The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pinnarat.see, 2020-06-14 09:29:54

คู่มือภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

Keywords: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษบีเงุคคินลไธดรร มดา

B ค�ำน�ำ
BB
บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรได้ก�ำหนดให้
บุคคลธรรมดาท่ีมีเงินได้ในปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว
มีหน้าท่ีต้องยื่นแบบแสดงรายการและช�ำระภาษี
ภายในวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม
ของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ เอกสารเผยแพร่ฉบับน้ี
จึงได้น�ำความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับสิทธิและหน้าท่ี
ของผู้มีเงินได้ รวมท้ังวิธีการค�ำนวณภาษีเพื่อให้
ผู้เสียภาษีได้รู้และเข้าใจ รวมทั้งได้ใช้เป็น
แนวทางปฏิบัติทางภาษีได้อย่างถูกต้องและเป็น
แนวทางเดยี วกนั ทงั้ น้ี ยงั มรี ายละเอยี ดในสว่ นอนื่ ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งอกี มากมายทส่ี ามารถคน้ หาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ
ได้จากกรมสรรพากรที่ www.rd.go.th

หวงั ว่าเอกสารเผยแพร่ฉบบั นี้จะเปน็ ประโยชน์
ตอ่ ผูม้ เี งินได้และผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง รวมท้งั ผ้สู นใจทวั่ ไป
ได้เปน็ อย่างดี

กรมสรรพากร
กันยายน 2561

2 ภาษีเงินได้ 26 ย่ืนภาษีดว้ ย
บุ คคลธรรมดา แบบแสดงรายการ
คืออะไร อะไร

4 ใครมหี นา้ ท่ี 28 ย่ืนแบบ
เสียภาษีเงินได้ แไดสท้ด่ีไงหรนายการภาษี
บุ คคลธรรมดา
29 วิธีการ
6 หลักการจัดเกบ็ ช�ำระภาษี
ภาษเี งนิ ได้
บุ คคลธรรมดา 30 อตั ราภาษเี งินได้
บุ คคลธรรมดา
8 ประเภท
ภาษเี งินได้ 32 วธิ กี าร
บุ คคลธรรมดา ค�ำนวณภาษี

12 หอักะไครไา่ ดใช้บ้จา้ ่างย

20 หักคา่ ลดหย่อน 36 ความผิด
และยกเว้น ใถนา้ ไเวมลช่ า�ำทร่กีะภำ� าหษนีด
อะไรได้บา้ ง

1

ภาษีเงินได้

คบุคือคลอธระรมไดรา

2

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3

แสกด�ำงหรนาดยยก่ืนาแรบภบาษี

มมกีนรถาึงาคคมม

B ภาษีเงินได้บุ คคลธรรมดา คือ ภาษี
ท่ีจัดเก็บจากบุ คคลท่ัวไปท่ีมีเงินได้
ไมว่ า่ ประเภทใด ชนดิ ใด ถา้ ไมม่ กี ฎหมาย
ยกเวน้ ใหแ้ ลว้ กอ็ ยูใ่ นขา่ ยต้องเสียภาษี
หรือคือ ภาษีท่ีจัดเก็บจากหน่วยภาษีที่มี
ลกั ษณะพเิ ศษตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด และมรี ายได้
เกิดขึ้นตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด ซึ่งโดยปกติจัดเก็บ
เปน็ รายปี รายไดท้ ไ่ี ดร้ บั ในปใี ด ๆ ผมู้ เี งนิ ไดม้ หี นา้ ที่

B ต้องน�ำไปแสดงรายการด้วยตนเองตามแบบ
แสดงรายการภาษที กี่ ำ� หนด ภายในเดอื นมกราคม
ถึงเดือนมีนาคมของปีถัดไป ผู้มีเงินได้บางกรณี
กฎหมายยงั กำ� หนดใหย้ น่ื แบบฯ เสยี ภาษตี อนครง่ึ ปี
ส�ำหรับรายได้ท่ีเกิดข้ึนจริงในช่วงคร่ึงปีแรก
เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีท่ีต้องช�ำระ
และเงินได้บางกรณีกฎหมายยังก�ำหนดให้
ผู้จา่ ยทำ� หน้าท่หี ักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ที่จ่าย
เพอ่ื ให้มกี ารทยอยช�ำระภาษีด้วย

2

ใครมีหน้าท่ี

เสียภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา

ตามกฎหมายประมวลรษั ฎากร กำ� หนดให้
บุ คคลธรรมดาท่ีมีเงินได้มีหน้าท่ีต้อง
เสยี ภาษี โดยไดก้ ำ� หนดหนว่ ยภาษเี งนิ ไดไ้ ว้
ได้แก่

บุ คคลธรรมดา

ผู้ถระึงหแวก่า่คงวปาีภมาตษาี ย
4

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 5

ทก่ียอังไงมม่ไรดด้แกบ่ง
ห้างหุ้นสน่วิตนิบสุ คาคมลัญท่ีไม่ใช่

คณะนบิตุ คิบคุ คลคทล่ีไม่ใช่

B

3

หลักการ

จัดเก็บภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา

6

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 7

การจดั เกบ็ ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา TAX
มหี ลกั การจดั เกบ็ แบง่ เปน็ 2 หลกั การ
ได้แก่

หลกั แหลง่ เงนิ ได้ (Source Rule)

สำ� หรบั เงนิ ไดท้ เ่ี กดิ ขนึ้ ในประเทศไทย เนอ่ื งจาก
หน้าที่งาน หรือกิจการท่ีท�ำในประเทศไทย
หรือกิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือ
ทรัพย์สนิ ทีอ่ ยู่ในประเทศไทย

หลกั ถ่นิ ท่ีอยู่ (Resident Rule)

ส�ำหรับผู้ท่ีมีถ่ินที่อยู่ในประเทศไทยรวมกันถึง
180วนั ในปภี าษใี ดและมเี งนิ ไดจ้ ากแหลง่ เงนิ ได้
ในตา่ งประเทศ เนอื่ งจากหนา้ ทงี่ านหรอื กจิ การ
ที่ท�ำในต่างประเทศ หรือเนื่องจากทรัพย์สิน
ทอี่ ยใู่ นตา่ งประเทศ และผมู้ เี งนิ ไดน้ ำ� เงนิ ไดน้ นั้
เข้ามาในประเทศไทยภายในปีภาษีเดียวกับ
ปที เี่ กดิ เงนิ ไดน้ ้ัน

4

ประเภท
ภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา เงินได้ท่ีต้อง

เสียภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา
เรยี กวา่ เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ หมายถงึ เงนิ ได้
อันเข้าลักษณะพึงต้องเสียภาษีเงินได้
ซ่ึงเกิดจากหน้าท่ีงานท่ีท�ำ กิจการท่ีท�ำ
หรอื เน่อื งจากทรพั ยส์ นิ ไดแ้ ก่ เงนิ ทรพั ยส์ นิ
ประโยชน์อ่ืนใดท่ีค�ำนวณได้เป็นตัวเงิน
เงินภาษีท่ีผู้จ่ายออกแทน หรือเครดิตภาษี
ตามท่กี ฎหมายกำ� หนด

