The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วันวิสาขบูชา

วันวิสาขบูชา

วันวิสาขบชู า 2563 ตรงกบั วันพุธที่ 6 พฤษภาคม
เปน็ วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา และเป็นวันหยดุ ราชการของไทย ซ่ึงประวัติวันวิสาขบูชา
เปน็ วันทพี่ ระพุทธเจ้า ประสตู ิ ตรัสรู้ และปรนิ พิ พาน มาบรรจบกนั ในวนั นี้

ความหมายของวันวิสาขบูชา
คาว่า วิสาขบูชา ย่อมาจากคาว่า "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญ

เดอื นวสิ าขะ" ดังน้ัน วิสาขบชู า จึงหมายถงึ การบชู าในวันเพ็ญ เดือน 6

การกาหนดวนั วิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา ตรงกับวันข้ึน 15 ค่า เดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย

ซ่ึงมักจะตรงกับเดอื นพฤษภาคม หรือมิถุนายน แต่ถ้าปใี ดมอี ธกิ มาส คอื มีเดอื น 8 สองหน
ก็เล่อื นไปเป็นวันขน้ึ 15 คา่ กลางเดอื น 7 หรือราวเดอื นมิถนุ ายน

อย่างไรก็ตาม ในบางปีของบางประเทศอาจกาหนด วันวิสาขบูชา ไม่ตรงกับ
ของไทย เนื่องด้วยประเทศเหล่านั้นอยู่ในตาแหน่งท่ีต่างไปจากประเทศไทย ทาให้วันเวลา
คลาดเคลือ่ นไปตามเวลาของประเทศนั้นๆ

ห้องสมุดประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

ประวตั ิและความสาคญั

วนั วสิ าขบูชา ถอื เป็นวนั สาคัญยง่ิ ทางพระพทุ ธศาสนา เพราะเป็นวนั ท่ีเกดิ
3 เหตกุ ารณ์สาคัญที่เก่ียวกบั วถิ ีชีวติ ของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า เวยี นมาบรรจบกนั
ในวนั เพ็ญ เดือน 6 แมจ้ ะมีชว่ งระยะเวลาห่างกันนบั เปน็ เวลาหลายสบิ ปี ซง่ึ เหตกุ ารณ์อัศจรรย์
3 ประการ ไดแ้ ก่...
1. วันวสิ าขบูชา เป็นวนั ที่พระพุทธเจา้ ประสตู ิ
เม่ือพระนางสิริมหามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงพระครรภ์
แก่จวนจะประสูติ พระนางแปรพระราชฐานไปประทับ ณ กรุงเทวทหะ เพื่อประสูติในตระกูลของ
พระนางตามประเพณีนิยมในสมัยน้ัน ขณะเสด็จแวะพักผ่อนพระอิริยาบถใต้ต้นสาละ ณ สวนลุม
พินีวัน พระนางก็ได้ประสูติพระโอรส ณ ใต้ต้นสาละ ซ่ึงตรงกับวันเพ็ญ เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช
80 ปี ครัน้ พระกมุ ารประสูติได้ 5 วนั ก็ได้รบั การถวายพระนามว่า "สทิ ธตั ถะ" แปลว่า "สมปรารถนา"
เมื่อข่าวการประสูติแพร่ไปถึงอสิตดาบส 4 ผู้อาศัยอยู่ในอาศรมเชิงเขาหิมาลัย และมี
ความคุ้นเคยกับพระเจ้าสุทโธทนะ ดาบสจึงเดินทางไปเข้าเฝ้าและเมื่อเห็นพระราชกุมารก็ทานาย
ได้ทันทีว่า นี่คือผู้จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงกล่าวพยากรณ์ว่า "พระราชกุมารนี้จักบรรลุ
พระสัพพัญญุตญาณ เห็นแจ้งพระนิพพานอันบริสุทธิ์อย่างย่ิง ทรงหวังประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก
จะประกาศธรรมจักรพรหมจรรย์ของพระกุมารน้ี จักแพร่หลาย" แล้วกราบลงแทบพระบาทของ
พระกุมาร พระเจ้าสุทโธทนะทอดพระเนตรเห็นเหตุการณ์นั้นทรงรู้สึกอัศจรรย์และเป่ียมล้นด้วยปีติ
ถงึ กับทรดุ พระองคล์ งอภิวาทพระราชกมุ ารตามอยา่ งดาบส

