The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร สนค. TPSO Journal ฉบับที่ 116 เดือนมีนาคม 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

TPSO Journal ฉบับที่ 116 เดือนมีนาคม 2564

วารสาร สนค. TPSO Journal ฉบับที่ 116 เดือนมีนาคม 2564

EDITOR’S วารสาร ปีท่ี 11

สถานการณ์การแพร่เชื้อไวรัสโควิด-19 ยังคงอยู่ ส่งผลต่อการด�ำรงชีพ สนค. ฉบบั ที่ 116
และความเปน็ อยขู่ องมนษุ ยแ์ ละทำ� ให้ทั่วโลกเข้าสูย่ ุคดิจทิ ลั ยคุ ใหม่ อย่างเตม็ ตัวรวดเร็ว เดอื นมีนาคม 2564
มากยง่ิ ขึ้น
www.tpso.moc.go.th
TPSO Journal ฉบบั นี้จงึ ได้น�ำเสนอเรือ่ ง สภาวะการแขง่ ขนั ของตลาดในอตุ สาหกรรม
ดจิ ทิ ลั ไทย ในคอลมั น์ Special Talk และสำ� หรบั Special Report ขอนำ� เสนอเรอื่ งทเี่ กยี่ วเนอื่ งกนั CONTENTS
อย่างอนาคตการค้าไทยในยุคดจิ ิทลั และ พ.ร.บ. คุ้มครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ฯ
03 SPECIAL TALK
ก่อนจากกัน ... กองบรรณาธิการมีกิจกรรมให้ทุกท่านร่วมสนุกลุ้นของรางวัลง่าย ๆ สภาวะการแข่งขันของตลาดในอตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั ไทย
เพียงสแกน QR Code เพ่ือตอบแบบสอบถามและจะประกาศรายชื่อผู้โชคดีจ�ำนวน 50 ท่าน
ในวารสารฉบับถัดไปพร้อมจัดส่งของรางวัลให้ท่าน ฝากให้ทุกท่านอย่าลืมดูแลรักษาสุขภาพ 04 SPECIAL REPORT
และเวน้ ระยะหา่ งแบบ New Normal เพอื่ ตวั เองและผอู้ ่นื กนั ด้วยนะคะ ⪢ อนาคตการค้าไทยในยคุ ดจิ ิทลั
กองบรรณาธิการวารสาร สนค. ⪢ พ.ร.บ. ค้มุ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คล (PDPA)
SCAN ME เริม่ บงั คบั ใช้ เร่อื งใกล้ … ในยคุ ดิจิทัล
ลนุ รบั FLASH D
RIVE 8 GB 08 ECONOMIC INDICATORS
ภาพรวมเศรษฐกิจ : กุมภาพันธ์ 2564

10 INTERNATIONAL TRADE FOCUS
ภาวะการคา้ ระหว่างประเทศของไทย : มกราคม 2564

11 COMMODITIES & FX
สถานการณร์ าคาทองค�ำ ราคาน�ำ้ มัน อตั ราแลกเปล่ยี น
และราคาสินค้าเกษตร : กุมภาพันธ์ 2564

12 GLOBAL NEWS
เจาะตลาดในยุค New Normal ด้วย Digital Marketing

https://qrgo.page.link/ikayt

GETTING AROUND
WITH TPSO

ฉบบั ท่ี 116

นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผอ.สนค.

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบาย พร้อมเดินหน้าท�ำยุทธศาสตร์การค้าไทยในฐานะ
และยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) Think Tank ของกระทรวงพาณิชย์

นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์
การค้า (สนค.) เปิดเผยหลังเข้ารับต�ำแหน่ง ว่า สนค. ในฐานะที่เป็น Think Tank
ของกระทรวงพาณิชย์จะเร่งเดินหน้าหารือกับกรมต่าง ๆ ของกระทรวงพาณิชย์
ตลอดจนหน่วยงานด้านเศรษฐกิจและเอกชนท่ีเก่ียวข้อง เพื่อจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
การค้าไทยท่ีสอดคล้องต่อยุทธศาสตร์ชาติ ให้รองรับการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส
โควิด-19 และเศรษฐกิจยุคใหม่
นอกจากนยี้ งั ไดเ้ ปน็ ประธานการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการ สนค. (ปี 2566-2570)
เพ่ือก�ำหนดกรอบและทิศทางองค์กรที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนภารกิจด้านต่าง ๆ
ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจการค้า ตลอดจนมุ่งเน้นการบูรณาการร่วมกัน
ระหว่างหน่วยงาน ที่จะสามารถตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวัง
ของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ในการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าและเสริมสร้างขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ของผู้ประกอบการไทยต่อไป

บรรณาธกิ าร : ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
ผูจ้ ดั ท�ำ : สำ� นกั งานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์
563 ถนนนนทบรุ ี ตำ� บลบางกระสอ อ�ำเภอเมอื งนนทบุรี จงั หวดั นนทบุรี 11000
โทรศพั ท์ : 0 2507 7899 โทรสาร : 0 2547 5687, 0 2547 4167
2 TPSO Journal

