจะอยู่ใน
หรือนอกประเทศไทย จะตอ้ งนำ� กำ� ไรสุทธขิ องสาขา
มารวมก�ำไรสุทธิของส�ำนักงานใหญ่เพ่ือเสียภาษี
เงนิ ได้นติ บิ ุคคลในประเทศไทยทง้ั หมด

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

11

2. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ และมีหนา้ ทีเ่ สียภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คลในประเทศไทย ไดแ้ ก่

ก. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายของ
ต่างประเทศ และกระท�ำกิจการในท่ีอื่น ๆ รวมท้ังในประเทศไทยด้วย
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายของต่างประเทศดังกล่าว
จะตอ้ งนำ� กำ� ไรสทุ ธเิ ฉพาะท่ีไดจ้ ากการกระทำ� กจิ การในประเทศไทยมาเสยี ภาษี
เงนิ ไดน้ ิตบิ ุคคล เช่น บรษิ ัท ABC จ�ำกดั ต้งั ข้ึนตามกฎหมายของประเทศญปี่ ุ่น
ประกอบกิจการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์เพื่อจ�ำหน่ายในประเทศต่าง ๆ รวมท้ัง
ประเทศไทย มาเปิดสาขาเพ่ือขยายธุรกิจเป็น บริษัท ABC จ�ำกัด
สาขาประเทศไทย ดังน้ัน ในการประกอบกิจการ บริษัท ABC จ�ำกัด
สาขาประเทศไทย จะต้องน�ำรายได้ท่ีเกิดจากการประกอบกิจการของ
สาขาในประเทศไทย มาคำ� นวณก�ำไรสุทธิเพื่อเสยี ภาษเี งินได้นิติบคุ คล

COMPANY

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

12

ข. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีตั้งข้ึนตามกฎหมาย
ต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้รับเงินได้พึงประเมิน
ตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) และ (6) หรือทจี่ า่ ยจากหรือในประเทศไทย
รวมถึงกรณีที่บริษัทต่างประเทศมาถือหุ้นในประเทศไทย เฉพาะการถือหุ้น
ไม่ถือว่าเป็นการประกอบกิจการในประเทศไทย ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าท่ีต้องหัก
ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยจากเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ และนำ� สง่ กรมสรรพากร เชน่ บรษิ ัท 123 จำ� กดั
จ่ายเงินค่าลิขสิทธ์ิซ่ึงเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (3) ไปยัง
บรษิ ัท Z ในประเทศกมั พชู า บรษิ ัท 123 จำ� กดั ตอ้ งนำ� สง่ ภาษจี ากเงนิ คา่ ลขิ สทิ ธิ์
ทส่ี ่งไปยัง บริษัท Z ในประเทศกัมพชู า ในอตั ราร้อยละ 15

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

13

ค. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายของ
ตา่ งประเทศ มีลูกจ้าง หรือผูท้ �ำการแทน หรอื ผูท้ ำ� การตดิ ต่อในการประกอบ
กิจการในประเทศไทย ซ่งึ เปน็ เหตใุ หไ้ ด้รบั เงินได้ หรอื ผลก�ำไรในประเทศไทย
ให้ถือว่าบุคคลผู้เป็นลูกจ้าง หรือผู้ท�ำการแทน หรือผู้ท�ำการติดต่อเช่นว่าน้ัน
ไมว่ า่ จะเปน็ บคุ คลธรรมดาหรอื นติ บิ คุ คล เปน็ ตวั แทนของบรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ น
นติ บิ คุ คล ซงึ่ ตงั้ ขน้ึ ตามกฎหมายของตา่ งประเทศ และใหบ้ คุ คลนนั้ มหี นา้ ทแี่ ละ
ความรับผิดชอบในการยื่นรายการและเสียภาษีเงินได้เฉพาะท่ีเก่ียวกับเงินได้
หรือผลกำ� ไรดังกล่าว เชน่ บริษัท A ต้งั ขน้ึ ตามกฎหมายของประเทศสิงคโปร์
ประกอบกิจการในประเทศสิงคโปร์ ได้รับการว่าจ้างจากบริษัท กขค จ�ำกัด
ท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายไทย ให้เข้ามาให้บริการด้านท่ีปรึกษาการเงิน
ในประเทศไทย โดยบริษัท A สง่ Mr. Alex ซ่ึงเป็นลูกจา้ งของบริษัท A เขา้ มา
ให้บริการประจ�ำในประเทศไทย โดยได้รับค่าบริการจากบริษัท กขค จ�ำกัด

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

14

เป็นจ�ำนวนเงนิ 10 ล้านบาท บริษัท A จะตอ้ งนำ� รายรับจ�ำนวน 10 ลา้ นบาท
มาค�ำนวณก�ำไรสุทธิเพ่ือเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
ในประเทศไทย โดยยน่ื เสยี ภาษีในนาม บรษิ ัท A

3. กิจการซ่ึงด�ำเนินการเป็นทางการค้าหรือหาก�ำไร โดยรัฐบาล
ต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตาม
กฎหมายของต่างประเทศ เช่น รัฐบาลของประเทศจีน เข้ามาร่วมสร้าง
ทางรถไฟในประเทศไทย โดยไดร้ บั คา่ จา้ งในการสรา้ งทางรถไฟในประเทศไทย
ถือได้ว่ารัฐบาลของประเทศจีนเข้ามาประกอบกิจการเป็นทางการค้าหรือ
หากำ� ไรในประเทศไทย จงึ ตอ้ งเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลจากกำ� ไรสทุ ธจิ ากรายได้
คา่ จา้ งก่อสรา้ งในประเทศไทยทัง้ หมด

4. กิจการร่วมค้า จะต้องมีคุณสมบัติเข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ดังต่อไปนี้

ก. มีการร่วมทุนกัน ไม่วา่ จะเป็นเงิน ทรัพย์สิน แรงงาน หรือ
เทคโนโลยี หรอื รว่ มกนั ในผลกำ� ไรหรอื ขาดทนุ อนั จะพงึ ไดต้ ามสญั ญาทรี่ ว่ มกนั ทำ�
กบั บคุ คลภายนอก หรือ

ข. ได้ร่วมกันท�ำสัญญากับบุคคลภายนอก โดยระบุในสัญญา
วา่ เปน็ “กิจการรว่ มคา้ ” หรอื

ค. ไดร้ ว่ มกนั ทำ� สญั ญากบั บคุ คลภายนอก โดยสญั ญานนั้ กำ� หนด
ให้ต้องรับผิดร่วมกันในงานท่ีท�ำไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน และต้องรับ
คา่ ตอบแทนตามสญั ญารว่ มกนั โดยสญั ญานนั้ ไมไ่ ดแ้ บง่ แยกงานและคา่ ตอบแทน

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

15

ระหวา่ งกันไวอ้ ยา่ งชดั เจน เช่น บริษัท XYZ จ�ำกดั ร่วมกับ บริษัท รับเหมา
กอ่ สร้าง จำ� กัด ลงทนุ ร่วมกนั จัดตง้ั เป็นกิจการรว่ มค้า XYZ รบั เหมาก่อสรา้ ง
ได้ร่วมกันก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยร่วมกันรับผิดชอบใน
รายไดแ้ ละความเสียหายทจี่ ะเกิดข้ึนในการประกอบกิจการทง้ั หมด กรณเี ช่นน้ี
ย่อมถือว่ากิจการร่วมค้า XYZ รับเหมาก่อสร้าง ถือเป็นหน่วยภาษีใหม่
แยกต่างหากจากบริษัทจำ� กัด

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

16

หลกั เกณฑก์ ารคำ� นวณภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล
จากกำ� ไรสทุ ธิ

ตามประมวลรัษฎากรได้ก�ำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
เสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลจากกำ� ไรสทุ ธิ ซง่ึ คำ� นวณไดจ้ ากรายไดจ้ ากกจิ การหรอื
เน่ืองจากกิจการท่ีกระท�ำในรอบระยะเวลาบัญชีตามท่ีก�ำหนดไว้ในมาตรา 65
แห่งประมวลรัษฎากร การค�ำนวณก�ำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
จะต้องใช้เกณฑส์ ิทธิ หมายถงึ ใหน้ ำ� รายไดท้ เ่ี กิดข้ึนในรอบระยะเวลาบญั ชีใด
แมว้ ่าจะยังไม่ได้รบั ช�ำระในรอบระยะเวลาบัญชนี ้นั มารวมคำ� นวณเปน็ รายได้
ในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน และให้น�ำรายจ่ายท้ังสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้น้ัน
แม้จะยังมิได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น มารวมค�ำนวณเป็นรายจ่ายของ
รอบระยะเวลาบัญชีน้ัน ในกรณีจ�ำเป็นผู้มีเงินได้จะขออนุมัติต่ออธิบดีเพ่ือ
เปล่ียนแปลงเกณฑ์สิทธิและวิธีการทางบัญชี เพ่ือค�ำนวณรายได้และรายจ่าย
ตามเกณฑ์อนื่ ก็ได้ และเม่อื ไดร้ บั อนมุ ัตแิ ล้ว ให้ถอื ปฏบิ ัติต้งั แตร่ อบระยะเวลา
บัญชที อี่ ธบิ ดกี ำ� หนดเปน็ ตน้ ไป