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลกั ษ์

ประวตั แิ ละความสาคัญ

2. วนั วิสาขบูชา เป็นวันทีพ่ ระพทุ ธเจ้าตรัสรู้อนตุ ตรสมั มาสัมโพธญิ าณ

หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี จนเม่ือพระชนมายุ 35 พรรษา เจ้าชายสิทธัตถะก็ทรงตรัสรู้
เป็นพระพุทธเจ้า ณ ใต้ร่มไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝ่ังแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืด
ของวันพุธ ขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ปีระกา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งน้ี
เรยี กว่า พทุ ธคยา เปน็ ตาบลหนง่ึ ของเมอื งคยา แห่งรฐั พิหาร ของอินเดยี

สิ่งท่ีตรัสรู้ คือ อริยสัจสี่ เป็นความจริงอันประเสริฐ 4 ประการของพระพุทธเจ้า
ซ่ึงพระพุทธเจ้าเสด็จไปท่ีต้นมหาโพธิ์ และทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิได้ฌานที่ 4
แลว้ บาเพ็ญภาวนาต่อไปจนไดฌ้ าน 3 คือ

- ยามต้น : ทรงบรรลุ "ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ" คือ ทรงระลึกชาติในอดีตทั้งของตนเอง
และผ้อู น่ื ได้

- ยามสอง : ทรงบรรลุ "จุตูปปาตญาณ" คือ การรู้แจ้งการเกิดและดับของสรรพสัตว์
ทงั้ หลาย ดว้ ยการมตี าทิพย์สามารถเหน็ การจุติและอบุ ตั ิของวิญญาณทั้งหลาย

- ยามสาม หรือยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ "อาสวักขยญาณ" คือ รู้วิธีกาจัดกิเลสด้วย
อริยสัจ 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญ เดือน 6
ซึ่งขณะนั้นพระพุทธองคม์ พี ระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

ประวตั แิ ละความสาคัญ

3. วันวสิ าขบูชา เปน็ วันที่พระพุทธเจา้ เสด็จเขา้ สปู่ รนิ พิ พาน
(ดับสังขารไม่กลับมาเกดิ สรา้ งชาติ สรา้ งภพอกี ตอ่ ไป)

เม่ือพระพุทธองค์ได้ตรัสรู้และแสดงธรรมเป็นเวลานานถึง 45 ปี จนมีพระชนมายุ
ได้ 80 พรรษา ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ในระหว่างน้ัน
ทรงพระประชวรอย่างหนัก คร้ันเม่ือถึงวันเพ็ญ เดือน 6 พระพุทธองค์กับพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย
ก็ไปรับภัตตาหารบิณฑบาตที่บ้านนายจุนทะ ตามคากราบทูลนิมนต์ พระองค์เสวยสูกรมัททวะ
ที่นายจุนทะต้ังใจทาถวายก็เกิดอาพาธลง แต่ทรงอดกลั้นมุ่งเสด็จไปยังเมืองกุสินารา
ประทับ ณ ป่าสาละ เพ่อื เสด็จดับขันธป์ รินิพพาน

เมื่อถึงยามสุดท้ายของคืนน้ัน พระพุทธองค์ก็ทรงประทานปัจฉิมโอวาทว่า
"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอันว่าสังขารท้ังหลายย่อมมีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านท้ังหลาย
จงยังกิจทั้งปวงอันเป็นประโยชน์ของตนและประโยชน์ของผู้อื่นให้บริบูรณ์ด้วย ความ
ไม่ประมาทเถดิ " หลังจากนัน้ กเ็ สดจ็ เขา้ ดับขันธป์ รินพิ พาน ในราตรเี พญ็ เดือน 6 นนั้