8

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 9

เกณฑต์เ้องงินยได่ืน้พแบึงบปแรสะเดมงินรขาั้นยตก่�ำาทร่ีผภูา้มษีเงี ินได้

1 โสด สมรส
120,000 220,000
บุคคลธรรมดาและ 60,000 120,000
ผูถ้ ึงแกค่ วามตาย
มีเงินได้พงึ ประเมนิ เกิน

ดังนี้

ประเภทเงินได้
เงินเดอื นเพียงอยา่ งเดยี ว
เงินไดป้ ระเภทอ่นื

3 2

ทก่ยี องั ไงมมไ่ รดด้แกบ่ง ห้างหนุ้ ส่วนสามญั ท่ไี มใ่ ช่
มเี งนิ ได้ นิตบิ ุคคลหรือคณะบุคคล

พึงประเมินเกนิ ท่ีไมใ่ ช่นติ ิบุคคล
มเี งนิ ได้พงึ ประเมนิ เกนิ
60,000
60บ,0าท00
บาท

ปัจจุ บันประมวลรัษฎากรแบ่งประเภท

1 เงนิ ไดป้ ระเภทท่ี 1 ได้แก่ เงินได้จากการ
จา้ งแรงงาน เชน่ เงนิ เดอื น คา่ จา้ ง เบยี้ เลย้ี ง โบนสั
บำ� เหน็จบ�ำนาญ เงนิ คา่ เชา่ บา้ น ฯลฯ

2 เงินไดป้ ระเภทท่ี 2 ได้แก่ เงินได้เนื่องจาก
หน้าท่ีหรือต�ำแหน่งงานที่ท�ำ หรือจากการ
รับท�ำงานให้ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า
ส่วนลด เบ้ียประชมุ บำ� เหน็จ โบนสั ฯลฯ

3 เงินไดป้ ระเภทท่ี 3 ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์
คา่ แหง่ ลขิ สทิ ธิ์ หรอื สทิ ธอิ ยา่ งอน่ื เงนิ ปี หรอื เงนิ ได้
ที่มีลักษณะเป็นเงินรายปีอันได้มาจากพินัยกรรม
นติ กิ รรมอยา่ งอ่ืน หรอื คำ� พพิ ากษาของศาล

4 เงินได้ประเภทท่ี 4 ไดแ้ ก่ ดอกเบยี้ เงนิ ปนั ผล
เงนิ สว่ นแบง่ กำ� ไรเงนิ ลดทนุ เงนิ เพม่ิ ทนุ ผลประโยชน์
ทีไ่ ดจ้ ากการโอนหุ้น ฯลฯ

10

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 11

8เงินได้พึงประเมิน เป็น ประเภท ได้แก่

5 เงินได้ประเภทท่ ี 5 ไดแ้ ก่ เงนิ หรอื ผลประโยชนอ์ น่ื
ที่ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน การผิดสัญญาเช่าซื้อ
ทรพั ยส์ นิ หรือการผดิ สัญญาซ้ือขายเงินผอ่ น

6 เงินได้ประเภทท่ ี 6 ไดแ้ ก่ เงนิ ไดจ้ ากวชิ าชพี อสิ ระ
เชน่ วชิ าชพี กฎหมาย การประกอบโรคศลิ ปะ (แพทย)์
วศิ วกรรม สถาปตั ยกรรม การบญั ชี ประณตี ศลิ ปกรรม
หรอื วชิ าชพี อนื่ ซง่ึ จะไดม้ พี ระราชกฤษฎกี ากำ� หนดไว้

7 เงินไดป้ ระเภทท่ ี 7 ไดแ้ ก่ เงนิ ไดจ้ ากการรบั เหมา
ท่ีผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
ในส่วนส�ำคัญนอกจากเครื่องมือ เช่น การรับเหมา
ก่อสรา้ ง

8 เงินได้ประเภทท่ ี 8 ได้แก่ เงนิ ได้จากการธรุ กิจ
การพาณชิ ย์ การเกษตร การอตุ สาหกรรม การขนสง่
การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือเงินได้จากการอ่ืน
ทไี่ ม่ไดร้ ะบุไวใ้ นเงินได้ประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7

5

ไหักอดค่าะ้บใไช้า้จร่างย

ในการค�ำนวณภาษีเงินได้บุ คคลธรรมดา
กฎหมายก�ำหนดให้เงินได้แต่ละประเภท
ไแสลปา้วมหจาั กึงรลถนด�ำหเักหงคินยไ่่าอดใชน้ท้จ่ีห่าเักพยค่ื อ่า(ใใตชห้น้จ้ ไท่าดุนย้ เแ)งลิ นอ้วไอทดกั้ง้ สกหุ ท่มอดนธิ
ไปค�ำนวณภาษีตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา

12

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 13

โดยเงินได้พึงประเมินท่ีจะน�ำมาใช้ในการค�ำนวณภาษี
แบง่ ออกเปน็ 8ประเภท(มาตรา40(1)-(8)) เงนิ ไดแ้ ตล่ ะประเภท
มกี ารหกั คา่ ใชจ้ า่ ยในอตั ราทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยผมู้ เี งนิ ไดส้ ามารถ
เลือกหักค่าใชจ้ ่ายได้ 2 แบบ คอื

% แบบท่ี 1

กตำ� หกานมาดรทไห่กี วักฎเ้ คปห็นา่ มใอาชตัย้จกร่าาย�ำรหเห้อนมยดาละ

แบบท่ี 2

ตกาามแรลคหะวกั สาคมมา่ คจใชวำ� ้จรเปา่ ็นย

ประเภทเงินได้

1 เงนิ ไดจ้ ากการจ้างแรงงาน เช่น เงนิ เดอื น
ค่าจ้าง โบนสั เบ้ียเล้ยี ง ฯลฯ

2 เงินได้จากหน้าท่ีหรอื ต�ำแหนง่ งานทีท่ �ำ
หรือจากการรับทำ� งานให้ เช่น คา่ ธรรมเนียม
คา่ นายหนา้ ฯลฯ

3 คา่ แห่งกู๊ดวลิ ล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์
หรือสิทธิอย่างอื่น

4 ดอกเบี้ย เงนิ ปันผล ส่วนแบง่ ก�ำไร ฯลฯ
5 เงนิ ไดจ้ ากการให้เช่าทรัพยส์ ิน
บา้ น โรงเรอื น สงิ่ ปลูกสรา้ ง แพ
ที่ดินท่ใี ชใ้ นการเกษตร
ทด่ี นิ ท่ไี มไ่ ด้ใชใ้ นการเกษตร
ยานพาหนะ
ทรพั ย์สินอ่นื
การผดิ สญั ญาเชา่ ซอ้ื การผดิ สญั ญาซอื้ ขายเงนิ ผอ่ น