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

17

รายจ่ายต้องห้าม

ในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิ
เพื่อเสียภาษี

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

18

รายจ่ายต้องหา้ ม หมายถงึ รายจา่ ยท่เี กิดขึน้ จากการดำ� เนินกิจการ
ของนิติบุคคลและได้มีการบันทึกบัญชีเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชี
ทเี่ กดิ รายการ แต่ในทางภาษีไม่ใหถ้ อื เปน็ รายจา่ ยในการคำ� นวณกำ� ไรสทุ ธิ ขอบเขต
รายจา่ ยในการคำ� นวณกำ� ไรสทุ ธเิ พอ่ื เสยี ภาษขี องบรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล
ก�ำหนดไว้ตามประมวลรษั ฎากร

เงอ่ื นไขการค�ำนวณกำ� ไรสุทธเิ พอ่ื เสยี ภาษีตามมาตรา 65 ทวิ มีดงั นี้
(1) รายจ่ายตามมาตรา 65 ตรี แหง่ ประมวลรัษฎากร ถอื เป็น

รายจ่ายต้องห้ามทางภาษี ในทางบัญชีรายจ่ายบางรายการถือเป็นรายจ่ายได้
แต่ในทางภาษีรายจา่ ยดงั กลา่ ว ต้องนำ� มาบวกกลับเพื่อค�ำนวณกำ� ไรสทุ ธิ

(2) ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพย์สิน เป็นการหัก
ค่าใช้จ่ายสินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี เนื่องจากสินทรัพย์ถาวรมีต้นทุนสูง และ
ใช้งานได้เกินกว่า 1 รอบระยะเวลาบัญชี โดยหลักการจึงสามารถตัดเป็น
รายจา่ ยไดใ้ นแต่ละปเี ปน็ คา่ เสื่อมราคา

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

19

หลกั เกณฑก์ ารคดิ คา่ เส่อื มราคา มดี ังน้ี

ขอ้ 1 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจะต้องไม่เกินอัตรา

ร้อยละของมูลคา่ ต้นทุนตามประเภทของทรพั ย์สนิ ดังต่อไปน้ี

1 อาคาร รอ้ ยละ 5
- อาคารถาวร
2 - อาคารชั่วคราว ร้อยละ 100
ต้นทุนเพอ่ื การได้มาซ่งึ แหลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ
ท่สี ูญสิน้ ไปได้
3 ตน้ ทุนเพ่ือการได้มาซึ่งสทิ ธิการเชา่
- กรณีไม่มีหนังสือสัญญาเช่าหรือมีหนังสือเช่าท่ีมีข้อก�ำหนดให้ต่ออายุ
การเชา่ ไดโ้ ดยเงอ่ื นไขในการตอ่ อายนุ น้ั เปดิ โอกาสใหต้ อ่ อายกุ ารเชา่ ไดต้ อ่ ๆ ไป
รอ้ ยละ 10
- กรณีมีสัญญาเช่าที่ไม่มีก�ำหนดให้ต่ออายุการเช่าได้ หรือมีข้อก�ำหนดให้
ต่ออายุการเชา่ ไดเ้ พียงระยะเวลาอนั จ�ำกดั
รอ้ ยละ 100 หารด้วยจ�ำนวนปีอายกุ ารเชา่ และอายุทตี่ ่อได้รวมกัน
4 ตสสทิตูน้ รธทิปุนกรเดู๊พะวกอ่ื ิลอกลบา์ รกเไคิจดรกม้่ือาางรซหตงึ่มาสมาทิยใธบกใิอานรนกคญุ ร้าราตมวธิ ี
สิทธบิ ตั ร ลขิ สทิ ธิ์ หรอื สทิ ธิอย่างอน่ื
- กรณีไมจ่ �ำกัดอายกุ ารใช้ ร้อยละ 10
- กรณีจ�ำกดั อายุการใช้ รอ้ ยละ 100
หารดว้ ยจำ� นวนปีอายุการใช้

5 ทรพั ยส์ นิ อยา่ งอน่ื นอกจากทด่ี นิ และสนิ คา้
รอ้ ยละ 20

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

20

ข้อ 2 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องหักค่าสึกหรอและ

คา่ เสอื่ มราคาโดยเลอื กใชว้ ธิ กี ารทางบญั ชที รี่ บั รองทวั่ ไป ซงึ่ จะใชว้ ธิ ีใดวธิ หี นง่ึ ก็ได้
แต่จ�ำนวนปีอายุการใช้ของทรัพย์สินต้องไม่น้อยกว่า 100 หารด้วยจ�ำนวน
ร้อยละที่ก�ำหนด โดยเม่ือได้เลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไปและอัตรา
ทจ่ี ะหกั อยา่ งใดแลว้ ใหใ้ ชว้ ธิ กี ารทางบญั ชแี ละอตั รานนั้ ตลอดไป จะเปลยี่ นแปลงได้
ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรหรือผู้ที่อธิบดีกรมสรรพากร
มอบหมาย ในกรณีได้รับอนุมัติให้เปล่ียนแปลงได้และให้ถือปฏิบัติต้ังแต่
รอบระยะเวลาบญั ชที ่ีได้รับอนมุ ตั ินน้ั

ขอ้ 3 การหกั คา่ สกึ หรอและคา่ เสอื่ มราคา ใหค้ ำ� นวณตามสว่ นเฉลยี่
แห่งระยะเวลาท่ีได้ทรัพย์สินน้ันมาในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ในกรณีท่ี

รอบระยะเวลาบญั ชีใดไมเ่ ตม็ 12 เดอื นใหเ้ ฉลย่ี หกั ตามสว่ นสำ� หรบั รอบระยะเวลา

บญั ชนี น้ั ทั้งนี้ ไม่เกนิ อตั รารอ้ ยละของมูลคา่ ตน้ ทนุ ตามประเภทของทรพั ย์สนิ

ดงั กล่าวข้างตน้ โดยให้เฉลี่ยเปน็ วนั เช่น บรษิ ัทแหง่ หน่งึ มรี อบระยะเวลาบญั ชี

ปกติตามปีปฏทิ ิน ไดซ้ ื้อเครอื่ งจักร มูลคา่ 500,000 บาท เมือ่ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม

2539 คำ� นวณคา่ สกึ หรอและคา่ เสอื่ มราคาของเครอ่ื งจกั ร ดงั นี้

ค่าเสื่อมราคา ในปี 2539 = 500,000 xบ1า2ท000 x 33615
= 8,493.15

ปกติทรัพย์สินอย่างอื่นหักค่าเสื่อมราคาได้ร้อยละ 20 ของมูลค่า
นน่ั หมายถงึ ไดท้ รพั ยส์ นิ น้นั มาเตม็ รอบระยะเวลาบญั ชี

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

21

ขอ้ 4 กรณีทรัพย์สินท่ีได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซ้ือขายเงินผ่อน

ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินตามราคามูลค่าต้นทุน คือ
ราคาท่ีพึงต้องช�ำระทั้งหมดตามสัญญาเช่าซ้ือหรือสัญญาซ้ือขายเงินผ่อน
แตค่ า่ สกึ หรอและคา่ เสอื่ มราคาทจี่ ะนำ� มาหกั ในรอบระยะเวลาบญั ชจี ะตอ้ งไมเ่ กนิ
คา่ เชา่ ซอ้ื หรือราคาที่ต้องผ่อนช�ำระในรอบระยะเวลาบญั ชนี ้นั

ขอ้ 5 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ส�ำหรับทรัพย์สินไม่ว่า

ในกรณีใดจะหกั จนหมดมลู คา่ ตน้ ทนุ ของทรพั ยส์ นิ นน้ั ไมไ่ ด้ โดยใหค้ งเหลอื มลู คา่
ของทรัพย์สินน้ันเป็นจ�ำนวนเงินอย่างน้อย 1 บาท เว้นแต่ ทรัพย์สินประเภท
รถยนตโ์ ดยสารทมี่ ที น่ี ง่ั ไมเ่ กนิ 10 คน หรอื รถยนตน์ ง่ั ทมี่ มี ลู คา่ ตน้ ทนุ เกนิ 1 ลา้ นบาท
ใหค้ งเหลอื มูลค่าตน้ ทุนของทรัพย์สินเทา่ กับมลู คา่ ต้นทนุ สว่ นทีเ่ กนิ 1 ลา้ นบาท

ขอ้ 6 ทรพั ยส์ นิ ประเภทรถยนตโ์ ดยสารทม่ี ที น่ี งั่ ไมเ่ กนิ 10 คน หรอื

รถยนต์น่ังให้หักค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วน
ท่ีไม่เกิน 1 ล้านบาท เว้นแต่ เป็นทรัพย์สินซึ่งมีไว้ใช้ในกิจการให้เช่ารถยนต์
ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนท้ังหมด ทั้งนี้ บริษัทหรือ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่น�ำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในกิจการอ่ืน ไม่ว่า
ท้งั หมดหรอื บางส่วน

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

22

ขอ้ 7 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท

เคร่ืองจักรและอุปกรณ์เคร่ืองจักรท่ีใช้ส�ำหรับการวิจัยและพัฒนา ให้หัก
ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบ้ืองต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตรา
รอ้ ยละ 40 ของมลู คา่ ต้นทนุ สำ� หรบั มูลคา่ ตน้ ทุนส่วนทเ่ี หลือใหห้ กั ตามเงอ่ื นไข
และอัตราท่ีก�ำหนดไว้ในข้อ 1 ทรัพย์สินดังกล่าวจะต้องมีลักษณะ
และเป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขดังต่อไปนี้

(1) ต้องไม่เป็นเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ของเคร่ืองจักรท่ีใช้
ผลิตสินคา้ หรือใช้บรกิ าร เวน้ แต่ เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ของเครอ่ื งจกั รดงั กลา่ ว
ไดใ้ ชเ้ พ่ือการดังต่อไปน้ี