S P ETCAILAKL

โดย นายณัฐวัชร์ อัครณวี งศ์
กองวิจยั เศรษฐกิจการคา้ มหภาค

อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ัลเปน็ อตุ สาหกรรมท่มี กี ารเตบิ โตสูงในชว่ งระยะเวลาท่ผี ่านมา โดยในปี 2562 ประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
ท่ีมีอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัลมากท่ีสุด ได้แก่ อินโดนีเซีย โดยมีมูลค่าการค้าถึง 40,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

อตั ราการเตบิ โตเฉลย่ี รอ้ ยละ 49 ต่อปี รองลงมาคือ เวียดนาม ฟลิ ิปปินส์ ไทย มาเลเซยี และสงิ คโปร์ ตามลำ� ดับ

ร้อยละอตั ราการเตบิ โตของเศรษฐกิจดจิ ิทลั ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉัยงใต้ ปี 2562

ประเทศไทยมแี นวโนม้ กา้ วเขา้ สสู่ งั คมดจิ ทิ ลั อยา่ งรวดเรว็ ทง้ั
ในด้านการส่ือสารผ่านเครือข่ายไร้สาย (Wireless Broadband)
การคา้ ขายและทำ� ธรุ กรรมดจิ ทิ ลั (e-Commerce) การกรอกใบกำ� กบั
ภาษีอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Tax invoice) หรอื แมก้ ระทงั่ การออกหนงั สอื
รบั รองตา่ ง ๆ (e-Certificated)

รปู แบบการพัฒนา ความท้าทายในการสรา้ งสภาวะ
ของอุตสาหกรรมดิจิทัล การแขง่ ขันในตลาดดจิ ิทลั ของไทย

มาจากการขยายตวั จากการปรบั ปรงุ ผปู้ ระกอบการในแตล่ ะสาขามจี ำ� นวน
โครงสร้างพ้ืนฐานเป็นส่วนส�ำคัญ ก่อให้เกิด น้อยเกินไป ภาครัฐควรพิจารณาเง่ือนไข
การพัฒนาแบบกา้ วกระโดด อาทิ การเพิม่ ข้ึน ในการออกใบอนญุ าตประกอบธรุ กจิ บางประเภท
ข อ ง เ ค รื อ ข ่ า ย ผู ้ ใ ห ้ บ ริ ก า ร อิ น เ ท อ ร ์ เ น็ ต เ พ่ื อ เ ป ิ ด โ อ ก า ส ใ ห ้ มี ก า ร แ ข ่ ง ขั น ม า ก ขึ้ น
การขยายตัวจากจ�ำนวนของผู้ใช้บริการ ผปู้ ระกอบการไทยยงั มรี ะดบั การใชก้ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู (Data Analytics) และ
ในประเทศ และต้นทุนในการประกอบธุรกิจดิจิทัล ท่ีสามารถใช้แพลตฟอร์ม ฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ในระดับต�่ำ มีเพียงผู้ประกอบการรายใหญ่
ทมี่ อี ยู่แล้วในการประกอบธุรกจิ ได้ทันที ทำ� ให้เกิดความสะดวกในการเริ่มธรุ กจิ และผู้ประกอบการต่างชาติท่ีได้รับประโยชน์จากการใช้ข้อมูลดังกล่าว
อย่างมีประสิทธิภาพ และประเด็นด้านกฎหมาย ซ่ึงในปัจจุบันยังไม่รองรับ
ภาพรวมของอตุ สาหกรรม กบั การพฒั นาเทคโนโลยบี างประเภท หรือ โมเดลธรุ กจิ ทค่ี ดิ นอกกรอบเดมิ อาทิ
ดจิ ิทัลในปัจจบุ นั โดรน บล็อกเชน หรือการท�ำธุรกิจวิสาหกิจเร่ิมต้นแบบเศรษฐกิจแบ่งปัน
(Sharing Economy)
ตลาดดจิ ทิ ลั เปน็ ทสี่ นใจของผปู้ ระกอบการ
จ�ำนวนมาก ท�ำให้ในช่วงแรกตลาดมีลักษณะ ขอ้ เสนอแนะดา้ นนโยบายเพื่อพัฒนา
ของการแข่งขันสูง แต่ในปัจจุบันเริ่มปรากฏ อตุ สาหกรรมดจิ ิทัลของไทย
สัญญาณของการผูกขาดในหลายรูปแบบ
ได้แก่ การผูกขาดโดยธรรมชาติ คือการท่ีผู้ประกอบการไม่กี่รายสามารถผลิต ควรสนับสนุนให้มีผู้ประกอบการ
สินคา้ ทัง้ หมดได้โดยใชต้ น้ ทนุ เฉล่ียต�่ำกว่าผปู้ ระกอบการรายอนื่ อาทิ สนิ ค้าจนี ท่ี รายใหม่เข้าสู่ธุรกิจได้ง่ายข้ึน การบังคับใช้
น�ำมาขายผ่านแพลตฟอร์มในไทยลักษณะของการผูกขาดที่เกิดจากการใช้ กฎหมายอย่างเท่าเทียมและมีประสิทธิภาพ
นโยบายภาครฐั ประเดน็ การผกู ขาดตลาดซอ้ื - ขายสนิ คา้ ทเ่ี จา้ ของแพลตฟอรม์ การเคลอื่ นยา้ ยเสรขี า้ มพรมแดนของคน สนิ คา้
มีอ�ำนาจในการก�ำหนดเงื่อนไข รวมถึงการหารายได้จากการโฆษณา ข้อกังวล บริการ และเงินทุน ขณะที่ภาคธุรกิจและผู้บริโภคสามารถเข้าถึงและมีส่วนร่วม
เกี่ยวกับการผูกขาดในด้านแรงงาน การขยับค่าแรงในอุตสาหกรรมให้สูงขึ้น ในกิจกรรมการค้าออนไลน์ภายใตก้ ารแขง่ ขนั ทเ่ี ท่าเทียมกัน และการสรา้ งสภาพ
ส่งผลให้องค์กรขนาดเล็กประสบปญั หาดา้ นตน้ ทุน และ การผูกขาดจากการเกบ็ แวดลอ้ มทางธรุ กจิ ทเ่ี หมาะสม โดยสนบั สนนุ ใหม้ กี ารลงทนุ ในระบบจดั เกบ็ ขอ้ มลู
ขอ้ มลู ในภาคเอกชนรายใหญ่ เร่งผลิตแรงงานดิจิทัลผ่านสถานศึกษา เปิดโอกาสส�ำหรับธุรกิจรูปแบบใหม่
ที่จ�ำเป็นต่อการขับเคล่ือนอุตสาหกรรมดิจิทัล ลดต้นทุนการเข้าสู่ตลาดดิจิทัล
และสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ ง ๆ โดยการตงั้ คณะทำ� งานเพอ่ื การพฒั นา
ทต่ี อบโจทย์อย่างบูรณาการ