6 วิชาชีพอิสระ
การประกอบโรคศิลปะ
วิชากฎหมาย วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม
การบัญชี ประณตี ศลิ ปกรรม

7 เงนิ ได้จากการรับเหมา (ผรู้ ับเหมาตอ้ งลงทนุ
จดั หาสมั ภาระสำ� คญั นอกจากเครอ่ื งมอื )

8 รายไดอ้ ืน่ นอกเหนือจาก 1-7*

*ตามพระราชกฤษฎกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากร (ฉบบั ท่ี 629) พ.ศ. 2560

14

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 15

หักค่าใช้จ่าย

50% แตไ่ ม่เกนิ 100,000 บาท
หากมเี งนิ ได้ประเภทท่ี 1 และ 2
ให้น�ำเงนิ ได้ทั้ง 2 ประเภทรวมกนั

หักค่าใช้จา่ ยได้ 50%
แตร่ วมกันไมเ่ กิน 100,000 บาท

50% แตร่ วมกันไมเ่ กนิ 100,000 บาท
หรอื ตามทีจ่ า่ ยจริง
หักค่าใชจ้ ่ายไม่ได้

ตามจรงิ ห32ร00อื %%อตั ราเหมา
15%
3100%%

หักเปน็ การเหมาได้ 20% วธิ ีเดยี ว
ตามจรงิ ห6ร0อื %อัตราเหมา
30%

ตามจรงิ หรอื อัตราเหมา 60%

ตามจริงหรืออตั ราเหมา 40% และ 60%

ข้อสงั เกต 1 กฎหมายให้หักเป็นการเหมาได้
วิธีเดียว สำ� หรบั เงินได้พงึ ประเมนิ
ตามมาตรา 40(1)(2)
2 กฎหมายไมย่ อมใหห้ กั คา่ ใช้จา่ ยใด ๆ ทงั้ สน้ิ สำ� หรบั เงนิ ได้
พึงประเมินตามมาตรา 40(3) เฉพาะเงินปีหรือเงินได้
ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ เงนิ รายปีอนั ไดม้ าจากพนิ ยั กรรม นติ กิ รรม
อยา่ งอ่นื หรอื คำ� พพิ ากษาของศาล และเงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ
ตามมาตรา 40(4) ทงั้ หมด
3 กฎหมายใหเ้ ลือกหกั คา่ ใช้จ่ายเป็นการเหมา หรอื เลอื ก
หักค่าใช้จา่ ยตามจริงได้ ส�ำหรบั เงินไดพ้ งึ ประเมนิ ตาม
มาตรา 40(5)-(8)

หากผมู้ เี งนิ ไดเ้ ลอื กหกั คา่ ใชจ้ า่ ยตามความจำ� เปน็ และสมควร
รายจา่ ยทจี่ ะน�ำมาหักเปน็ ค่าใช้จ่ายต้องมลี กั ษณะดงั น้ี
1 เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยตามปกติ มคี วามเกย่ี วขอ้ งและจำ� เปน็ ตอ่ การ
ประกอบธุรกจิ แตล่ ะประเภท หรือตอ่ เงินได้แตล่ ะชนิด
2 เป็นจำ� นวนที่สมควรและเหมาะสมแกก่ จิ การ
3 ไมเ่ ป็นรายจ่ายทีก่ ฎหมายหา้ มมิให้หกั เป็นรายจ่าย
4 ผู้มีเงินได้ต้องมีหลักฐานการหักค่าใช้จ่ายท่ีตรวจสอบ
และพสิ จู นไ์ ด้ โดยเอกสารหลกั ฐานทสี่ ามารถเปน็ รายจา่ ย
ทางภาษี ได้แก่

4.1 เอกสารการรับเงนิ ของผ้รู ับเงิน อาทิ
ใบรับ ตามมาตรา 105 ทวิ หรอื
ใบส�ำคญั รับเงิน หรือ
ใบรบั รองแทนใบส�ำคัญรบั เงิน

16

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 17

4.2 ใบก�ำกับภาษีหรือใบเสร็จรับเงินปรากฏเป็นชื่อผู้อ่ืน
เชน่ ค่าไฟฟา้ หรอื ค่าน�ำ้ ประปา เปน็ ตน้ แต่ผู้มเี งินได้
พสิ จู นไ์ ดว้ า่ เปน็ ผจู้ า่ ยเงนิ ตาม 4.1 และหลกั ฐานอน่ื ๆ
ประกอบ เชน่ สญั ญาเช่า เปน็ ตน้

4.3 ใบสำ� คญั จา่ ย (Payment Voucher) ใช้ส�ำหรับกรณี
ไมม่ หี ลกั ฐานตาม 4.1 โดยใบส�ำคญั จา่ ย ต้องระบุ
ชอ่ื ทอี่ ยู่ เลขประจำ� ตวั ผเู้ สยี ภาษอี ากรของผรู้ บั เงนิ
วันทจ่ี า่ ยเงนิ
ระบุประเภทรายการทจ่ี ่าย และจ�ำนวนเงนิ ท่ีจ่าย
ลงลายมือชอื่ ผรู้ บั เงนิ ไว้เปน็ หลักฐาน
มกี ารลงนามอนุมตั ิจา่ ยโดยผู้มีอำ� นาจเทา่ น้นั
โดยต้องแนบหลักฐานการจ่ายเงนิ อาทิ
ส�ำเนาเช็คระบุช่ือผู้รับเงิน ซ่ึงขีดฆ่าผู้ถือและ
ขีดคร่อม A/C Payee only ท่ีมีหลักฐานว่า
ไดต้ ัดบัญชี Bank Statement ของผ้จู า่ ยเงนิ แลว้
หรือ
ส�ำเนาใบโอนเงินผ่านธนาคารหรือช่องทาง
อิเล็กทรอนิกส์อนื่
กรณีช�ำระเป็นเงินสด ต้องแนบภาพถ่ายบัตร
ประจ�ำตวั ประชาชนของผรู้ ับเงนิ

นอกจากน้ี ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับ
ภาษเี งนิ ได้ (ฉบบั ท่ี 161) ลงวนั ที่ 21 ธนั วาคม 2549
ได้ก�ำหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และมีเงินได้ตาม
มาตรา 40(5)-(8) แหง่ ประมวลรัษฎากร จดั ทำ� บญั ชี
หรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่ายเป็นประจ�ำวัน
ภายใน 3 วันท�ำการนับแต่วันท่ีมีรายได้หรือรายจ่าย
โดยต้องมีรายการและข้อความตามแบบท่ีอธิบดีฯ
ประกาศกำ� หนด สามารถเลือกลงรายการได้ 2 วธิ ี ดงั น้ี