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

ประวตั คิ วามเป็นมา
วันวสิ าขบูชาในประเทศไทย

ปรากฏหลักฐานว่า วนั วสิ าขบูชา เริม่ ต้นครั้งแรกในประเทศไทยต้งั แต่สมยั กรุงสุโขทัยเป็นราช
ธานี สันนิษฐานว่าได้รับแบบแผนมาจากลังกา นั่นคือ เมื่อประมาณ พ.ศ. 420 พระเจ้าภาติกุ
ราช กษัตริย์แห่งกรุงลังกา ได้ประกอบพิธีวิสาขบูชาข้ึน เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา จากนั้น
กษตั รยิ ์ลงั กาพระองคอ์ น่ื ๆ กป็ ฏิบัตปิ ระเพณีวิสาขบูชาน้ีสืบทอดต่อกันมา

ส่วนการเผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยนั้น น่าจะเป็นเพราะประเทศไทยในสมัยกรุง
สุโขทัยมคี วามสมั พนั ธด์ า้ นพระพุทธศาสนากับประเทศลังกาอย่างใกล้ชิด เห็นได้จากมีพระสงฆ์
จากลังกาหลายรูปเดินทางเข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนา และนาการประกอบพิธีวิสาขบูชา
เข้ามาปฏิบัติในประเทศไทยด้วย

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

ประวัติความเปน็ มา
วันวสิ าขบูชาในประเทศไทย

สาหรับการปฏิบัติพิธีวิสาขบูชาในสมัยสุโขทัยน้ัน ได้มีการบันทึกไว้ในหนังสือนางนพมาศ
สรุปได้ว่า เม่ือถึงวันวิสาขบูชา พระเจ้าแผ่นดิน ข้าราชบริพาร ท้ังฝ่ายหน้า และฝ่ายใน
ตลอดทั้งประชาชนชาวสุโขทัย จะช่วยกันประดับตกแต่งพระนคร ด้วยดอกไม้ พร้อมกับจุดประทีป
โคมไฟให้ดูสว่างไสวไปท่ัวพระนคร เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน เพ่ือเป็นการบูชาพระรัตนตรัย
ขณะท่ีพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ก็ทรงศีล และทรงบาเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ
ครั้นตกเวลาเย็นก็เสด็จพระราชดาเนินพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และนางสนองพระโอษฐ์
ตลอดจนข้าราชการทั้งฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ไปยังพระอารามหลวง เพ่ือทรงเวียน เทียนรอบ
พระประธาน ส่วนชาวสุโขทัยจะรักษาศีล ฟังธรรม ถวายสลากภัต สังฆทาน อาหารบิณฑบาต
แดพ่ ระภิกษสุ ามเณร บรจิ าคทานแกค่ นยากจน ทาบญุ ไถ่ชวี ิตสตั ว์ ฯลฯ

หลังจากสมัยสุโขทัย ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์มากข้ึน ทาให้ในช่วง
สมัยกรุงศรีอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการประกอบ พิธี
วิสาขบูชา จนกระทั่งมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี 2 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2360) มีพระราชดาริท่ีจะให้ฟื้นฟูพิธีวิสาขบูชาข้ึนมาใหม่ โดยสมเด็จ
พระสงั ฆราช (ม)ี สานักวัดราชบูรณะ ถวายพระพรให้ทรงทาขึ้นเป็นคร้ังแรก ในวันข้ึน 14 ค่า 15 ค่า
และวันแรม 1 ค่า เดือน 6 พ.ศ. 2360 และให้จัดทาตามแบบอย่างประเพณีเดิมทุกประการ
เพื่อให้ประชาชนได้ทาบุญ ทากุศล โดยทั่วหน้ากัน การรื้อฟ้ืนพิธีวิสาขบูชาข้ึนมาในครานี้ จึงถือเป็น
แบบอย่างถือปฏบิ ตั ใิ นการประกอบพธิ ี วันวิสาขบูชา ตอ่ เน่ืองมาจวบจนกระทั่งปัจจุบนั