TPSO Journal 3

RS PEEPCOI RATL

โดย นางสาวสกุ ัญญา จันโอทาน
กองวจิ ยั เศรษฐกิจการค้ามหภาค

อนาคตการค้าไทย

ใ น ยุ ค ดิ จิ ทั ล

เทคโนโลยีมีบทบาทมากขึ้นในช่วงเกิดการระบาดของโควิด-19 โดยเป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนมาตรการของภาครัฐ ช่วยเสริม
การปรับกลยุทธ์ลดความเส่ียงของภาคธุรกิจ และเปล่ียนวิถีการใช้ชีวิตของผู้คนให้ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
ในยคุ อตุ สาหกรรม 4.0 มนี วตั กรรมทถ่ี กู คดิ คน้ และผลติ จำ� นวนมาก เชน่ สมารท์ โฟน ปญั ญาประดษิ ฐ์ หนุ่ ยนต์ อนิ เทอรเ์ นต็ ในทกุ สง่ิ (Internet
of Thing - IoT) รถยนตอ์ ตั โนมัติ เครอื่ งพิมพ์สามมติ ิ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพ วัสดุศาสตร์ การจัดเก็บพลังงาน และคอมพวิ เตอร์
ควอนตมั ซงึ่ นวตั กรรมบางอยา่ งยงั มคี วามไมช่ ดั เจนในรปู แบบการประยกุ ตใ์ ชง้ าน รวมทงั้ มอี ปุ สงคห์ รอื ดมี านดไ์ มม่ ากเพยี งพอท่ีจะท�ำให้เกิด
การประหยดั ตอ่ ขนาด (Economies of Scale) จนกระทง่ั เกดิ โควดิ -19 ทำ� ใหก้ ารเปลยี่ นเขา้ สดู่ จิ ทิ ลั อยา่ งเตม็ รปู แบบเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
หลายประเทศต้องทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบการผลิต การจัดการ และการก�ำกับดูแล รวมไปถึงนโยบายการพัฒนาประเทศแบบใหม่

จากข้อมูล World Economic Forum : WEF ได้ระบุเทคโนโลยีท่ีมีความส�ำคัญในช่วงการระบาดของ
โควดิ -19 และมีความเปน็ ไปไดท้ ่ีเทคโนโลยเี หลา่ นจ้ี ะยงั คงอย่ตู อ่ ไป แม้วกิ ฤตโควดิ -19 จะสิ้นสุดลงกต็ าม1 ได้แก่

• การชอปป้ ิงออนไลน์และการส่งสนิ ค้าโดยใช้หุน่ ยนต์
โควิด-19 ท�ำให้การค้าขายสินค้าออนไลน์เปลี่ยนจากสิ่งท่ีน่าจะมี (Nice-to-
Have) เป็นส่ิงท่ีต้องมี (Must-Have) พร้อมกับการเกิดขึ้นของระบบขนส่ง
อัจฉริยะ เช่น สหรัฐอเมริกา และจีน มีบริการจัดส่งสินค้าแบบไม่ต้องสัมผัส
(Contactless Delivery Service) สินค้าจะถูกส่งไปยังจุดรับสินค้าแทน
การส่งของแบบตัวต่อตัว หรือใช้หุ่นยนต์ เพ่ือป้องกันการติดเช้ือไวรัสโดย
จากรายงานของ eMarketer2 ณ ธันวาคม 2563 พบว่ายอดค้าปลกี ออนไลน์
ท่ัวโลกเพ่มิ อย่างก้าวกระโดดถึง 27.6% จากปีท่ผี ่านมา