วิธีท่ี 1 การลงรายการในรายงานเงินสดรับ-จ่าย

เป็นยอดรวมของแต่ละวันท�ำการ

รายงานเงินสดรับ-จ่าย ชชื่อื่อผสูป้ถารนะกปอระบกกอาบรการ รร้า้านน กก.. กกาารรชชา่า่ งง

วัน/เดือน/ปี รายการ รายรับ (บาท)

1 ธ.ค. 59 ขายสนิ คา้ 15,000 00
16 ธ.ค. 59 ค่าเช่ารา้ น - -
31 ธ.ค. 59 ซือ้ สินคา้ - -
ขายสินคา้
ค่าแรงคนงาน 25,000 00
- -
รวม
40,000 00

วิธีท่ี 2 การลงรายการในรายงานเงินสดรับ-จ่าย

โดยลงรายละเอียดของรายการรายรับ-รายจ่าย

รายงานเงินสดรับ-จ่าย ชช่อือื่ ผสูป้ถารนะกปอระบกกอาบรการ รร้าา้ นน กก.. กกาารรชชา่า่ งง

วัน/เดือน/ปี รายการ รายรับ (บาท)

1 ธ.ค. 59 ขายปูนซเี มนต์ 15,000 00
16 ธ.ค. 59 คา่ เชา่ ร้าน - -
31 ธ.ค. 59 ซ้ือเหลก็ เส้น - -
ซ้อื กระเบื้อง - -
ขายปนู ซเี มนต์
ขายกระเบื้อง 5,000 00
คา่ แรงคนงาน 20,000 00

รวม - -
40,000 00

18

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 19

เเลลขขปปรระะจจำ�ำ� ตตวััวปผเู้รสะยี ชภาาชษนีอากร

ซื้อสินค้า รายจ่าย (บาทค)่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ หมายเหตุ

- - - -
- - 11,500 00
15,000 -
- - - -
- - - -
15,000 00 5,000 00
16,500 00

ส รุป รายรับ-รายจ่าย ส�ำหรับเดอื นธนั วาคม 2559 40,000 บาท
รายรับ ขายสนิ ค้า 381,,550000 บบาาทท
รายจ่าย ซื้อสนิ ค้า 15,000
คา่ ใชจ้ ่ายอืน่ ๆ 16,500
กำ� ไร (ขาดทนุ )

เเลลขขปปรระะจจ�ำ�ำตตวััวผป้เูรสะยี ชภาาชษนอี ากร

ซ้ือสินค้า รายจ่าย (บาทค)่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ หมายเหตุ

- - - -
- - 11,500 00
8,000 00
7,000 00 - -
- - - -
- - - -
- - - -
15,000 00 5,000 -
16,500 00

สรุป รายรบั -รายจา่ ย สำ� หรบั เดอื นธันวาคม 2559 40,000 บาท
รายรบั ขายสนิ คา้
รายจ่าย ซอ้ื สนิ คา้ 15,000
ค่าใช้จ่ายอ่นื ๆ 16,500 31,500 บาท
กำ� ไร (ขาดทนุ ) 8,500 บาท

6 ค่ า ล ด ห ย่ อ น แ ล ะ
ยกเว้นเป็นอีกหน่ึง
หักค่าลดหย่อน องคป์ ระกอบในการ
คำ� นวณภาษี
และยกเว้น กรณีบุคคลธรรมดา

อะไรได้บ้าง

1 ผมู้ ีเงินได้

60,000 บาท

2 คู่สมรส (ไม่มเี งนิ ได)้

60,000 บาท

3 ผู้มเี งนิ ไดห้ รอื คู่สมรส

ตา่ งฝา่ ยตา่ งมเี งนิ ได้ ใหห้ กั ลดหยอ่ นรวมกนั ได้ ไมเ่ กนิ

120,000 บาท

4 บุตรชอบด้วยกฎหมายและบุตรบุญธรรม
30,000คนละ
บาท (บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายหกั ไดไ้ มจ่ ำ� กดั จำ� นวน
หากนำ� บตุ รบญุ ธรรมมาหกั รวมกบั บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย รวมกนั ตอ้ งไมเ่ กนิ 3 คน)

5 คา่ อปุ การะเลย้ี งดบู ดิ ามารดาทม่ี อี ายุ 60 ปขี นึ้ ไป

และอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของผู้มีเงินได้ โดย

บหบคนกัิดิดลลาาะมดมหา3ารยร0ดอ่ด,า0นาขไต0อม้อ0งเ่ กงคนิบมูส่ าีเมงท3ริน0สแไลไ,ดด0ะ้พอ้ส0ึกีาง0มปคานรรบะลถเาะหมทกั 3ินลห0ใดนกัห,ป0คยา่ีอภ่0ลนาด0สษหำ� ีทบยหี่ขอ่ารบทนัอ

20

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 21

กฎหมายก�ำหนดให้น�ำไปหักออกจากเงินได้
ได้อีกหลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้ว โดยมี
การหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ แตกต่างกัน
ออกไป สรุปไดด้ ังนี้

หรือผู ้ถึงแก่ความตายระหว่างปี ภาษี

6 คา่ อปุ การะเลย้ี งดูคนพกิ ารหรอื คนทพุ พลภาพ

หักค่าลดหย่อน คนละ 60,000 บาท

7 คา่ เบี้ยประกันชีวติ (กรมธรรม์อายุ 10 ปขี ้ึนไป)

ขส�อำหงผรู้มับีเเงงินินไไดด้ห้เักทค่า่าทลี่จด่าหยยจ่อรนิงแแลตะ่ไมได่เ้รกับินกา1ร0ย0กเ,ว0้นภ0า0ษีเงบินาไทด้

ทั้งนี้ หากคู่สมรสมีการประกันชีวิตและความเป็นสามีภริยา
ได้มีอยู่ตลอดปีภาษี ผู้มีเงินได้มีสิทธิหักลดหย่อน ส�ำหรับ
เบี้ยประกันชีวิตของคู่สมรสทไี่ มม่ เี งนิ ไดต้ ามจำ� นวนทจ่ี า่ ยจรงิ

แตไ่ มเ่ กนิ 10,000 บาท

แ(กต่ห) าถก้าสคาวมาีภมรเยิ ปา็นตา่สงาฝมา่ ีภยรติยา่ างไมมีเง่ไนิดไ้มดีอ้ ยู่ตลอดปีภาษีที่ได้รับ

ยกเว้นภาษี ให้สามีและภริยาซึ่งเป็นผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับ
ยกเวน้ ภาษตี ามจำ� นวนทจี่ า่ ยจรงิ เฉพาะสว่ นทไ่ี มเ่ กนิ 10,000 บาท
แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ซึ่งไม่เกินเงินได้พึงประเมินของ
แต่ละคนหลงั จากหกั ค่าใชจ้ ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถงึ มาตรา 46
แห่งประมวลรษั ฎากรแล้ว