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

วันวสิ าขบชู าเป็นวนั สาคัญสากล
ของสหประชาชาติ

วันวิสาขบูชา ถือเป็นวันสาคัญท่ีสุดทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากล้วนมีเหตุการณ์
ทีเ่ กี่ยวข้องกับการถือกาเนิดของพระพุทธศาสนา คือ เป็นวันที่พระศาสดา คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ประสูติ ตรสั รู้ และปรนิ ิพพาน ดงั น้นั พทุ ธศาสนกิ ชนทวั่ โลกจึงให้ความสาคญั กับวันวิสาขบูชาน้ี

และในวันท่ี 13 ธันวาคม พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติได้ยอมรับญัตติท่ีประชุม
กาหนดให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญของโลก โดยเรียกว่า Vesak Day ตามคาเรียกของชาว
ศรีลังกา ผู้ท่ีย่ืนเรื่องให้สหประชาชาติพิจารณา และได้กาหนดให้วันวิสาขบูชาน้ี ถือเป็นวันหยุด
วันหน่ึงของสหประชาชาติอีกด้วย ท้ังน้ี เพื่อให้ชาวพุทธทั่วโลกได้มีโอกาสบาเพ็ญบุญเนื่องใน
วนั ประสตู ิ ตรัสรู้ และปรนิ ิพพานของพระบรมศาสดา

โดยการที่สหประชาชาติได้กาหนดให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญของโลกน้ันได้ให้เหตุผล
ไว้ว่า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นมหาบุรุษผู้ให้ความเมตตาต่อหมู่มวลมนุษย์
เปิดโอกาสให้ทุกศาสนาสามารถเข้ามาศึกษาพุทธศาสนา เพื่อ พิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้
โดยไม่จาเป็นต้องเปล่ียนมานับถือศาสนาพุทธ และทรงส่ังสอนทุกคนโดยใช้ปัญญาธิคุณ
โดยไม่คดิ คา่ ตอบแทน

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

การประกอบพิธีในวันวสิ าขบชู า
การประกอบพิธใี น วนั วสิ าขบชู า จะแบง่ ออกเป็น 3 พธิ ี ได้แก่
1. พิธหี ลวง คือ พระราชพิธีสาหรับพระมหากษตั ริย์ พระบรมวงศานวุ งศ์
ประกอบพธิ ใ๊ นวนั วิสาขบชู า
2. พิธีราษฎร์ คือ พิธขี องประชาชนท่วั ไป
3. พิธขี องพระสงฆ์ คือ พธิ ที พี่ ระสงฆป์ ระกอบศาสนกิจ

กจิ กรรมในวนั วสิ าขบชู า
กิจกรรมท่พี ุทธศาสนิกชนพึงปฏิบตั ิใน วันวสิ าขบชู า ได้แก่
1. ทาบุญใส่บาตร กรวดน้าอทุ ิศสว่ นกุศลให้ญาตทิ ี่ลว่ งลับ และเจ้ากรรมนายเวร
2. จัดสารับคาวหวานไปทาบญุ ถวายภตั ตาหารท่ีวัด และปฏบิ ัตธิ รรม ฟงั พระธรรมเทศนา
3. ปลอ่ ยนกปล่อยปลา เพ่ือสรา้ งบุญสร้างกุศล
4. รว่ มเวยี นเทียนรอบอโุ บสถทีว่ ดั ในตอนค่า เพอื่ ราลึกถึงพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
5. รว่ มกจิ กรรมเกยี่ วกับวนั สาคัญทางพุทธศาสนา
6. จัดแสดงนทิ รรศการ ประวัติ หรือเร่ืองราวความเปน็ มาเก่ียวกับวันวสิ าขบชู า ตามโรงเรียน
หรอื สถานท่ีราชการต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้ และเป็นการรว่ มราลึกถงึ ความสาคญั ของวนั วสิ าขบชู า
7. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน วดั และสถานทีร่ าชการ
8. บาเพญ็ สาธารณประโยชน์