• การชำ� ระเงนิ ผา่ นช่องทางดิจิทัลและไรก้ ารสัมผัส
การถือเงินสดใช้จ่ายอาจปนเป้อื นเชื้อไวรสั ด้วยเหตุน้ี ธนาคารกลางของหลาย
ประเทศจึงใช้ระบบช�ำระเงินดิจิทัลโดยไร้การสัมผัส ในรูปแบบการ์ดหรือ
กระเปา๋ เงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-wallet) ทง้ั น้ี จากขอ้ มลู ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ในช่วง 11 เดือนแรก ของปี 2563 พบว่ามีบัญชีลูกค้าท่ีท�ำธุรกรรม
ผ่านทางออนไลน์เพิ่มขึ้น 51.6% และมีปริมาณท�ำธุรกรรมเพิ่มข้ึน 216.1%
จากช่วงเดยี วกันของปีก่อนหนา้

1 https://www.weforum.org/agenda/2020/04/10-technology-trends-coronavirus-covid19-pandemic-robotics-telehealth/
2 https://www.emarketer.com/content/global-ecommerce-update-2021

4 TPSO Journal

• การท�ำงาน เรียน และรักษาพยาบาล ระยะไกล
เทคโนโลยที ำ� ใหด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมไดโ้ ดยไมช่ ะงกั งนั ในชว่ งทม่ี กี ารลอ็ กดาวน์ อาทิ
เครอื ขา่ ยส่วนตัวเสมอื นจรงิ (Virtual Private Networks - VPNs) ระบบเสยี ง
ผ่านอินเทอร์เน็ตโพรโทคอล (Voice over Internet Protocols - VoIPs)
การประชุมเสมือนจริง (Virtual Meetings) ระบบคลาวด์เทคโนโลยี
(Cloud Technology) ครูสอนหุ่นยนต์ (artificial-intelligence-enabled
robot teachers) อปุ กรณ์ IoT สวมใสเ่ พอ่ื ตดิ ตามสญั ญาณชพี ระบบแชทบอท
(Chatbots) ชว่ ยวินิจฉยั อาการผู้ป่วยเบ้ืองต้น

• ห่วงโซ่อุปทาน 4.0
จากมาตรการเว้นระยะห่างและกักตัวเฝ้าระวังโรค ท�ำให้โรงงานบางแห่ง
ต้องปิดท�ำการ ส่วนหน่ึงมาจากการบริหารงานที่พึ่งพาการบันทึกข้อมูล
ด้วยกระดาษ ขาดการน�ำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ เกิดปัญหาห่วงโซ่อุปทาน
หยุดชะงัก เทคโนโลยีส�ำคัญในยุคอุตสาหกรรม 4.0 เช่น Big Data ระบบ
คลาวน์ IoT และบลอ็ กเชน จะชว่ ยเสรมิ การจดั การหว่ งโซอ่ ปุ ทานใหย้ ดื หยนุ่
ถกู ตอ้ ง และแบง่ ปนั ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ เพ่ิมความสะดวกในการบริหาร
จัดการองคก์ รมากขึ้น

• ความบันเทิงออนไลน์
ธุรกิจบันเทิงรูปแบบใหม่เข้ามาแทนที่รูปแบบเดิม ระบบคลาวด์ท�ำให้การ
จัดงานปาร์ต้ีหรือคอนเสิร์ตออนไลน์ได้รับความนิยมทั่วโลก บริษัทผู้ผลิต
ภาพยนตร์ฉายหนังผ่านวิดีโอสตรีมมิง พิพิธภัณฑ์และแหล่งมรดกโลกท�ำทัวร์
เสมอื นจรงิ รวมถงึ การเลน่ เกมส์ออนไลน์ทเ่ี พมิ่ มากขึ้น ล่าสดุ บริษัท Netflix
ผใู้ หบ้ รกิ ารสตรมี มงิ ความบนั เทงิ ออนไลนร์ ายใหญ่ รายงานวา่ มลี กู คา้ สมคั รใหม่
เพิ่มขึ้น 8.5 ล้านรายในไตรมาสสุดท้ายของปี 2563 เกินที่คาดการณ์ไว้ที่
6 ลา้ นคน และมแี นวโน้มจะเพ่มิ ขึน้ อีกในอนาคต3