(ข) ถา้ ความเปน็ สามภี รยิ าไดม้ อี ยตู่ ลอดปภี าษที ไี่ ดร้ บั ยกเวน้

ภาษแี ละภรยิ าไมใ่ ชส้ ทิ ธแิ ยกยนื่ รายการและเสยี ภาษตี า่ งหาก
จากสามตี ามมาตรา 57 เบญจ แหง่ ประมวลรษั ฎากร ใหส้ ามี
และภริยาซ่ึงเป็นผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษี
ตามจำ� นวนทจ่ี า่ ยจรงิ เฉพาะสว่ นทเ่ี กนิ 10,000 บาท แตไ่ มเ่ กนิ
90,000 บาท ซึ่งไม่เกินเงินได้พึงประเมินของแต่ละคน
หลงั จากหกั คา่ ใชจ้ า่ ย ตามมาตรา 42 ทวิ ถงึ มาตรา 46 แหง่
ประมวลรษั ฎากรแลว้

(ค) ถา้ ความเปน็ สามภี รยิ าไดม้ อี ยตู่ ลอดปภี าษที ไี่ ดร้ บั ยกเวน้

ภาษีและภริยาใช้สิทธิแยกย่ืนรายการและเสียภาษีต่างหาก
จากสามี ตามมาตรา 57 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร
ให้สามีและภริยาซ่ึงเป็นผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้น
ภาษีตามจำ� นวนท่จี า่ ยจรงิ เฉพาะสว่ นท่ีเกิน 10,000 บาท
แตไ่ มเ่ กนิ 90,000บาทซง่ึ ไมเ่ กนิ เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ของแตล่ ะคน
หลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46
แหง่ ประมวลรษั ฎากรแลว้

8 คแล่าเะบคยี้ ูส่ ปมรระสกนั สุขภาพบดิ ามารดาของผมู้ เี งนิ ได้

หกั คา่ ลดหยอ่ นเทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ 15,000บาท

ท้ังนี้ บิดามารดาของผู้มีเงินได้และคู่สมรสต้องไม่มี

เเงกนิินได3พ้ 0งึ ,ป0ร0ะเ0มนิ ใบนาปทภี าษที ใี่ ชส้ ทิ ธยิ กเวน้ ภาษเี งนิ ได้

9 เงนิ สะสมที่จ่ายเขา้ กองทุนสำ� รองเลี้ยงชพี

แหตักไ่ลมดเ่ กหนิย่อ10นไ,0ด้ต0า0มจบ�ำานทวนสทว่ น่ีไดท้จเ่ี ก่านิยไ1ป0จ,ร0ิง0ใน0ปีภบาาษที
แต่ไม่เกิน 490,000 บาท ซง่ึ ไม่เกนิ ร้อยละ 15

ของค่าจา้ งให้หกั จากเงินได้

22

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 23

10 เงนิ คา่ ซอ้ื หนว่ ยลงทนุ ในกองทนุ รวมเพอื่ การเลยี้ งชพี (RMF)

ได้รับยกเว้นเท่าท่ีจ่ายเงินค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวม
เพื่อการเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ ในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้
พงึ ประเมินที่ไดร้ บั ซงึ่ ต้องเสียภาษเี งนิ ได้ในปีภาษนี นั้ และเม่ือ
รวมกับเบ้ียประกันชีวิตแบบบ�ำนาญ เงินสะสมเข้ากองทุน
ส�ำรองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญ
ข้าราชการ เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมาย
ว่าด้วยโรงเรียนเอกชน และเงินสะสมเข้ากองทุนการออม

แห่งชาติแล้ว ต้องไมเ่ กิน 500,000 บาท

11 คา่ เบยี้ ประกันชวี ติ แบบบำ� นาญ

เหงักนิ คได่าลใ้ นดแหตย่ล่อะนปในี แอตตั ไ่ รมา่เกร้อนิ ย2ล0ะ 105,0ขอ0ง0เงินบไาดทท้ ตน่ี ่อ�ำปมี าเสยี ภาษี

ท้ังนี้ ต้องเป็นค่าเบ้ียประกันชีวิตแบบบ�ำนาญ ความคุ้มครอง
ตง้ั แต่ 10 ปขี นึ้ ไป และจา่ ยผลประโยชนเ์ งนิ บำ� นาญเมอ่ื ผมู้ เี งนิ ได้
อายตุ งั้ แต่ 55 ปขี นึ้ ไปถงึ อายุ 85 ปหี รอื กวา่ นน้ั และเมอ่ื รวมกบั
เงินสะสมเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุน
บำ� เหนจ็ บำ� นาญขา้ ราชการ (กบข.) เงนิ สะสมเขา้ กองทนุ สงเคราะห์
ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เงินที่ซื้อหน่วยลงทุน
ในกองทนุ รวมเพอ่ื การเลยี้ งชพี (RMF) และเงนิ สะสมเขา้ กองทนุ
การออมแหง่ ชาติ ตอ้ งไมเ่ กนิ 500,000 บาท

12 เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ

ตามจ�ำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และ

เม่ือรวมกับเบี้ยประกันชีวิตแบบบ�ำนาญ เงินสะสมเข้า
กองทุนส�ำรองเล้ียงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญ
ขา้ ราชการ เงนิ สะสมเขา้ กองทนุ สงเคราะหต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ย

เโพรงอ่ื เกราียรนเลเอย้ี งกชชพี น(RแMลFะ)เงแินลทว้ ต่ีซ้อื้องหไมน่เ่วกยนิ ล5งท0ุน0ใ,น0ก0อ0งทบุนารทวม

13 คา่ ซือ้ หนว่ ยลงทนุ ในกองทนุ รวมหุ้นระยะยาว (LTF)

หักคา่ ลดหย่อนเทา่ ทจ่ี ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ ร้อยละ 15 ของ
เงินได้พึงประเมินท่ีได้รับซ่ึงต้องเสียภาษีเงินได้ในปีนั้น

แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และต้องถือหน่วยลงทุน

ในกองทุนรวมระยะยาว (LTF) ต่อเน่ืองกันไม่น้อยกว่า
7 ปปี ฏทิ นิ แตไ่ มร่ วมถงึ กรณผี มู้ เี งนิ ไดไ้ ถถ่ อนหนว่ ยลงทนุ
รวมหนุ้ ระยะยาว เพราะทุพพลภาพหรือตาย

14 ดอกเบย้ี กยู้ มื ทจี่ า่ ยใหแ้ กธ่ นาคารหรอื สถาบนั การเงนิ อนื่

บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ สหกรณ์หรอื นายจา้ งสำ� หรบั การกยู้ มื เงนิ
เพอ่ื ซอ้ื เชา่ ซอ้ื หรอื สรา้ งอาคารอยอู่ าศยั โดยจำ� นองอาคาร