(ก) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือวัตถุดิบที่น�ำมาใช้
ในการผลติ

(ข) การทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หรือ
(ค) การปรบั ปรงุ กรรมวธิ กี ารผลติ เพอ่ื ลดตน้ ทนุ การผลติ
หรือเพิม่ ผลผลติ ท้งั นี้ ไม่ว่าจะใชเ้ พ่อื กจิ การของตนเองหรอื กจิ การของผูอ้ ่ืน

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

23

(2) ต้องเป็นเครื่องจักรและอุปกรณ์ของเคร่ืองจักรที่ไม่เคย
ผ่านการใช้งานมาก่อน โดยมีอายุการใช้งานได้ตั้งแต่ 2 ปีข้ึนไป และมีมูลค่า
ตน้ ทนุ ไม่ตำ่� กว่า 100,000 บาท

(3) ตอ้ งแจง้ การใชเ้ ครอ่ื งจกั รและอปุ กรณข์ องเครอื่ งจกั รเพอ่ื
การวจิ ยั และพฒั นาตาม (1) โดยใชแ้ บบ ค.จ.01 พรอ้ มกบั แนบเอกสารหลกั ฐาน
ประกอบตามที่ก�ำหนดไว้ในประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีเงินได้
(ฉบบั ที่ 48) ต่ออธิบดีกรมสรรพากรภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีใช้เครอ่ื งจกั รและ
อปุ กรณข์ องเครือ่ งจกั รน้นั

ข้อ 8 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินประเภท

เครื่องบันทึกการเก็บเงินอาจเลือกหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอัตรา
ร้อยละ 100 ของมลู ค่าต้นทนุ ตามเงื่อนไขทก่ี ำ� หนดไวใ้ นขอ้ 1 ก็ได้ หรือเลือก
หักค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบื้องต้นในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน
ส�ำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเง่ือนไขและอัตราที่ก�ำหนดไว้ใน
ขอ้ 1 ก็ได้ ทรพั ยส์ นิ ดงั กลา่ วจะตอ้ งมลี กั ษณะและเปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละเงอื่ นไข
ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) ต้องเป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีมลู ค่าเพ่มิ ซ่ึงประกอบกิจการค้าปลกี หรอื ประกอบกิจการอยา่ งอน่ื ซงึ่ มิใช่
การคา้ ปลีกทอ่ี ธิบดกี รมสรรพากรอนมุ ัตใิ ห้ใช้เครื่องบนั ทกึ การเก็บเงนิ ในการ
ออกใบกำ� กับภาษอี ยา่ งย่อ แลว้ แตก่ รณี

(2) ต้องเป็นเครื่องบันทึกการเก็บเงินที่มีลักษณะตามที่
อธบิ ดกี รมสรรพากรประกาศกำ� หนด แตไ่ มร่ วมถงึ สว่ นระบบควบคมุ กลางของ
เครอ่ื งคอมพิวเตอร์

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

24

(3) ต้องแจ้งการใช้เคร่ืองบันทึกการเก็บเงินในการออก
ใบก�ำกับภาษีอย่างย่อต่ออธิบดีกรมสรรพากรตามแบบท่ีอธิบดีกรมสรรพากร
กำ� หนด ภายในเวลา 30 วนั นบั แตว่ นั ที่ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หใ้ ชเ้ ครอื่ งบนั ทกึ การเกบ็ เงนิ

ข้อ 9 การหักค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพย์สินประเภท

คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ซอ้ื หรอื ไดร้ บั โอนกรรมสทิ ธเ์ิ พอื่ มีไวใ้ นการประกอบกจิ การของตนเอง ใหห้ กั ได้
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ภายใน 3 รอบระยะเวลาบญั ชี นบั แตว่ นั ท่ีไดท้ รพั ยส์ นิ นน้ั มา
ในกรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีใดไม่เต็ม 12 เดือน ให้เฉลี่ยตามส่วนส�ำหรับ
รอบระยะเวลาบญั ชนี นั้ โดยจะเลอื กใชว้ ธิ กี ารทางบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไปวธิ ีใดก็ได้

(2) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีสินทรัพย์ถาวร
ซงึ่ ไมร่ วมทด่ี นิ ไมเ่ กนิ 200 ลา้ นบาท และมกี ารจา้ งแรงงานไมเ่ กนิ 200 คน หรอื
ตามหลักเกณฑ์ท่ีอธิบดีประกาศก�ำหนดข้ึนภายหลัง ให้หักค่าสึกหรอและ
คา่ เสอื่ มราคาเบอ้ื งตน้ ในวนั ท่ีไดท้ รพั ยส์ นิ นนั้ มาในอตั รารอ้ ยละ 40 ของมลู คา่ ตน้ ทนุ
ส�ำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่ก�ำหนด
ไวใ้ น (1)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

25

ทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง หมายถึง
เครอ่ื งอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบอตั โนมตั ทิ ำ� หนา้ ทเี่ สมอื นสมองกลใชส้ ำ� หรบั แกป้ ญั หา
ต่าง ๆ ทั้งท่ีง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ และอุปกรณ์ของ
คอมพวิ เตอร์ หมายถงึ เคร่ืองมอื เครอื่ งใช้ เครอ่ื งชว่ ย หรือเครอื่ งประกอบกบั
คอมพิวเตอร์รวมทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้
ตามวตั ถปุ ระสงค์ (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบบั ที่ 473) พ.ศ. 2551
ใชบ้ งั คบั 7 สิงหาคม 2551)

ข้อ 10 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท

อาคารโรงงานที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีสินทรัพย์ถาวรซ่ึงไม่รวม
ที่ดนิ ไม่เกิน 200 ลา้ นบาท และมีการจ้างแรงงานไมเ่ กนิ 200 คน หรือตาม
หลกั เกณฑท์ อี่ ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนดขน้ึ ภายหลงั ซอื้ หรอื ไดร้ บั โอนกรรมสทิ ธเิ์ พอ่ื มีไว้
ในการประกอบกจิ การของตนเอง ใหห้ ักคา่ สึกหรอและคา่ เสอื่ มราคาเบื้องตน้
ในวนั ที่ไดท้ รพั ยส์ นิ นน้ั มาในอตั รารอ้ ยละ 25 ของมลู ค่าต้นทนุ สำ� หรับมลู คา่
ตน้ ทนุ ส่วนท่เี หลอื ให้หกั ตามเงอ่ื นไขและอตั ราทีก่ ำ� หนดไว้

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

26

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท
เครื่องจักรและอุปกรณ์ของเคร่ืองจักรท่ีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มี
สินทรัพย์ถาวรซ่ึงไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงาน
ไม่เกิน 200 คน หรือตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีประกาศก�ำหนดขึ้นภายหลังซื้อ
หรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หัก
ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบ้ืองต้นในวันท่ีได้ทรัพย์สินน้ันมาในอัตรา
ร้อยละ 40 ของมลู คา่ ตน้ ทุนสำ� หรบั มูลคา่ ตน้ ทนุ สว่ นทีเ่ หลอื ใหห้ ักตามเงือ่ นไข
และอัตราท่กี �ำหนดไว้

ข้อ 11 การหักค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพย์สินประเภท

อาคารถาวรทบ่ี รษิ ัททเี่ ปน็ สำ� นกั งานปฏบิ ตั กิ ารภมู ภิ าค(ROH) ซอ้ื หรอื ไดร้ บั โอน
กรรมสิทธิ์เพ่ือมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอ
และค่าเส่ือมราคาเบ้ืองต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละ 25
ของมูลค่าต้นทุน ส�ำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนท่ีเหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตรา
ท่วั ไปที่กำ� หนดไว้ ท้งั น้ี เฉพาะทรัพย์สนิ ที่ได้มาต้ังแตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 2545

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

27

ขอ้ 12 ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สามารถหักค่าสึกหรอ

และค่าเส่ือมราคาเบื้องต้นของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้
ผลิตสินค้าหรือให้บริการ ในวันท่ีได้ทรัพย์สินน้ันมาในอัตราร้อยละ 40
ของมูลค่าต้นทุน ส�ำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนท่ีเหลือให้หักตามอัตราปกติ ท้ังน้ี
ทรัพย์สินจะต้องได้มาและพร้อมใช้งานได้ภายในวันท่ี 31 ธันวาคม 2553
(ตามพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบบั ท่ี 473) พ.ศ. 2551)

ข้อ 13 ใหบ้ รษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทมี่ ที รพั ยส์ นิ ถาวรไมร่ วม

ทีด่ ินไมเ่ กนิ 200 ล้านบาท และจา้ งแรงงานไม่เกนิ 200 คน สามารถเลือกหัก
คา่ สกึ หรอและคา่ เสอื่ มราคาของทรพั ยส์ นิ ไดใ้ นอตั รารอ้ ยละ 100 ของมลู คา่ ตน้ ทนุ
โดยมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินดังกล่าวรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 500,000 บาท
ในหน่ึงรอบระยะเวลาบัญชี (ทั้งนี้ ใช้ส�ำหรับทรัพย์สินตามมาตรา 4(5)
ของพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบบั ท่ี 145) พ.ศ. 2527 แกไ้ ขโดยพระราชกฤษฎกี าฯ
(ฉบบั ท่ี 473) พ.ศ. 2551 โดยทรัพยส์ ินจะตอ้ งไดม้ าและพร้อมใชง้ านไดภ้ ายใน
วันท่ี 31 ธนั วาคม 2553)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