ขณะเดียวกัน ตลาดเกิดใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ได้รับประโยชน์
จากการปรับเปล่ียนห่วงโซ่อุปทานของโลกจากสงครามการค้าสหรัฐฯ-จีน การส่งออกสินค้าท่ีเกี่ยวเน่ืองกับเทคโนโลยี
ขั้นสงู ทย่ี ้ายฐานการผลติ เข้ามาจากประเทศเหลา่ น้นั เพ่ิมสงู ข้ึนเชน่ กัน

ปี 2563
• เวียดนาม ส่งออกขยายตัวร้อยละ 7.0 เติบโตสวนทางเศรษฐกิจโลก เนื่องจากเป็นฐานการผลิตของฟ็อกซ์คอนน์ (Foxconn)
บรษิ ทั อเิ ล็กทรอนิกสจ์ ากไตห้ วันทรี่ ับผลติ วตั ถดุ ิบให้ไอโฟน และส่งออกสนิ ค้าอตุ สาหกรรมทีเ่ ปน็ ดจิ ทิ ลั และนวัตกรรม เช่น โทรศัพท์
และโทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี คอมพวิ เตอรแ์ ละอิเล็กทรอนิกส์
• อินโดนีเซีย แม้ส่งออกหดตัวที่ร้อยละ 2.6 จากการส่งออกน้�ำมัน แต่ปัจจุบันเป็นแหล่งผลิตแบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า และได้มีการ
ลงนามบันทกึ ข้อตกลงร่วม (MOU) กบั บริษทั แอลจีของเกาหลใี ต้
• มาเลเซีย ส่งออกหดตวั ร้อยละ 2.6 แต่ในปัจจุบนั เป็นแหล่งผลิตเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าใหก้ บั บรษิ ัทญป่ี ุ่นหลายแบรนด์ และยังเปน็ แหล่งผลิต
คอมพวิ เตอร์ Mac Mini ใหก้ บั บรษิ ทั แอปเปลิ รวมทงั้ เปน็ แหลง่ ผลติ ถงุ มอื ยางใหก้ บั Hartalega Holdings - Top Glove ซง่ึ เปน็
ผผู้ ลติ ถงุ มอื ยางรายใหญข่ องโลก

ไทยจะปรับโครงสร้างการผลิตในประเทศอย่างไรให้สอดคล้องกับยุคอุตสาหกรรมใหม่ของโลก
ทผี่ า่ นมาไทยไดพ้ ยายามปรบั ตวั ใหท้ นั กบั การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมของโลกทกุ ยคุ ทกุ สมยั เพียงแตใ่ นปจั จบุ นั
มีคู่แข่งรายใหม่เข้ามาเพ่ิมมากข้ึน อีกท้ังอุตสาหกรรมด้ังเดิมมีความหลากหลาย การปรับเปล่ยี นอย่าง
เฉยี บพลนั จงึ เปน็ ความทา้ ทาย ถงึ เวลาแลว้ ทไ่ี ทยจะตอ้ งมองไปขา้ งหนา้ และยกระดบั ประเทศใหส้ รา้ งมลู คา่
เพ่ิมมากข้นึ เพ่ือรกั ษาความสามารถในการแข่งขันต่อไปอยา่ งย่งั ยืน

3 https://www.indiewire.com/2021/01/netflix-q4-2020-earnings-report-1234610190/

TPSO Journal 5

RS PEEPCOI RATL

โดย : นางสาวศศิวมิ ล ชว่ ยเชษฐ
กองวจิ ยั เศรษฐกจิ การคา้ มหภาค

ทา่ มกลางความเชอื่ มโยงกนั ของผคู้ นในยคุ เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ทม่ี กี ารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู กนั อยา่ งแพรห่ ลาย นำ� มาซงึ่ ความเสยี่ ง
ในการละเมิดสิทธิและความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้มากขึ้น การออกกฎหมายฉบับใหม่จึงมีขึ้นเพ่ือคุ้มครอง

“ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล” ซึ่งนบั เป็นหนง่ึ ในสินทรัพยม์ คี ่าในยคุ ของบ๊ิกดาต้า (Big Data) ได้อยา่ งรัดกมุ มากขึน้

พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมลู สว่ นบคุ คล (PDPA) คอื อะไร

พระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 หรือ Personal Data
Protection Act (PDPA) เปน็ กฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของพลเมอื ง
ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย เพ่ือป้องกันการล่วงละเมิดสิทธิ และให้การคุ้มครอง
ความปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคล ในกรณีท่ีข้อมูลร่ัวไหล ถูกถ่ายโอน หรือถูกดัดแปลง
โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล ซึ่งอาจสร้างความเสียหายแก่เจ้าของ
ข้อมูลได้ โดย พ.ร.บ. PDPA ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ กลไก และมาตรการก�ำกับดูแล

และคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตั้งแต่การเก็บรวบรวม การใช้ ไปจนถึง ตัวอย่างขอ้ มูลส่วนบคุ คล :
การเปดิ เผยขอ้ มลู โดยในการเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลในแตล่ ะครงั้ เจา้ ของขอ้ มลู ข้อมลู ทีท่ �ำใหส้ ามารถระบตุ วั ตบคุ คลนนั้ ๆ ได้
ส่วนบุคคลจะต้องได้รับทราบวัตถุประสงค์ของการจัดเก็บข้อมูล การใช้
ข้อมูล และระยะเวลาในการจัดเก็บข้อมูล รวมถึงจะต้องให้ความยินยอม
(Consent) ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลน้ัน ๆ ทุกครั้ง ชอื่ -สกลุ ข้อมูล
โดยการจดั เกบ็ และใชข้ อ้ มลู จะตอ้ งเปน็ ไปเทา่ ทจี่ ำ� เปน็ ตามทไ่ี ดต้ กลงกนั ไว้ เลขบตั รประชาชน เกีย่ วกบั สุขภาพ
รวมถึงจะต้องรับประกันความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัวเหล่านั้นด้วย เบอร์โทรศพั ท์ / อเี มล ทอ่ี ยู่
พ.ร.บ. PDPA น้ี มีผลบังคบั ใชก้ บั บุคคลและนติ ิบุคคล เช่น บรษิ ัท องค์กร
หน่วยงานทุกราย ที่มีการประมวลผลข้อมูลของบุคคลที่อาศัยอยู่
ในประเทศไทย ไม่ว่าการเก็บรวมรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลน้ัน
จะท�ำในประเทศไทยหรือไม่ โดยมีการบังคับใช้ พ.ร.บ. แล้วบางส่วน
เม่อื วันท่ี 28 พ.ค. 62 และจะบังคับใชเ้ ตม็ รูปแบบในวนั ที่ 1 มิ.ย. 64 น้ี

6 TPSO Journal

PDPA สง่ ผลกระทบกบั ใคร

ธุรกิจท่ีต้องเตรียมปรับตัวมากท่ีสุดกลุ่มหนึ่ง คือ ธุรกิจเก่ียวกับ
การค้าออนไลน์ เครือข่ายส่ือสังคมและการท�ำการตลาดส่วนบุคคล
เน่ืองจากปจั จุบนั มีการรวบรวมข้อมลู ผ้บู ริโภค และวิเคราะห์ พฤติกรรม
เพื่อน�ำเสนอสินค้าหรือบริการให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า
แต่ละคนที่แตกต่างกันไปให้ได้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเสนอสินค้า
ผ่านเว็บไซต์ การยิงโฆษณาในช่องทางโซเชียลมีเดียต่าง ๆ และ
การเสนอสินค้าหรือบริการท่ีคุณ‘อาจ’สนใจ โดยอาศัยผลการวิเคราะห์
ประวัติการใช้งานเว็บไซต์ สิ่งเหล่าน้ีล้วนเก่ียวข้องกับการใช้ประโยชน์ และมบี ทลงโทษอย่างชัดเจนหากไม่ปฏิบัตติ าม ในท�ำนองเดียวกนั ธรุ กิจ
จากข้อมลู สว่ นบคุ คลทัง้ ส้ิน อย่างไรกต็ าม การบังคบั ใชก้ ฎหมาย PDPA ธนาคารและการประกันชีวิต ก็เป็นอีกกลุ่มธุรกิจท่ีอาจได้รับผลกระทบ
ไม่ได้ห้ามด�ำเนินการหรือการท�ำการตลาดส่วนบุคคลในลักษณะนี้ ไม่น้อยจากกฎหมายฉบับนี้ ซึ่งจะต้องวางกรอบและแนวทางการจัดการ
แต่เป็นการสร้างมาตรฐานในการจัดเก็บและใช้ข้อมูลให้รัดกุมมากขึ้น ขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผู้ใชบ้ ริการ ให้ครบถว้ นและรดั กุมมากยิ่งขนึ้

นอกจากน้ี ผู้ด�ำเนินธุรกิจ หรือหน่วยงานท่ีมีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ และเอกชน จะต้องจัดทำ� นโยบาย

คุ้มครองขอ้ มลู สว่ นบุคคล (Privacy Policy) และบนั ทึกกิจกรรมการใชห้ รอื ประมวลผลขอ้ มูล เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดการสูญหาย เขา้ ถึง หรอื ดัดแปลงข้อมลู
ส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับอนญุ าตจากเจ้าของขอ้ มลู ดว้ ย

ใกล้... กวา่ ทีค่ ดิ ท่ามกลางการเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล ผู้บริโภค (ในฐานะของเจ้าของข้อมูล
สว่ นบคุ คล) อาจสมั ผสั ไดถ้ งึ การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ รอบตวั ซง่ึ เกดิ จากกฎหมาย
ฉบับนที้ ้ังสิ้น อาทิ