ทตาี่ซม้ือจห�ำรนือวสนรเท้า่างทเป่ีจ็น่ายปจรระิงกแันตก่ไามร่เกกูิ้นยืม10ห0ัก,ค0่า0ล0ดหยบ่อาทน

15 เงนิ สมทบกองทนุ ประกนั สงั คม

หกั ค่าลดหยอ่ นเท่าทีจ่ า่ ยจรงิ

16 คา่ เบยี้ ประกนั สขุ ภาพ
แหตกั เ่คมา่ อ่ื ลรดวหมยเบอ่ ย้ีนปเทระา่ ทกนจั่ี า่ชยวี จติ รตงิ อ้ งแไตมไ่เ่ มกเ่นิ กนิ10105,,000000
บาท
บาท

17 เงนิ บรจิ าค

เงนิ บรจิ าคสนบั สนนุ การศกึ ษา การกฬี าและอนื่ ๆ หกั ได้
2 เท่าของท่จี า่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 10 ของเงินได้
หลังหักคา่ ใชจ้ ่ายและค่าลดหย่อนอนื่ ๆ

เงินบริจาค หักได้เทา่ ที่จา่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกินร้อยละ 10
ของเงินไดห้ ลงั หักค่าใชจ้ ่ายและคา่ ลดหยอ่ น

ยกเว้นเงินได้ 190,000 บาท ส�ำหรับ
1. ผู้มีเงินได้ซ่ึงเป็นคนพิการและมีอายุไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์
2. ผู้มีเงินได้ท่ีมีอายุต้ังแต่ 65 ปีบริบูรณ์ข้ึนไป

24

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 25

หกรรือณคีหณ้างะบหุุ้นคสค่วลนทส่ีไมาม่ใชัญ่ นทิต่ีไิบมุค่ใคช่ลนิติบุคคล

ตหอ้กั งคไา่ มลเ่ ดกหนิ ย1อ่ 2น0ได,0ค้ น0ล0ะ 60,000 บาท แตร่ วมกนั

บาท

1 เงินบรจิ าคสนับสนนุ การศกึ ษาและการกีฬา
หกั ได้2เทา่ ของทจ่ี า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ รอ้ ยละ10ของเงนิ ได้
หลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยและคา่ ลดหยอ่ น

2 เงนิ บรจิ าค
หักไดเ้ ท่าท่จี ่ายจรงิ แต่ไม่เกินรอ้ ยละ 10 ของเงินได้
หลงั หักคา่ ใช้จา่ ยและคา่ ลดหย่อน

กรณกี องมรดกท่ียงั ไมไ่ ด้แบ่ง

หกั ค่าลดหย่อนได้คนละ 60,000 บาท

1 เงินบริจาคสนับสนนุ การศกึ ษาและการกีฬา

หกั ได้2เทา่ ของทจ่ี า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ รอ้ ยละ10ของเงนิ ได้
หลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยและคา่ ลดหยอ่ น

2 เงินบรจิ าค

หกั ได้เทา่ ท่ีจา่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้
หลงั หักคา่ ใชจ้ ่ายและค่าลดหย่อน

B

7 1

ย่ืนภาษีด้วย แบบ ภ.ง.ด.90

อะไรแบบแสดงรายการ บแุคบคบภลแสาธษดรีเรงงมรินาดไยดาก้สา้ินรปี

ส� ำ ห รั บ ผู ้ มี เ งิ นไ ด้ ส�ำหรับใช้ย่ืนก่อนถึง
ในกรณีท่ัวไปตั้งแต่ ก� ำ ห น ด เ ว ล า ก า ร
เงินได้ประเภทท่ี 1-8
ยน่ื แบบฯใหย้ นื่ แบบฯ
ที่ได้รับในระหว่าง ภายในเดอื นมนี าคม
ปีภาษีที่ล่วงมาแล้ว ของปถี ดั จากปที ไ่ี ดร้ บั
ใหย้ น่ื แบบฯ ภายใน เงินได้พึงประเมนิ
เดือนมีนาคมของปี
ภาษีถัดไป

26

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 27

ส�ำหรับผู ้มีเงินได้จากการจ้างแรงงาน

ประเภทท่ี 1 เพยี งอยา่ งเดยี ว ใหย้ น่ื แบบฯ
ภายในเดือนมนี าคมของปีภาษีถดั ไป

2 ส�ำหรับผู ้มีเงินได้ประเภทท่ี 5-8

แบบ ภ.ง.ด.91 ที่ได้รับมาต้ังแต่เดือนมกราคม
ถงึ เดอื นมถิ นุ ายน และไมว่ า่ จะมี
บแุคบคบภลแสาธษดรเีรงงมรนิ าดไยดาก้สานิ้ รปี เงินได้ประเภทอื่นรวมอยู่ด้วย
หรอื ไมก่ ต็ ามใหย้ น่ื แบบฯภายใน
เดอื นกรกฎาคมถงึ เดอื นกนั ยายน
ของปภี าษีน้ัน

3 4

แบบ ภ.ง.ด.93 แบบ ภ.ง.ด.94

แบบบุคภแคสาลษดธีเงงรรินราไมยดดก้ าาร บแุคบคบลภแธสารษดรเีงงมรินดาไายดคก้ รา่ึงรปี

ส�ำหรับคนต่างด้าว 5
ผู ้มีเงินได้จากการ
แบบ ภ.ง.ด.95
จ้ า ง แ ร ง ง า น จ า ก
สำ� นกั งานปฏบิ ตั กิ าร แบบบุคภแคสาลษดธีเงงรรินราไมยดดก้ าาร
ภมู ภิ าค ใหย้ นื่ แบบฯ
ภายในเดอื นมนี าคม
ของปภี าษถี ัดไป

8 ผูม้ เี งนิ ไดต้ ามเกณฑ์
ท่ีก�ำหนด มีหน้าท่ี
ย่ืนแบบแสดง ต้ อ ง ย่ื น แ บ บ แ ส ด ง
รายการภาษีเงินได้
ไรดาย้ทกา่ีไรภหาษนี บุ ค ค ล ธ ร ร ม ด า
(พถรา้ ้อม)ีมไทดั้ง้ทช่ี �ำระภาษี
1
2 3

1 ส�ำนักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขาทุกแหง่
2 ท่ีท�ำการไปรษณีย์ เฉพาะที่มีภูมิล�ำเนาใน

กรุงเทพมหานครเท่านั้น โดยส่งทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนพร้อมแนบเช็คหรือธนาณัติตาม
จ�ำนวนเงินภาษีท่ีต้องช�ำระท้ังจ�ำนวน ภายใน
กำ� หนดเวลาการยนื่ แบบฯ โดยสง่ ไปยัง