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลักษ์

หลักธรรมท่สี าคญั ในวันวสิ าขบูชา ท่ีควรนามาปฏิบัติ
ในวันวิสาขบูชา พุทธศาสนิกชนท้ังหลายควรยึดมั่นในหลักธรรม ซ่ึงหลักธรรมท่ีควรนามา
ปฏิบัตใิ นวันวสิ าขบูชา ไดแ้ ก่
1. ความกตญั ญู
คอื การรูค้ ณุ คน เป็นคณุ ธรรมทค่ี ูก่ ับความกตเวที ซึ่งหมายถึงการตอบแทนคุณท่ีมีผู้ทาไว้
ความกตญั ญแู ละความกตเวทีน้ี เป็นเคร่ืองหมายของคนดี ทาให้ครอบครัวและสังคมมีความสุข
ซ่ึงความกตัญญูกตเวทีนั้นสามารถเกิดขึ้นได้กับท้ังบิดามารดาและลูก ครูอาจารย์กับศิษย์
นายจ้างกับลูกจา้ ง ฯลฯ
ในพระพุทธศาสนา เปรยี บพระพทุ ธเจา้ เสมอื นกับบุพการี ผูช้ ีใ้ หเ้ ห็นทางหลุดพ้นแห่งความ
ทุกข์ ดังนั้น พุทธศาสนิกชนจึงควรตอบแทนความกตัญญูกตเวทีด้วยการทานุบารุง
พระพทุ ธศาสนา และดารงพระพทุ ธศาสนาให้อย่สู บื ไป

ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลกั ษ์

2. อริยสจั 4
คอื ความจรงิ อันประเสรฐิ 4 ประการทพี่ ระพทุ ธเจ้าทรงตรัสรู้ใน วันวิสาขบูชา ไดแ้ ก่
- ทุกข์ คือ ปัญหาของชีวิต สภาวะที่ทนได้ยาก ซึ่งทุกข์ข้ันพ้ืนฐาน คือ การเกิด การแก่

และการตาย ล้วนเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญ ส่วนทุกข์จร คือ ทุกข์ที่เกิดข้ึนในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวัน เช่น การพลดั พรากจากสิง่ ทเ่ี ปน็ ทีร่ กั หรอื ความยากจน เป็นต้น

- สมุทัย คือ ต้นเหตุของปัญหา หรือสาเหตุของการเกิดทุกข์ และสาเหตุ ส่วนใหญ่
ของปัญหาเกิดจาก "ตณั หา" อันได้แก่ ความอยากได้ตา่ ง ๆ อย่างไมม่ ที ี่สนิ้ สดุ

- นิโรธ คือ ความดับทุกข์ เป็นสภาพที่ความทุกข์หมดไป เพราะสามารถดับกิเลส ตัณหา
อุปาทานออกไปได้

- มรรค คือ หนทางท่ีนาไปสู่การดับทุกข์ เป็นการปฏิบัติเพ่ือแก้ปัญหา มี 8 ประการ ได้แก่
ความเห็นชอบ ดาริชอบ วาจาชอบ กระทาชอบ เล้ียงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งจิต
มัน่ ชอบ
3. ความไมป่ ระมาท

คือการมีสติตลอดเวลา ไม่ว่าจะทาอะไร พูดอะไร คิดอะไร ล้วนต้องใช้สติ เพราะสติ คือการ
ระลึกได้ การระลึกได้อยู่เสมอจะทาให้เราใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท ซึ่งความประมาทน้ันจะทาให้เกิด
ปัญหายุ่งยากตามมา ดังนั้น ในวันนี้พุทธศาสนิกชนจะพากันน้อมระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม
และพระสงฆ์ ด้วยความมีสติ

วันวิสาขบูชา นับว่าเป็นวันที่มีความสาคัญสาหรับพุทธศาสนิกชนทุกคน เป็น วัน
ท่ีมีการ ทาพิธีพุทธบูชา เ พื่อเ ป็นการน้อมราลึกถึงพระวิสุท ธิคุ ณ พระ ปัญญาธิ คุ ณ
และพระมหากรุณาธิคณุ ของพระสมั มาสมั พุทธเจ้าที่มตี อ่ มวล

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเบญจลกั ษ์

ขอขอบคุณแหลง่ ท่ีมาของขอ้ มูล

WWW.KAPOOK.COM


Click to View FlipBook Version