28

ข้อ 14 การหักค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพย์สินอย่างอ่ืน

ตามมาตรา 4(5) ของพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบบั ที่ 145) พ.ศ.2527 แตไ่ มร่ วมถงึ
ยานพาหนะที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้ประกอบอุตสาหกรรม
ท่องเท่ียวตามกฎหมายว่าด้วยการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยซ้ือหรือได้รับ
โอนกรรมสทิ ธเิ์ พอื่ มีไวใ้ ชใ้ นการประกอบกจิ การของตนเองใหห้ กั คา่ สกึ หรอและ
ค่าเสอื่ มราคาเบื้องตน้ ในวนั ท่ีไดท้ รัพยส์ ินนั้นมาในอัตรารอ้ ยละ 60 ของมูลค่า
ต้นทนุ ส�ำหรับมลู คา่ ตน้ ทุนส่วนท่ีเหลอื ใหห้ กั ตามเงอ่ื นไขและอตั ราท่ีกำ� หนดไว้
(ตามพระราชกฤษฎกี าฯ (ฉบับท่ี 505) พ.ศ. 2553)

ข้อ 15 การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท

เคร่ืองจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือให้บริการรับจ้างผลิตสินค้าท่ีบริษัทหรือ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซ่ึงอยู่ในพ้ืนที่ที่ทางราชการประกาศให้เป็นพื้นที่ที่เกิด
อทุ กภยั และไดร้ บั ความเสยี หายจากอทุ กภยั ในระหวา่ งวนั ท่ี25 กรกฎาคม2554
ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2555 ได้ซ้ือหรือได้รับโอนกรรมสิทธ์ิเพ่ือมีไว้ในการ
ประกอบกิจการของตนเอง ใหห้ กั คา่ สึกหรอและค่าเส่ือมราคาเบื้องต้นในวันที่
ได้ทรัพย์สินน้ันมาในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน ส�ำหรับมูลค่าต้นทุน
ส่วนท่ีเหลือ ให้หักตามเง่ือนไขและอัตราที่ก�ำหนดไว้ ท้ังนี้ เฉพาะทรัพย์สิน
ที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมท่ีจะใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ ต้ังแต่วันท่ี
25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม 2555 (ตามพระราชกฤษฎกี าฯ
(ฉบับท่ี 537) พ.ศ. 2555)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

29

(3) การตรี าคาทรัพยส์ นิ
ราคาทรพั ยส์ นิ อน่ื นอกจากราคาสนิ คา้ คงเหลอื ใหถ้ อื ตามราคา
ท่ีพึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ และในกรณีท่ีมีการตีราคาทรัพย์สินเพ่ิมขึ้น
ห้ามมิให้น�ำราคาท่ีตีราคาเพิ่มข้ึนมารวมค�ำนวณก�ำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ
สว่ นทรพั ยส์ นิ รายการใดมสี ทิ ธหิ กั คา่ สกึ หรอและคา่ เสอื่ มราคา ใหห้ กั คา่ สกึ หรอ
และค่าเสื่อมราคาในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิตามหลักเกณฑ์
วิธีการ เง่ือนไข และอตั ราเดิมท่ีใชอ้ ยกู่ ่อนตรี าคาทรพั ยส์ ินเพิม่ ขน้ึ โดยให้หัก
เพียงเท่าท่รี ะยะเวลาและมลู คา่ ต้นทุนทีเ่ หลอื อยู่สำ� หรับทรพั ยส์ นิ นัน้ เท่านัน้

(4) การโอนทรพั ย์สิน
ในกรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงินโดยไม่มี
คา่ ตอบแทน คา่ บรกิ าร หรอื ดอกเบย้ี หรอื มคี า่ ตอบแทน คา่ บรกิ าร หรอื ดอกเบยี้
ตำ่� กวา่ ราคาตลาดโดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร เจา้ พนกั งานประเมนิ มอี ำ� นาจประเมนิ
คา่ ตอบแทน คา่ บรกิ าร หรอื ดอกเบยี้ นนั้ ตามราคาตลาดในวนั ทโ่ี อน ใหบ้ รกิ าร
หรอื ใหก้ ยู้ มื เงนิ ได้ เชน่ บรษิ ัทแหง่ หนง่ึ จำ� หนา่ ยรถยนตซ์ ง่ึ มรี าคา 100,000 บาท
ซ่ึงเป็นราคาตลาด ให้กับผู้จัดการบริษัทในราคา 10,000 บาท เจ้าพนักงาน
ประเมนิ มอี �ำนาจประเมนิ ราคาขายรถยนต์ใหเ้ ทา่ กับราคาตลาดได้

ราคาตลาด หมายความว่า ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ
หรอื ดอกเบ้ีย ซงึ่ คสู่ ัญญาท่ีเป็นอสิ ระต่อกันพึงกำ� หนดโดยสุจริตในทางการคา้
กรณโี อนทรัพยส์ นิ ให้บรกิ าร หรือให้กู้ยืมเงนิ ทีม่ ีลักษณะ ประเภท และชนดิ
เช่นเดียวกนั ณ วันทโ่ี อนทรพั ย์สนิ ให้บรกิ าร หรือให้กู้ยมื เงนิ

(5) การคำ� นวณมลู คา่ ของทรพั ยส์ นิ และหนสี้ นิ ซงึ่ มคี า่ หรอื ราคา
เป็นเงินตราต่างประเทศ

เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหน้ีสินซ่ึงมีค่าหรือราคาเป็นเงินตรา
ต่างประเทศที่เหลืออยู่ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้ค�ำนวณค่า
หรอื ราคาเป็นเงนิ ตราไทย ดงั นี้

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

30

(ก) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนอกจาก (ข)
ให้ค�ำนวณค่าหรือราคาของเงินตราหรือทรัพย์สินเป็นเงินตราไทยตามอัตรา
ถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อ ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยได้ค�ำนวณไว้
และให้ค�ำนวณค่าหรือราคาของหนี้สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉล่ีย
ทธ่ี นาคารพาณชิ ยข์ ายซง่ึ ธนาคารแห่งประเทศไทยไดค้ �ำนวณไว้

(ข) กรณีธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นตามท่ี
รัฐมนตรกี �ำหนด ให้ค�ำนวณค่าหรอื ราคาของเงินตรา ทรัพยส์ นิ หรือหนีส้ นิ เปน็
เงินตราไทยตามอัตราถัวเฉล่ียระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคาร
พาณิชยท์ ธี่ นาคารแหง่ ประเทศไทยได้คำ� นวณไว้

เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหน้ีสิน ซ่ึงมีค่าหรือราคาเป็น
เงนิ ตราตา่ งประเทศทร่ี บั มาหรอื จา่ ยไปในระหวา่ งรอบระยะเวลาบญั ชี ใหค้ ำ� นวณ
คา่ หรอื ราคาเปน็ เงนิ ตราไทยตามราคาตลาดในวันท่รี บั มาหรือจา่ ยไปน้นั

(6) การตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื
ราคาสินค้าคงเหลือในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
ให้ค�ำนวณตามราคาทุนหรือราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดจะน้อยกว่าและให้ถือ
ราคาน้ีเป็นราคาสินค้าคงเหลือยกมาส�ำหรับรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ด้วย
การค�ำนวณราคาทุนดังกล่าว เมื่อได้ค�ำนวณตามหลักเกณฑ์ใดตามวิธีการ
ทางบัญชีแล้วให้ใช้หลักเกณฑ์น้ันตลอดไป เว้นแต่ จะได้รับอนุมัติจากอธิบดี
กรมสรรพากรจึงจะเปลยี่ นหลักเกณฑไ์ ด้
(7) การคำ� นวณราคาทนุ ของสนิ คา้ ทสี่ ง่ เขา้ มาจากตา่ งประเทศ
เจ้าพนักงานประเมินมีอ�ำนาจประเมิน โดยเทียบเคียงกับ
ราคาทนุ ของสนิ ค้าประเภทและชนิดเดยี วกันทส่ี ง่ เขา้ ไปในประเทศอ่นื ได้

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

31

(8) การค�ำนวณราคาทุนของสินค้าเปน็ เงินตราตา่ งประเทศ
ถา้ ราคาทนุ ของสนิ คา้ เป็นเงนิ ตราต่างประเทศ ให้ค�ำนวณเป็น
เงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนในท้องตลาดของวันท่ีได้สินค้านั้นมา
เวน้ แต่ เงนิ ตราต่างประเทศนั้นจะแลกได้ในอตั ราทางราชการก็ใหค้ �ำนวณเป็น
เงนิ ตราไทยตามอัตราทางราชการนน้ั
(9) การจ�ำหนา่ ยหน้สี ูญ
การจ�ำหน่ายหน้ีสูญจากบัญชีลูกหน้ีสามารถกระท�ำได้ต่อเม่ือ
เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทกี่ ำ� หนดโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 186
(พ.ศ. 2534) แต่ถ้าได้รับช�ำระหน้ีในรอบระยะเวลาบัญชีใดให้น�ำมาค�ำนวณ
เปน็ รายไดใ้ นรอบระยะเวลาบญั ชนี นั้ หนสี้ ญู รายใดไดน้ ำ� มาคำ� นวณเปน็ รายไดแ้ ลว้
หากไดร้ บั ชำ� ระในภายหลงั กม็ ใิ หน้ ำ� มาคำ� นวณเปน็ รายไดอ้ กี เชน่ หา้ งฯ ใหล้ กู คา้
เช่าซ้ือสินค้า โดยมีมูลค่าเช่าซ้ือแต่ละรายไม่ถึง 100,000 บาท และลูกค้า
และผู้ค�้ำประกันได้น�ำสินค้าไปขายต่อแล้วหลบหนีไป ไม่ทราบท่ีอยู่แน่นอน
ไมส่ ามารถตดิ ตามได้ และไม่มที รัพย์สินใด ๆ ทีจ่ ะชำ� ระหน้ีได้ โดยหา้ งฯ ไดม้ ี
หลักฐานการติดตามทวงถามให้ช�ำระหนี้ คือ (1) หนังสือบอกกล่าวทวงถาม