กองบรหิ ารการคลงั และรายได้ กรมสรรพากร
อาคารกรมสรรพากรเลขที่90ซอยพหลโยธนิ 7
ถนนพหลโยธิน แขวงพญาไท เขตพญาไท
กรงุ เทพฯ 10400

3 Internet ทาง www.rd.go.th
หรอื ทาง RD Smart Tax Application
ทางโทรศัพทม์ ือถอื

28

9 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 29

วิธีการ

ช� ำระภาษี

1 2

บชตั �ำรรอะเิดลหว้ก็ รยทอื เรงอินนสกิดส์ ช�ำระดว้ ยธนาณตั ิ

3 4

ช�ำดระรหดารว้ฟือยตเช์ ค็ ช�ำInรAtะeTดrMneว้ e-ยPtoอanCyเิ ลrmeiกn็ detทientรrtnCอeaนtrdกิ ส์

5 ช�ำระขPดอaว้ งyยธชiนnุดาชคs�ำlาipรระเงนิ

10
อัตรา
ได้รับ
ภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา

15 10

20
25 1,000,
30 3,000,000
35 -

อัตราภาษี ช่ วงเงินได้สุทธิ

(ร้อยละ) ของแต่ละขนั้

30

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 31

ยกเว้น 150,000 1 - 150,000

5 150,000 150,001 - 300,000

200,000 300,001 - 500,000

250,000 500,001 - 750,000

250,000 750,001 - 1,000,000

000 1,000,001 - 2,000,000

2,000,001 - 5,000,000

5,000,001 บาทข้นึ ไป

เงินได้สุทธิ

(บาท)

11

วิธีการ

ค�ำนวณภาษี

การค�ำนวณภาษีเงินได้บุ คคลธรรมดา
โ ด ย ท่ั วไ ป ห า ก ผู ้ ใ ด มี เ งิ นไ ด้ ถึ ง เ ก ณ ฑ์ ท่ี
กฎหมายก�ำหนด ต้องน�ำเงินได้ไปค�ำนวณ
ภาษีตอนส้ินปี เพ่ือย่ืนแบบฯ และช�ำระภาษี
ซ่ึงการคำ� นวณภาษมี ีวิธคี ำ� นวณ 2 วิธี
วิธีท่ี 1

ค�ำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิประกอบด้วยส่วนสำ� คัญ
ได้แก่ เงินได้พึงประเมิน หักเงินได้ที่ได้รับยกเว้น
หกั คา่ ใชจ้ ่าย หกั ค่าลดหย่อน หกั เงินบริจาค แลว้ จงึ นำ�
เงนิ ไดส้ ทุ ธนิ นั้ ไปคำ� นวณภาษตี ามบญั ชอี ตั ราภาษเี งนิ ได้
บุคคลธรรมดา

เงินไดพ้ งึ ประเมนิ xxx
หกั เงนิ ได้ทไ่ี ดร้ บั ยกเว้น xx
หกั คา่ ใชจ้ า่ ย xx
หัก คา่ ลดหย่อน xx
หกั เงนิ บรจิ าค (ถา้ มี) xx xxx
เงินไดส้ ุทธิ xxx
ภาษที ่ตี อ้ งช�ำระ (ถา้ ม)ี = เงนิ ไดส้ ทุ ธิ x อตั ราภาษี (5%-35%)

32

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 33

วิธีท่ี 2

ค�ำนวณจากเงินได้พึงประเมินตั้งแต่ 120,000 บาท
ขึ้นไป โดยไม่หักค่าใช้จ่ายหรือหักค่าลดหย่อนใด ๆ
คณู ดว้ ยอตั ราภาษรี อ้ ยละ 0.5 จะไดจ้ ำ� นวนภาษที ต่ี อ้ งชำ� ระ
ทั้งนี้ผู้มีเงินได้ท่ีมีเงินได้หลายประเภท (ไม่รวมเงินได้
ประเภทที่ 1 เงินไดจ้ ากการจา้ งแรงงาน)

ภาษที ่ตี อ้ งช�ำระ = เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ (ไมร่ วมเงนิ เดอื น) x 0.5%

เม่อื คำ� นวณภาษตี ามวิธีที่ 1 แล้ว ตอ้ งพจิ ารณาว่า จะต้อง
ค�ำนวณภาษีตามวธิ ที ่ี 2 ดว้ ยหรอื ไม่ โดยพจิ ารณาจากเงินได้
พึงประเมินทุกประเภทในปีภาษี แต่ไม่รวมเงินได้พึงประเมิน
ประเภทท่ี1(เงนิ เดอื น)หากมจี ำ� นวนรวมกนั ตง้ั แต่120,000บาท
ข้ึนไป จะต้องค�ำนวณภาษีตามวิธีท่ี 2 อีกครั้งหนึ่ง ในอัตรา
รอ้ ยละ 0.5 แลว้ นำ� จำ� นวนภาษที ค่ี ำ� นวณไดม้ าเปรยี บเทยี บกนั
โดยให้ถือเอาจ�ำนวนภาษีที่สูงกว่าเป็นเงินภาษีท่ีต้องเสีย
ส�ำหรับปภี าษนี นั้

ตัวอย่างการค�ำนวณภาษี
ในปี พ.ศ. 2560 นาย ก มีภรรยาจดทะเบียนสมรส
ตามกฎหมายมบี ตุ รดว้ ยกนั จำ� นวน2คน(อายุ10ปีและ3ปี
ศึกษา 1 คน ไม่ได้ศึกษา 1 คน) ภรรยาไม่มีเงินได้
นาย ก มรี ายไดเ้ งนิ เดอื นเดอื นละ 100,000 บาท มเี งนิ ได้
ค่านายหน้า จ�ำนวน 50,000 บาท มีรายได้ค่าเช่าบ้าน
เดอื นละ 15,000 บาท มเี งนิ ไดจ้ ากวชิ าชพี อสิ ระ (วศิ วกร)
จำ� นวน 680,000 บาท จา่ ยประกนั สงั คม จำ� นวน 9,000
บาท จา่ ยประกันชีวติ ของตนเอง จำ� นวน 50,000 บาท
ประกันชีวิตของภรรยา จ�ำนวน 20,000 บาท (สัญญา
กรมธรรม์ 10 ปี) จา่ ยเงนิ บริจาค จำ� นวน 30,000 บาท
ถูกหกั ภาษี ณ ท่จี า่ ยไว้ จำ� นวน 200,000 บาท