หน้าต่างป๊อปอัพ (Pop-up) ขอความ การยกเลิกการติดตามข่าวสารทางอีเมล กรณที มี่ กี ารตดิ ตง้ั กลอ้ งวงจรปดิ ในอาคาร
ยนิ ยอมการใชเ้ วบ็ คกุ ก ี้ พรอ้ มระบวุ ตั ถปุ ระสงคก์ าร ผ่านการกดยกเลิกการรับข่าวสาร หรือ ส�ำนักงาน ควรมีป้ายช้ีแจงวัตถุประสงค์การเก็บ
ใช้งาน เมื่อมกี ารเขา้ ใช้เว็บไซตต์ า่ ง ๆ unsubscribe ทต่ี อ้ งเป็นไปอยา่ งไมย่ ุง่ ยาก และ ข้อมูล เช่น “สถานที่นี้มีการติดตั้งกล้อง CCTV
ซับซ้อน เช่น ปุ่มยกเลิกการรับข่าวสารท้าย ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัยภายในบริเวณ
อเี มลประชาสมั พันธ์ อาคาร” เน่ืองจากรูปถ่าย นับเป็นข้อมูลชีวภาพ
ทสี่ ามารถใช้ตดิ ตาม หรือระบตุ ัวบคุ คลได้

นอกจากน้ี หากในอนาคตเกดิ การรว่ั ไหลของข้อมลู สว่ นบุคคลจากผู้ใหบ้ รกิ ารทางธรุ กิจ อาทิ แพลตฟอร์มซอ้ื ขายออนไลน์
ช่องทางเครือข่ายสังคมต่าง ๆ ดังเช่นท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีต หรือมีการใช้ข้อมูลในทางท่ีผิด ผู้ให้บริการจะถือว่ามีความผิด
และตอ้ งรับโทษทางกฎหมายทนั ที

จึงอาจกล่าวได้ว่ากฎหมายฉบับนี้มีเพ่ือคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเราในยุคดิจิทัล ท่ีข้อมูล
มีค่าด่ังทองค�ำอย่างแท้จริง ในฐานะผู้บริโภค จะต้องหมั่นตรวจสอบการเข้าถึงข้อมูลของตนเองเสมอ ขณะที่
ผู้ที่สวมบทบาทอ่ืน ทั้งภาครัฐหรือเอกชน ซ่ึงไม่ได้เป็นเจ้าของข้อมูล แต่มีการน�ำข้อมูลของบุคคลอ่ืนไปใช้ ไม่ว่า
ทางใดทางหน่ึง จะต้องเตรียมความพร้อมขนานใหญ่ในการวางแนวทางรวบรวมและใช้ข้อมูล เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหาย
ต่อเจา้ ของข้อมูล ซึ่งอาจสร้างความเสยี หายต่อเนอ่ื งไปยงั เศรษฐกจิ โดยรวมได้

ทีม่ าขอ้ มลู : EasyPDPA / Brandinside.Asia / SCB / Step Academy

TPSO Journal 7

economic เภดาพอื รนวมกเศุมรภษฐากพจิ นั ธ์ 2564

indicators

โดย กองดัชนีเศรษฐกจิ การคา้

ภาพรวม
เครอื่ งชีว้ ดั เศรษฐกจิ ท่ีสำ�คญั เดือน กุมภาพนั ธ์ 2564 เศรษฐกจิ ไทยในเดอื นนชี้ ะลอตวั ตอ่ เนอื่ งจากเดอื นทผ่ี า่ นมา เนอ่ื งจาก
ไดร้ บั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 ระลอกใหม่ สง่ ผลให้
%MoM %YoY %AoA กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส�ำคัญหลายกิจกรรมชะลอตัวตาม ท�ำให้รายได้
และกำ� ลงั ซอื้ ของประชาชนลดลง โดยสะทอ้ นไดจ้ ากเงนิ เฟอ้ ทปี่ รบั ตวั ลดลงมาก
ดัชนรี าคาผู้บริโภคท่วั ไป Headline CPI -0.91 -1.17 -0.75 ในเดือนนี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรการลดค่าครองชีพของรัฐ อย่างไรก็ตาม

สถานการณ์ด้านการผลิตและบริโภคเริ่มมีสัญญาณฟื้นตัว สอดคล้องกับ
เงินเฟ้อพ้นื ฐาน Core CPI -0.08 0.04 0.12 การส่งออก ที่ปรับตัวสูงข้ึนต่อเน่ืองเป็นเดือนที่ 2 อัตราการใช้ก�ำลังการผลิต

ท่ีกลับมาอยู่ในระดับใกล้เคียงกับระดับก่อนเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
ดชั นรี าคาผู้ผลติ PPI 0.5 0.1 -0.2 โควดิ -19 อตั ราการวา่ งงาน และรายไดเ้ กษตรกรทย่ี งั ขยายตวั ไดต้ อ่ เนอ่ื ง รวมทง้ั
มาตรการตา่ ง ๆ ของรฐั ทชี่ ว่ ยลดคา่ ครองชพี เพมิ่ กำ� ลงั ซอ้ื และกระตนุ้ เศรษฐกจิ
ยังออกมาอย่างต่อเน่ือง ดังนั้น คาดการณ์ว่าสถานการณ์ด้านราคาสินค้า
ดชั นรี าคาวสั ดุก่อสร้าง CMI 0.4 4.3 4.0 และบรกิ ารในระยะตอ่ ไปจะมแี นวโนม้ ขยายตวั ตงั้ แตเ่ ดอื นเมษายนเปน็ ตน้ ไป