S
S

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

32

ลูกหนข้ี องทนายความและใบตอบรับการสง่ หนงั สอื ดังกล่าว ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ครง้ั
แล้วยังไม่ได้รับช�ำระหน้ี และ (2) รายงานการติดตามและสืบทรัพย์ลูกหน้ี
โดยมีผู้ใหญ่บ้านหรือเพื่อนบ้านข้างเคียงลงช่ือรับรองกรณีดังกล่าว เมื่อห้างฯ
มหี ลกั ฐานการตดิ ตามทวงถามใหช้ ำ� ระหนด้ี งั กลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ถอื ไดว้ า่ มหี ลกั ฐาน
การติดตามทวงถามให้ช�ำระหนี้ตามสมควรแก่กรณีแล้ว แต่ไม่ได้รับช�ำระหนี้
และหากจะฟ้องลูกหนี้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่คุ้มกับหน้ีที่จะได้รับช�ำระ ดังนั้น
หลกั ฐานดงั กลา่ วจงึ สามารถใชเ้ ปน็ หลกั ฐานการจำ� หนา่ ยหนส้ี ญู จากบญั ชลี กู หน้ีได้

(10) การค�ำนวณเงินปันผลหรือส่วนแบ่งของก�ำไร ให้ถือเป็น
รายได้ ดงั นี้

ผู้จา่ ยเงินปนั ผลหรือสว่ นแบง่ ของกำ� ไร เปน็ บริษัททต่ี ั้งข้ึนตาม
กฎหมายไทย กองทุนรวม หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายโดยเฉพาะ
ของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นส�ำหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อการส่งเสริมเกษตรกรรม
พาณชิ ยกรรม หรืออตุ สาหกรรม และกจิ การร่วมค้า

ผรู้ บั เงนิ ปนั ผลหรอื สว่ นแบง่ ของกำ� ไร มเี งอื่ นไขการคำ� นวณเปน็
รายได้ ดงั นี้

- เป็นบริษัทท่ีตั้งข้ึนตามกฎหมายไทย (ไม่ได้จดทะเบียน
ในตลาดหลกั ทรพั ย์) ได้รับยกเว้นกง่ึ หนึง่

- เป็นบริษัทท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย และจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์ ได้รับยกเว้นท้งั หมด

- เป็นบริษัทท่ีต้ังข้ึนตามกฎหมายไทย ไม่ได้จดทะเบียนใน
ตลาดหลกั ทรพั ย์ แตถ่ อื หนุ้ ในบรษิ ัทผจู้ า่ ยเงนิ ปนั ผล ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 25 ของ
หนุ้ ทงั้ หมดทม่ี สี ทิ ธอิ อกเสยี งในบรษิ ัทผจู้ า่ ยเงนิ ปนั ผล และบรษิ ัทผจู้ า่ ยเงนิ ปนั ผล
ไมไ่ ดถ้ อื หนุ้ ในบรษิ ัทผรู้ บั เงนิ ปนั ผลไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม ไดร้ บั ยกเวน้ ทงั้ หมด

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

33

การยกเวน้ เงนิ ปนั ผลหรอื สว่ นแบง่ ของกำ� ไร ผรู้ บั ตอ้ งถอื หนุ้ หรอื
หน่วยลงทุนที่เป็นเหตุเกิดเงินได้น้ันไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนวันประกาศ
จา่ ยเงนิ ปนั ผลหรอื สว่ นแบง่ ของกำ� ไร และตอ้ งถอื หนุ้ หรอื หนว่ ยลงทนุ นน้ั ตอ่ ไปอกี
ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื นนบั แตว่ นั ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผลหรอื สว่ นแบง่ ของกำ� ไรดว้ ย
เชน่ บริษัท ก. ถือหุน้ ในบริษัท ข. ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 25 ของห้นุ ทงั้ หมด
ที่มีสิทธิออกเสียง และถือหุ้นไว้เกินกว่า 3 เดือนนับแต่วันท่ีได้ซ้ือหุ้นจนถึง
วนั ท่ีได้รบั เงินปนั ผล และยังคงถอื หนุ้ ตอ่ ไปอกี เกนิ กว่า 3 เดอื นนับแตว่ ันที่ได้
รบั เงนิ ปนั ผล และบรษิ ัท ข. ไมไ่ ดถ้ อื หนุ้ ในบรษิ ัท ก. ไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม
ดังนั้น เงินปันผลที่บริษัท ก. ได้รับ ไม่ต้องมารวมค�ำนวณก�ำไรสุทธิ
เพอื่ เสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คลในรอบระยะเวลาบญั ชนี น้ั ตามมาตรา 65 ทวิ (10)
แหง่ ประมวลรัษฎากร

(11) ดอกเบี้ยกยู้ ืม ทอ่ี ยู่ในบังคบั ต้องถูกหกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้ตาม
กฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ให้น�ำมารวมค�ำนวณเป็นรายได้เพียง
เท่าที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ท่ีจ่ายไว้ตามกฎหมายดังกล่าว (ซึ่งตาม
พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ตามมาตรา 25 (10)
ห้ามมิให้น�ำค่าดอกเบี้ยเงินกู้ยืมมาถือเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิ
เพ่ือเสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียม แต่ให้ยกเว้นภาษีเงินได้แก่ผู้ได้รับดอกเบี้ย
โดยใหน้ ำ� เฉพาะสว่ นที่เหลือจากถกู หกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยมาค�ำนวณเปน็ รายได้)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

34

(12) เงนิ ปนั ผลหรอื เงนิ สว่ นแบง่ ของกำ� ไร ทอี่ ย่ใู นบงั คบั ตอ้ งถกู หกั
ภาษี ณ ทจี่ า่ ยไวต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยภาษเี งนิ ไดป้ โิ ตรเลยี ม ใหน้ ำ� มารวมคำ� นวณ
เป็นรายได้เพียงเท่าท่ีเหลือจากถูกหักภาษี ณ ท่ีจ่ายไว้ตามกฎหมาย
ดงั กลา่ ว และหากผรู้ บั เปน็ บรษิ ัทจดทะเบยี นหรอื เปน็ บรษิ ัททต่ี ง้ั ขน้ึ ตามกฎหมายไทย
ให้น�ำบทบัญญัติข้อ (10) มาใช้บังคับโดยอนุโลม (ไม่ได้จดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์ ให้น�ำมาค�ำนวณเป็นรายได้เพียงกึ่งหนึ่ง แต่หากเป็นบริษัท
ทีต่ งั้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย และจดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพย์ หรือเปน็ บรษิ ัท
ทตี่ ง้ั ขนึ้ ตามกฎหมายไทย ไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ย์ แตถ่ อื หนุ้ ในบรษิ ัท
ผู้จ่ายเงินปันผล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นท้ังหมดที่มีสิทธิออกเสียง
ในบริษัทผู้จ่ายเงินปันผล และบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลไม่ได้ถือหุ้นในบริษัทผู้รับ
เงินปนั ผลไม่วา่ ทางตรงหรอื ทางอ้อม ให้ได้รบั ยกเวน้ ทัง้ หมดด้วย)

(13) มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ ไม่ต้อง
นำ� เงนิ คา่ ลงทะเบยี น หรอื คา่ บำ� รงุ ที่ไดร้ บั จากสมาชกิ เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ที่ไดร้ บั
จากการรบั บรจิ าค หรอื จากการใหโ้ ดยเสนห่ า แลว้ แตก่ รณี มารวมคำ� นวณเปน็ รายได้

(14) ภาษีขาย ซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีเป็น
ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ ไดร้ บั หรอื พงึ ไดร้ บั และภาษมี ลู คา่ เพมิ่
ซง่ึ ไดร้ บั คนื จากการขอคนื ไมต่ อ้ งนำ� มารวมคำ� นวณเปน็ รายได้ (เนอื่ งจากภาระ
ภาษีมูลค่าเพ่ิมเป็นของผู้บริโภค บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซ่ึงเป็น
ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษมี ูลคา่ เพิม่ เปน็ เพียงคนกลางทร่ี ับภาษีมลู ค่าเพิ่ม
แล้วส่งต่อให้รัฐบาลผ่านกรมสรรพากรเท่านั้น มิได้ถือเป็นรายได้ของกิจการ
แตอ่ ยา่ งใด)

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

35

เงื่อนไขเก่ียวกับรายการท่ีไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณ
กำ� ไรสุทธิเพอ่ื เสยี ภาษี ตามมาตรา 65 ตรี มดี ังน้ี

(1) เงินส�ำรองต่าง ๆ เป็นรายจ่ายต้องห้าม นอกจากเงินส�ำรอง
ดังต่อไปนี้ สามารถนำ� มาเปน็ รายจ่ายในการค�ำนวณกำ� ไรสทุ ธิได้ คือ