การค�ำนวณภาษีตามวิธีท่ี 1

รายไดเ้ งนิ เดอื นเดอื นละ 100,000 บาท
รวมทง้ั ปี (100,000 x 12) = 1,200,000

รายไดค้ า่ นายหนา้ = 50,000

รวมรายไดป้ ระเภทที่ 1 และ 2 = 1,250,000

หกั คา่ ใชจ้ า่ ย 50%
แตไ่ มเ่ กนิ 100,000 = 100,000 1,150,000

รายไดค้ า่ เชา่ บา้ น
(15,000 x 12) = 180,000

หกั คา่ ใชจ้ า่ ย 30% = 54,000 126,000

รายไดว้ ชิ าชพี อสิ ระ (วศิ วกร) = 680,000

หกั คา่ ใชจ้ า่ ย 30% = 204,000 476,000

รวมเงนิ ไดห้ ลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ย = 1,752,000

หกั คา่ ลดหยอ่ น 60,000 249,000
- ตนเอง = 60,000
- ภรรยา = 60,000
- บตุ ร 2 คน (30,000 x 2) = 9,000
- ประกนั สงั คม = 50,000
- ประกนั ชวี ติ (ตนเอง) = 10,000
- ประกนั ชวี ติ (คสู่ มรส) =

เงนิ ไดห้ ลงั หกั คา่ ลดหยอ่ น = 1,503,000

หกั เงนิ บรจิ าค เทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ
แตไ่ มเ่ กนิ 10% = 30,000

เงนิ ไดส้ ทุ ธ ิ = 1,473,000

34

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 35

การค�ำนวณภาษี

วิธีท่ี 1

ภาษีท่ีต้องช�ำระ = เงินได้สุทธิ x อัตราภาษี

เงนิ ได้ 150,000 บาท ไดร้ บั ยกเวน้ ภาษี
เงนิ ได้ 150,001 - 300,000 บาท รอ้ ยละ 5 = 7,500
เงนิ ได้ 300,001 - 500,000 บาท รอ้ ยละ 10 = 20,000
เงนิ ได้ 500,001 - 750,000 บาท รอ้ ยละ 15 = 37,500
เงนิ ได้ 750,001 - 1,000,000 บาท รอ้ ยละ 20 = 50,000
เงนิ ได้ 473,000 บาท รอ้ ยละ 25 = 118,250
ภาษที คี่ ำ� นวณไดต้ ามวธิ ที ่ี 1 = 233,250
ภาษเี งนิ ไดห้ กั ณ ทจ่ี า่ ยทถ่ี กู หกั ไว ้ = 200,000
ภาษที ตี่ อ้ งชำ� ระเพมิ่ เตมิ = 33,250

วิธีท่ี 2

ภาษีท่ีต้องช�ำระ =
เงินได้พึงประเมิน (ไม่รวมเงินเดือน) x 0.5%

รายไดท้ กุ ประเภท (ยกเวน้ เงนิ เดอื น) = 910,000 x 0.5%
มารวมคำ� นวณภาษี
= 4,550 บาท
หากภาษที เ่ี สยี ไมเ่ กนิ 5,000 บาท ไดร้ บั สทิ ธยิ กเวน้ ภาษเี งนิ ได้
ตามวธิ ีที่ 2 (พระราชกฤษฎกี าฯ ฉบับท่ี 480 พ.ศ. 2552)

จดะังตน้อั้นงใเสนียกภราณษีเีตพา่ิมมเตตัวิมอเยป่า็นงเงนินี้ จ�ำนวน 33,250 บาท

12

ความผิด

ใถน้าเวไมล่ชา�ทำร่ีกะ�ำภหานษดี

เบี้ยปรับและเงินเพ่ิม ถือเป็น
บทลงโทษเก่ียวกับภาษีอากร
อย่างหน่ึง และอาจมีโทษทางอาญาด้วย
แล้วแต่ความผิดว่าเป็นเร่ืองร้ายแรงขั้นไหน
โดยหากบุคคลใดย่ืนแบบฯ ภายในก�ำหนด
ลแตะเช่ ล�ำยระหภราือษหไี มลค่ ีกรเลบ่ีถยวง้ นกาหรรยอื ่ืนยแ่ืนบแบบฯบฯจะลต่า้อชง้า
เสยี เงนิ เพ่มิ และเบยี้ ปรบั ตามกฎหมายกำ� หนด
และหากฝ่ าฝื นไม่ยอมช�ำระ ก็ต้องรับโทษ
ทางอาญาด้วย ซ่ึงมบี ทลงโทษ ดงั นี้

B

36

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 37

1 กรณไี มช่ �ำระภาษภี ายในกำ� หนดเวลา จะตอ้ ง
เสยี เงนิ เพมิ่ อกี รอ้ ยละ 1.5 ตอ่ เดอื น (เศษของเดอื น
ใหน้ บั เปน็ 1เดอื น)ของเงนิ ภาษที ต่ี อ้ งชำ� ระนบั แตว่ นั
พน้ กำ� หนดเวลาการยนื่ รายการจนถงึ วนั ชำ� ระภาษี

2 กรณเี จา้ พนกั งานตรวจสอบออกหมายเรยี ก
และปรากฏว่าไม่ได้ย่ืนแบบแสดงรายการไว้
หขารืดอยห่ืนรือแบต่บ�ำไแปสดนงอรกาจยากกาจระไตว้อ้แงตร่ชับ� ำผริดะชภ�ำารษะี
เงนิ เพม่ิ แลว้ ยงั จะตอ้ งรบั ผดิ เสยี เบย้ี ปรบั อกี 1เทา่
หรือ 2 เท่าของภาษีที่ต้องช�ำระ แล้วแต่กรณี
เงนิ เบยี้ ปรบั ดงั กลา่ วอาจลดหรอื งดไดต้ ามระเบยี บ
ทอ่ี ธิบดกี ำ� หนดโดยอนุมตั ริ ฐั มนตรี

3 กรณีไม่ย่ืนแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90
ภ.ง.ด.91 หรอื ภ.ง.ด.94 ภายในกำ� หนดเวลา
ตอ้ งระวางโทษปรบั ทางอาญาไมเ่ กนิ 2,000 บาท

4 กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดง
หลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพ่ือหลีกเล่ียงหรือ
พยายามหลกี เลย่ี งการเสยี ภาษอี ากร มโี ทษจำ� คกุ
ตงั้ แต่ 3 เดอื นถงึ 7 ปี และปรบั ตงั้ แต่ 2,000 บาท
ถึง 200,000 บาท

5 กรณีเจตนาไม่ย่ืนแบบแสดงรายการเพ่ือ
หลกี เล่ยี งการเสยี ภาษอี ากร มโี ทษปรบั ไมเ่ กนิ
200,000 บาท หรอื จำ� คกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื ทง้ั ปรบั
ทัง้ จำ�

RD InCteenlltiegrence

หากมีขอ้ สงสยั สามารถสอบถามรายละเอยี ดเพ่ิมเติมได้ท่ี
1 สำ� นกั งานสรรพากรพืน้ ทที่ ่ัวประเทศ
2 ศูนย์สารนิเทศสรรพากร
(RD Intelligence Center 1161)
3 เว็บไซต์กรมสรรพากร www.rd.go.th




Click to View FlipBook Version