(1.1) เงนิ สำ� รองจากเบยี้ ประกนั ภยั เพอื่ สมทบทนุ ประกนั ชวี ติ
ไดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 65 ของจำ� นวนเบยี้ ประกนั ชวี ติ ท่ีไดร้ บั ในรอบระยะเวลาบญั ชี
หลังจากหกั เบี้ยประกนั ภัยซึง่ เอาประกันภยั ต่อออกแลว้ ถอื เป็นรายจ่ายได้

(1.2) เงนิ สำ� รองจากเบยี้ ประกนั ภยั เพอื่ สมทบทนุ ประกนั ภยั อนื่
ทกี่ นั ไวก้ อ่ นคำ� นวณกำ� ไรเฉพาะสว่ นที่ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 40 ของจำ� นวนเบยี้ ประกนั ภยั
ท่ีไดร้ บั ในรอบระยะเวลาบญั ชหี ลงั จากหกั เบย้ี ประกนั ภยั ซง่ึ เอาประกนั ตอ่ ออกแลว้
ถอื เป็นรายจ่ายได้

(1.3) เงนิ สำ� รองทก่ี นั ไวเ้ ปน็ คา่ เผอื่ หนสี้ ญู หรอื หนส้ี งสยั จะสญู
ส�ำหรับหนี้ท่ีเกิดจากการให้สินเช่ือของธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ให้กันไว้ตามกฎหมายว่าด้วย
การธนาคารพาณชิ ยห์ รอื กฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบธรุ กจิ เงนิ ทนุ ธรุ กจิ หลกั ทรพั ย์
และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ แต่กรณีเฉพาะส่วนที่ตั้งเพ่ิมข้ึนจากเงินส�ำรอง
ประเภทดงั กล่าวทป่ี รากฏในงบดุลของรอบระยะเวลาบญั ชีก่อน

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

36

เงินส�ำรองท่ีต้ังข้ึนตามวรรคหนึ่งและได้น�ำมาถือเป็นรายจ่าย
ในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิไปแล้วในรอบระยะเวลาบัญชีใด
ตอ่ มาหากมกี ารตงั้ เงนิ สำ� รองประเภทดงั กลา่ วลดลง ใหน้ ำ� เงนิ สำ� รองสว่ นทตี่ งั้ ลดลง
ซงึ่ ไดถ้ อื เปน็ รายจา่ ยไปแลว้ นน้ั มารวมคำ� นวณเปน็ รายไดใ้ นรอบระยะเวลาบญั ชี
ที่ต้ังเงนิ ส�ำรองลดลงนนั้

(2) เงนิ ทีจ่ า่ ยเขา้ กองทนุ ใด ๆ เปน็ รายจ่ายตอ้ งห้าม เว้นแต่ เงินที่
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ
ตามพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ให้ถือเป็นรายจ่ายได้
ในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายเท่ากับจ�ำนวนเงินที่บริษัทได้จ่ายสมทบเข้ากองทุน
ส�ำรองเล้ียงชีพ ซ่ึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีก�ำหนด
โดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 183 (พ.ศ. 2533)

กองทุนส�ำรองเล้ียงชีพ หมายถึง กองทุนซ่ึงเป็นนิติบุคคล
ทจ่ี ดั ตง้ั ขนึ้ ตามพระราชบญั ญตั กิ องทนุ สำ� รองเลยี้ งชพี พ.ศ. 2530 โดยมลี กู จา้ ง
และนายจ้างตกลงกันจัดตั้งข้ึน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติน้ี
เพ่อื เป็นหลกั ประกันแก่ลูกจ้างในกรณีทีล่ กู จา้ งตาย ออกจากงาน หรือลาออก
จากกองทนุ โดยลกู จา้ งจา่ ยเงนิ สะสม และนายจา้ งจา่ ยเงนิ สมทบตามหลกั เกณฑ์
ทกี่ ำ� หนดไว้ในข้อบังคบั ของกองทนุ นัน้

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

37

(3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา หรือ
การกุศล เป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือ
เพ่ือการสาธารณประโยชน์ ตามที่อธิบดีก�ำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ในส่วน
ที่ไมเ่ กินรอ้ ยละ 2 ของก�ำไรสทุ ธิ และรายจ่ายเพื่อการศกึ ษาหรอื เพ่ือการกีฬา
ตามทอี่ ธบิ ดกี ำ� หนดโดยอนมุ ตั ริ ฐั มนตรี ในสว่ นที่ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 2 ของกำ� ไรสทุ ธิ
โดยให้เป็นไปตามท่ีอธิบดีกรมสรรพากรก�ำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี เช่น
พนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ท�ำงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตมาเป็นเวลานาน
ไดถ้ งึ แกค่ วามตายในขณะปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ บรษิ ัทไดจ้ า่ ยเงนิ สมนาคณุ จำ� นวนหนงึ่ ใหแ้ ก่
ครอบครัวของลูกจา้ งผู้นน้ั โดยไม่มรี ะเบยี บแตอ่ ย่างใด เงินสมนาคณุ ทีบ่ ริษัท
จ่ายให้กับครอบครัวของลูกจ้าง เป็นกรณีท่ีบริษัทจา่ ยให้เองโดยไม่มีข้อบังคับ
และมิใช่เป็นการจ่ายตามกฎหมายหรือระเบียบใด ๆ จึงเป็นรายจ่ายอันมี
ลักษณะเป็นการส่วนตัวหรือการให้โดยเสน่หา บริษัทจะน�ำมาหักเป็นรายจ่าย
ในการคำ� นวณก�ำไรสุทธไิ มไ่ ด้ ต้องหา้ มตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวล
รัษฎากร

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

38

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว หมายถึง รายจ่าย
ทแี่ ตล่ ะคนควรจะรบั ภาระในสว่ นของตนเปน็ การสว่ นตวั ไมเ่ กยี่ วกบั บรษิ ัทหรอื
ห้างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คล โดยผู้รบั ไมม่ ีความผกู พนั ในทางธรุ กจิ การงานกบั ผู้ให้

รายจ่ายอันมีลกั ษณะเปน็ การใหโ้ ดยเสนห่ า หมายถงึ รายจ่าย
ทจ่ี า่ ยไปโดยความรกั ใครช่ อบพอกนั เปน็ การสว่ นตวั ซง่ึ ผรู้ บั ไมม่ คี วามผกู พนั วา่
จะต้องกระท�ำการอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดตอบแทน หรือเรยี กว่า การให้เปล่า

รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการกุศล หมายถึง รายจ่าย
ท่ีจ่ายไปในการท�ำบุญท�ำทาน บริจาคทรัพย์สินช่วยการศึกษา การศาสนา
การสงั คมสงเคราะห์หรือการอ่ืน ๆ แตก่ รณีนีก้ ฎหมายยงั ยอมให้หกั ได้ในกรณี
เป็นการจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน
ทวั่ ๆ ไป ไมจ่ �ำกัดวา่ เปน็ ใคร

(4) ค่ารับรอง หรือค่าบริการส่วนท่ีไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ที่กฎหมายก�ำหนดเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ ค่ารับรองดังต่อไปนี้สามารถ
น�ำมาเป็นรายจา่ ยในการค�ำนวณกำ� ไรสุทธิได้ มีหลักเกณฑ์วา่

ก. คา่ รบั รองหรอื คา่ บรกิ ารนนั้ ตอ้ งเปน็ คา่ รบั รองหรอื คา่ บรกิ าร
อันจ�ำเป็นตามธรรมเนยี มประเพณที างธรุ กิจทั่วไป และบคุ คลซึ่งได้รับรองหรือ
รบั บรกิ ารตอ้ งมิใช่ลกู จา้ งของบริษัทหรือห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคล เว้นแต่ ลูกจา้ ง
ดงั กล่าวจะมหี นา้ ท่เี ข้ารว่ มในการรับรองหรอื การบริการน้นั ด้วย

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

39

ข. คา่ รับรองหรือคา่ บรกิ ารต้อง
1. เป็นค่าใช้จ่ายอันเก่ียวเน่ืองโดยตรงกับการรับรอง
หรือการบริการที่จะอ�ำนวยประโยชน์แก่กิจการ เช่น ค่าที่พัก ค่าอาหาร
ค่าเคร่ืองดื่ม ค่าดูมหรสพ ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกับการกีฬา เป็นต้น
2. เป็นค่าสิ่งของท่ีให้แก่บุคคลซึ่งได้รับการรับรองหรือ
รบั บรกิ าร ไมเ่ กนิ คนละ2,000 บาท ในแตล่ ะคราวทมี่ กี ารรบั รองหรอื การบรกิ าร
ค. จำ� นวนเงนิ คา่ รบั รองและคา่ บรกิ ารใหน้ ำ� มาหกั เปน็ รายจา่ ยได้
เทา่ กบั จำ� นวนเทา่ ทตี่ อ้ งจา่ ย แตร่ วมกนั ตอ้ งไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 0.3 ของจำ� นวนเงนิ
ยอดรายได้หรือยอดขายท่ีต้องน�ำมารวมหรือค�ำนวณก�ำไรสุทธิ ก่อนหัก
รายจ่ายใดในรอบระยะเวลาบัญชี หรือของจ�ำนวนเงินทุนที่ได้รับช�ำระแล้ว
ถงึ วนั สดุ ทา้ ยของรอบระยะเวลาบญั ชี แลว้ แตอ่ ยา่ งใดจะมากกวา่ ทง้ั น้ี รายจา่ ย
ทจ่ี ะนำ� มาหักไดจ้ ะต้องมีจ�ำนวนสงู สุดไมเ่ กิน 10 ล้านบาท

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

40

ง. ค่ารับรองหรือค่าบริการนั้นต้องมีกรรมการหรือผู้เป็น
หนุ้ สว่ นหรอื ผจู้ ดั การ หรอื ผไู้ ดร้ บั มอบหมายจากบคุ คลดงั กลา่ วเปน็ ผอู้ นมุ ตั หิ รอื
มคี �ำส่งั จ่ายค่ารับรองหรอื ค่าบริการน้ันด้วย และต้องมีใบรบั หรอื หลักฐานของ
ผรู้ บั เงนิ สำ� หรบั เงนิ ทจ่ี า่ ยเปน็ คา่ รบั รองหรอื คา่ บรกิ าร เวน้ แต่ ในกรณที ผ่ี รู้ บั เงนิ
ไม่มีหนา้ ทตี่ ้องออกใบรับตามประมวลรัษฎากร

(5) รายจา่ ยอนั มลี กั ษณะเปน็ การลงทนุ หรอื รายจา่ ยในการตอ่ เตมิ
เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือท�ำให้ดีขึ้นซ่ึงทรัพย์สินเป็นรายจ่ายต้องห้าม
แต่หากเป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมถือเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณ
ก�ำไรสุทธิได้ เช่น บริษัทแห่งหนึ่ง เช่าท่ีดินมาเพ่ือใช้ในการก่อสร้างอาคาร
สำ� นกั งานและคลงั สนิ คา้ บรษิ ัทจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการปรบั พนื้ ทเ่ี ชา่ ซง่ึ อยู่ใตพ้ นื้ ที่
ลานคอนกรตี รวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยในการปรบั พน้ื ทเี่ ชา่ ซง่ึ อยู่ใตพ้ น้ื ทอี่ าคารสำ� นกั งาน
และคลงั สนิ คา้ ถอื เปน็ การทำ� ใหม้ ลู คา่ ของทดี่ นิ สงู ขนึ้ บรษิ ัทจงึ ตอ้ งนำ� คา่ ใชจ้ า่ ย
ในการปรับพื้นที่ดังกล่าวไปรวมกับราคาที่ดินและถือเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะ
เป็นการลงทนุ ตามมาตรา 65 ตรี (5) แหง่ ประมวลรัษฎากร

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

41

รายจา่ ยอนั มลี กั ษณะเปน็ การลงทนุ หมายถงึ รายจา่ ยทกี่ จิ การ
จ่ายไปเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์ต่อกิจการเป็นระยะเวลานาน
เกนิ กว่า 1 รอบระยะเวลาบัญชี

รายจ่ายในการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือท�ำให้
ทรัพย์สินดีข้ึน หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้อายุการใช้งานของทรัพย์สินเดิม
ยาวนานข้ึน หรอื มีสภาพดขี ึน้

(6) เบ้ียปรับและหรือเงินเพ่ิมภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา
ภาษีเงนิ ได้บรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ ุคคลเป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม

คำ� วา่ “เบยี้ ปรบั และหรอื เงนิ เพม่ิ ภาษอี ากร คา่ ปรบั ทางอาญา”
หมายถงึ เบีย้ ปรับและหรือเงนิ เพ่มิ และคา่ ปรับอาญา ตามกฎหมายภาษอี ากร
ทุกประเภท รวมถึงค่าปรับที่เป็นโทษทางอาญา และเงินเพิ่มภาษีอากรตาม
กฎหมายอื่นด้วย (ตามค�ำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากร
ที่ 40/2560 ลงวันที่ 9 มนี าคม 2560 ท่ีอา้ งองิ คำ� พพิ ากษาฎีกา ที่ 1109/2559)

(6 ทวิ) ภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีช�ำระหรือพึงช�ำระและภาษีซ้ือของ
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนเป็นรายจ่าย
ต้องห้าม เนื่องจากภาษีมูลค่าเพ่ิมมิใช่รายได้หรือรายจ่ายของกิจการ เพราะ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมเมื่อถูกเรียกเก็บภาษีขายจากผู้ขาย
สนิ คา้ หรอื ผใู้ หบ้ รกิ าร ผทู้ ถี่ กู เรยี กเกบ็ ภาษกี น็ ำ� ภาษนี น้ั มาเครดติ โดยหกั ออกจาก
ภาษีขายของตนในแต่ละเดือนภาษีหรือขอคืนภาษีท่ีถูกเรียกเก็บนั้น ดังน้ัน
ภาษที ถ่ี กู เรยี กเกบ็ นน้ั เรยี กวา่ ภาษซี อื้ จงึ ไมถ่ อื เปน็ รายจา่ ยของกจิ การ เวน้ แต่
ภาษีซ้ือต้องห้ามบางลักษณะที่ก�ำหนดไว้ในมาตรา 82/5 (4) และ (6)
แหง่ ประมวลรษั ฎากร นำ� มาเป็นรายจ่ายในการคำ� นวณก�ำไรสุทธไิ ด้ เนือ่ งจาก
ผปู้ ระกอบการไมส่ ามารถนำ� ไปเครดติ ภาษีได้ ซง่ึ เปน็ ภาระแกผ่ เู้ สยี ภาษี อาทิ

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

42

1. ภาษีซ้ือท่ีเกิดจากรายจ่ายเพ่ือการรับรองหรือเพ่ือการอันมี
ลักษณะทำ� นองเดยี วกนั

2. ภาษซี ื้อทเี่ กดิ จากการซอื้ เช่าซ้ือ เชา่ หรือรบั โอนรถยนต์นั่ง
และรถยนต์โดยสารท่มี ที ่นี ัง่ ไมเ่ กิน 10 คน และภาษีซอ้ื ท่เี กิดจากการซอื้ สนิ คา้
หรือการรับบริการท่ีเก่ียวข้องกับรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารท่ีมีที่นั่งไม่เกิน
10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพิกัดอตั ราภาษสี รรพสามติ

3. ภาษีซ้ือตามใบก�ำกับภาษอี ยา่ งย่อ
4. ภาษซี อ้ื ทเี่ กดิ จากการซอ้ื ทรพั ยส์ นิ เพอ่ื ใช้ หรอื จะใชใ้ นกจิ การ
ประเภทที่ไมต่ อ้ งเสียภาษีมูลค่าเพมิ่ หรอื ภาษีซอ้ื ท่ีเกดิ จากรายจ่ายของกจิ การ
ประเภทท่ีไมต่ อ้ งเสยี ภาษมี ูลคา่ เพ่ิม
5. ภาษซี อ้ื ทเ่ี กดิ จากการกอ่ สรา้ งอาคารหรอื อสงั หารมิ ทรพั ยอ์ น่ื
เพอ่ื นำ� มาใชใ้ นกจิ การของตนเอง ซงึ่ เปน็ กจิ การประเภททต่ี อ้ งเสยี ภาษมี ลู คา่ เพมิ่
ภาษซี อื้ ดงั กลา่ วใหม้ สี ทิ ธนิ ำ� มาหกั ออกจากภาษขี ายในการคำ� นวณภาษมี ลู คา่ เพม่ิ
ต่อมาผู้ประกอบการได้ขายหรือให้เช่าอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์น้ัน
หรือน�ำไปใช้ในกิจการประเภทท่ีไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 3 ปีนับแต่
เดือนภาษีทีก่ ่อสรา้ งเสรจ็ สมบรู ณ์

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

43

6. ภาษซี อื้ ตามใบกำ� กบั ภาษแี บบเตม็ รปู ทคี่ ำ� วา่ “ใบกำ� กบั ภาษ”ี
ไมไ่ ดถ้ กู ตพี มิ พ์ หรอื ไมไ่ ดจ้ ดั ทำ� ขนึ้ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ในกรณจี ดั ทำ� ใบกำ� กบั ภาษี
ด้วยคอมพวิ เตอรท์ ้ังฉบับ

7. ภาษีซื้อตามใบก�ำกับภาษีแบบเต็มรูป ซ่ึงมีข้อความอื่น
ที่อธิบดีก�ำหนดในใบก�ำกับภาษีที่ไม่ได้จัดท�ำขึ้นด้วยวิธีการตามประกาศ
อธิบดกี รมสรรพากร

8. ภาษีซื้อตามใบก�ำกับภาษีแบบเต็มรูป ซึ่งมีรายการ
ในใบกำ� กบั ภาษเี ปน็ สำ� เนา(Copy) เปน็ ภาษซี อื้ ตอ้ งหา้ ม แตไ่ มร่ วมถงึ ใบกำ� กบั ภาษี
ท่ีไดจ้ ดั ทำ� รวมกบั เอกสารทางการคา้ อนื่ ซงึ่ มจี ำ� นวนหลายฉบบั และใบกำ� กบั ภาษี
ซ่ึงมีรายการในใบก�ำกับภาษีเป็นส�ำเนามีข้อความว่า “เอกสารออกเป็นชุด”
ปรากฏอย่ดู ว้ ย

9. ภาษีซ้ือส่วนท่ีเฉล่ียเป็นของกิจการประเภทท่ีไม่ต้องเสีย
ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ ซ่ึงไดค้ ำ� นวณตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขตามประกาศ
อธบิ ดกี รมสรรพากร

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

44

10. ภาษซี อื้ ทเ่ี กดิ จากการซอ้ื สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ าร ซง่ึ ผปู้ ระกอบการ
จ ด ท ะ เ บี ย น ภ า ษี มู ล ค ่ า เ พิ่ ม น� ำ ไ ป ใ ช ้ ห รื อ จ ะ ใ ช ้ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร
ทั้งประเภทท่ีต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมและประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
และผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ใชส้ ทิ ธเิ ลอื กไมน่ ำ� ภาษซี อื้ ทงั้ หมด
ไปหักในการค�ำนวณภาษีมูลค่าเพ่ิม เน่ืองจากกิจการประเภทท่ีไม่ต้องเสีย
ภาษมี ลู ค่าเพ่ิมมีรายไดไ้ ม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 90 ของรายได้ของกิจการทัง้ หมด

11. ภาษีซื้อตามใบก�ำกับภาษีแบบเต็มรูป ซ่ึงรายการต่าง ๆ
ไดถ้ กู แกไ้ ขหรอื ถกู เปลย่ี นแปลงเปน็ ภาษซี อ้ื ตอ้ งหา้ ม เวน้ แต่ รายการซงึ่ ไดถ้ กู แกไ้ ข
เปลยี่ นแปลงตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทอ่ี ธบิ ดกี �ำหนด

12. ภาษีซื้อทีเ่ กิดจากการซื้อ เช่าซ้ือ หรือรบั โอนรถยนตท์ ี่ไม่ใช่
รถยนตน์ ง่ั และรถยนตโ์ ดยสารท่มี ีท่นี ่ังไมเ่ กิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพกิ ดั
อตั ราภาษสี รรพสามติ เพอ่ื ใชห้ รอื จะใชใ้ นกจิ การประเภททต่ี อ้ งเสยี ภาษมี ลู คา่ เพมิ่
และต่อมาภายใน 3 ปีนับแต่เดือนภาษีที่ได้รถยนต์ไว้ในครอบครองได้มี
การดดั แปลงรถยนตด์ งั กลา่ วเปน็ รถยนตน์ ง่ั หรอื รถยนตโ์ ดยสารทมี่ ที น่ี ง่ั ไมเ่ กนิ
10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

45

13. ภาษีซื้อตามใบก�ำกับภาษีแบบเต็มรูป ซ่ึงมีรายการ ช่ือ
ท่ีอยู่ เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกหรือตัวแทนผู้ออกใบก�ำกับภาษี
ไมไ่ ดพ้ มิ พข์ นึ้ หรอื ไมไ่ ดจ้ ดั ทำ� ขน้ึ ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ ในกรณจี ดั ทำ� ใบกำ� กบั ภาษขี น้ึ
ดว้ ยระบบคอมพิวเตอรท์ ง้ั ฉบับ

(7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทน ของผู้เป็นหุ้นส่วน
ในห้างหุ้นสว่ นนิตบิ ุคคลเปน็ รายจา่ ยต้องหา้ ม หากมองตามหลกั การบญั ชีแลว้
การถอนเงนิ ของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นไมถ่ อื เปน็ รายจา่ ยอยแู่ ลว้ เปน็ การถอนเงนิ ลงทนุ
หรือเป็นการแบ่งก�ำไรกัน ไม่เกี่ยวข้องกับการบันทึกรายจ่ายของกิจการ
แต่อย่างใด

(8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้น หรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนท่ีจ่าย
เกนิ สมควรเป็นรายจา่ ยต้องหา้ ม

เจ้าพนักงานมีอ�ำนาจพิจารณารายจ่ายประเภทเงินเดือนของ
ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน เปรียบเทียบกับรายอ่ืนซ่ึงอยู่ในฐานะหรือลักษณะ
เดียวกัน อยู่ในหน่วยงานเดียวกัน หรือท�ำเลเดียวกัน ประกอบกิจการค้า
อย่างเดยี วกันหรือลกั ษณะเดียวกัน

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

46

(9) รายจ่ายซึ่งก�ำหนดข้ึนเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หรือรายจ่าย
ซงึ่ ควรจะไดจ้ า่ ยในรอบระยะเวลาบญั ชอี น่ื เปน็ รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม เวน้ แต่ ในกรณี
ที่ไมส่ ามารถจะลงจา่ ยในรอบระยะเวลาบญั ชีใดกอ็ าจลงจา่ ยในรอบระยะเวลาบญั ชี
ท่ีถดั ไปได้

รายจ่ายท่ีก�ำหนดข้ึนเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หมายความถึง
รายจ่ายใด ๆ ท่ีบรษิ ัทหรอื หา้ งห้นุ ส่วนนิติบุคคลได้ก�ำหนดขนึ้ เองโดยไมม่ ีการ
จา่ ยจริง โดยไมไ่ ดร้ บั ทรพั ย์สินหรอื ประโยชน์ใด ๆ เปน็ การตอบแทน

(10) คา่ ตอบแทนแกท่ รพั ยส์ นิ ซงึ่ บรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลเปน็
เจา้ ของเองและใชเ้ องเปน็ รายจา่ ยตอ้ งหา้ ม เชน่ บรษิ ัทตงั้ ขน้ึ ตามกฎหมายของ
ตา่ งประเทศ ไดม้ าเปดิ สำ� นกั งานสาขาในประเทศไทย โดยปลกู อาคารสำ� นกั งาน
สาขาในประเทศไทย และคดิ คา่ เชา่ ปลี ะ 600,000 บาท คา่ เชา่ จำ� นวน 600,000 บาท
ทบี่ รษิ ัทสาขาในประเทศไทยจา่ ยใหก้ บั บรษิ ัทสำ� นกั งานใหญ่ในตา่ งประเทศนน้ั
จะน�ำมาถือเป็นรายจ่ายในการค�ำนวณก�ำไรสุทธิของบริษั ทสาขา
ในประเทศไทยไม่ได้ เพราะกฎหมายถือได้ว่าบริษัทส�ำนักงานใหญ่
ใ น ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กั บ บ ริ ษั ท ส า ข าใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป ็ น นิ ติ บุ ค ค ล เ ดี ย ว กั น
การจ่ายเงินค่าเช่าดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินที่บริษัท
เป็นเจา้ ของเองและใช้เองตามมาตรา 65 ตรี (10) แหง่ ประมวลรัษฎากร

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

47

(11) ดอกเบย้ี ทคี่ ดิ ใหส้ ำ� หรบั เงนิ ทนุ เงนิ สำ� รองตา่ ง ๆ หรอื เงนิ กองทนุ
ของตนเองถอื เป็นรายจ่ายตอ้ งหา้ ม

(12) ผลเสยี หายอนั อาจไดก้ ลบั คนื เนอื่ งจากการประกนั หรอื สญั ญา
คุม้ กนั ใด ๆ หรือผลขาดทนุ สุทธใิ นรอบระยะเวลาบัญชกี อ่ น ๆ ถือเป็นรายจ่าย
ต้องห้าม เว้นแต่ ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชี
ปีปัจจุบัน กรณีความเสียหายน้ันมีทางท่ีจะได้รับการชดใช้ตามสัญญา แต่ถ้า
ไดร้ บั ค่าชดใชเ้ พยี งบางสว่ น ส่วนท่ีเหลือกล็ งเป็นรายจ่ายได้

ผลขาดทนุ สทุ ธิ หมายถงึ ผลขาดทุนสทุ ธทิ างภาษี คือ ผลตา่ ง
ของรายได้กับรายจ่ายที่หักได้ตามประมวลรัษฎากรซ่ึงอยู่ภายใต้เงื่อนไข
ในมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรษั ฎากรแล้ว

(13) รายจา่ ยซงึ่ มใิ ชร่ ายจา่ ยเพอ่ื หากำ� ไร หรอื เพอื่ กจิ การโดยเฉพาะ
ถอื เป็นรายจา่ ยต้องห้าม เพราะบรษิ ัทหรอื ห้างหุน้ ส่วนตง้ั ขึน้ เพ่ือมุ่งคา้ หากำ� ไร
การช�ำระเงินควรอยู่ภายในวัตถุประสงค์ของการประกอบกิจการของบริษัท
หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คลนั้น

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

48

(14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ
ถือเปน็ รายจ่ายตอ้ งหา้ ม

รายจา่ ยทส่ี าขาในประเทศของบรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คล
ทตี่ งั้ ข้นึ ตามกฎหมายของต่างประเทศไดจ้ ่ายไปให้ส�ำนักงานใหญห่ รอื สาขาอืน่
ในต่างประเทศเพื่อเป็นค่าตอบแทนการให้ความช่วยเหลือหรือการให้บริการ
แกก่ จิ การของสาขาในประเทศไทย ทจ่ี ะนำ� มาถอื เปน็ รายจา่ ยในการคำ� นวณกำ� ไรสทุ ธิ
และไม่เข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้าม จะต้องเป็นกรณีที่มีหลักฐาน
ชดั แจ้งว่ารายจ่ายดงั กลา่ ว เปน็ รายจา่ ยท่จี า่ ยไป โดยเป็นรายจา่ ยท่มี ีลกั ษณะ
ดังตอ่ ไปนี้

1. รายจ่ายเก่ียวกับการให้ความช่วยเหลือหรือให้บริการของ
สำ� นกั งานใหญห่ รอื สาขาอน่ื น้นั เกยี่ วกับกิจการของสาขาในประเทศไทย

2. รายจ่ายทเ่ี กี่ยวกับการคน้ คว้าและพัฒนา (Research and
Development) โดยสาขาในประเทศไทยจะต้องได้รับบริการหรือได้น�ำ
ผลการค้นคว้าและพัฒนามาใช้ประโยชน์ในกิจการของสาขาในประเทศไทย
ตามความเป็นจริง

-| ภาษีเงินได้นิติบุคคล กับ รายจ่ายต้องห้าม |-

49


Click to View FlipBook Version