ดัชนีราคาผบู้ ริโภค เดือนกุมภาพนั ธ์ 2564 ลดลงรอ้ ยละ 1.17 (YoY)

สัดสวนน้ำหนกั ยาสบู และเครอื่ งดมื่ ดชั นรี าคาผ้บู รโิ ภค (เงินเฟ้อท่ัวไป) เดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2564 เมอ่ื เทียบกบั เดือนเดยี วกัน
มแี อลกอฮอล ปีก่อน ลดลงร้อยละ 1.17 (YoY) ลดลงตอ่ เน่ืองเปน็ เดือนท่ี 12 นบั ตัง้ แตส่ ถานการณ์โควิด-19
จำแนกรายหมวด เร่ิมส่งผลต่อไทยในเดือนมีนาคมปีก่อน อย่างไรก็ตาม การหดตัวในเดือนน้ีมีปัจจัยหลัก
1.41 % จากมาตรการลดคา่ ครองชพี ของภาครฐั โดยเฉพาะการลดคา่ ไฟฟา้ และนำ�้ ประปาเปน็ ระยะเวลา
การบนั เทงิ การอาน 2 เดอื น (ก.พ.–ม.ี ค. 64) ประกอบกบั ราคาสนิ คา้ ในกลมุ่ อาหารสด โดยเฉพาะขา้ วสารเจา้ ขา้ วสาร
การศกึ ษา เหนยี ว และผักสด ลดลงตามผลผลติ ที่เพ่มิ ข้นึ และฐานราคาที่ต่ำ� กว่าปกี อ่ น ขณะท่รี าคาสนิ ค้า
และบริการในหมวดอื่น ๆ ส่วนใหญ่ ยังทรงตัวและเคลื่อนไหวสอดคล้องกับปริมาณผลผลิต
4.55 % และความตอ้ งการบรโิ ภคของประชาชน ยกเวน้ นำ้� มนั เช้ือเพลิง ทปี่ รับราคาสูงขึ้นเปน็ คร้ังแรก
ในรอบ 13 เดือน ตามการสูงข้ึนของราคาน้�ำมันในตลาดโลก เม่ือหักอาหารสด และพลังงาน
พาหนะ การขนสง อาหารและเครือ่ งดื่ม ออกแลว้ เงินเฟ้อพ้ืนฐานขยายตวั ที่ร้อยละ 0.04 (YoY) ดชั นีราคาผู้บรโิ ภค เม่ือเทยี บกับเดือน
และการสอื่ สาร ไมมแี อลกอฮอล มกราคม 2564 ลดลงร้อยละ 0.91 (MoM) และเฉล่ีย 2 เดอื น (ม.ค.-ก.พ.) ปี 2564 เทยี บกบั
ช่วงเดยี วกันของปกี ่อน ลดลงรอ้ ยละ 0.75 (AoA)
22.73 % 41.04 %

การตรวจรกั ษา เคหสถาน เคร่ืองนุง หม และรองเทา อัตราการเปลีย่ นแปลง
และบริการสว นบุคคล จำ�แนกรายหมวด
22.27 % 2.26 %
5.75 %

YoY -0.43 YoY -0.22 YoY -4.98 YoY -0.04 YoY -0.98 YoY -0.12 YoY -0.03
MoM -0.63 MoM -0.01 MoM -4.62 MoM -0.24 MoM -1.94 MoM -0.04 MoM -0.00

แนวโน้มเงินเฟอ้ เดอื นมนี าคม 2564

แนวโน้มเงินเฟ้อ เดือนมีนาคม 2564 มีแนวโน้มหดตัวเล็กน้อย โดยมีปัจจัยส�ำคัญจากผลของมาตรการดูแลค่าครองชีพประชาชน
ด้านสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา) ท่ียังมีผลต่อเน่ือง รวมท้ังราคาข้าวสารที่ยังต�่ำกว่าปีก่อน และสินค้าเกษตรอื่น ๆ ยังเคลื่อนไหวในทิศทางปกติ
ตามปริมาณผลผลิต ในขณะที่ราคาน้�ำมันในปีน้ีอาจผันผวนบ้างตามสถานการณ์ราคาโลก แต่มีแนวโน้มขยายตัวต่อเน่ืองทั้งปี ท้ังนี้ คาดว่าเงินเฟ้อในปี 2564
จะเคลอื่ นไหวระหว่างร้อยละ 0.7 - 1.7 (ค่ากลางอยูท่ ี่ +1.2) ซ่ึงเปน็ อัตราทน่ี า่ จะชว่ ยสนบั สนุนให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้อยา่ งเหมาะสมและตอ่ เนอ่ื ง

8 TPSO Journal

ดชั นรี าคาผ้ผู ลติ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2564 สงู ขน้ึ รอ้ ยละ 0.1 (YoY)

ดัชนีราคาผู้ผลิต เดือนกุมภาพันธ์ 2564 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน สัดสว นน้ำหนัก
สงู ขนึ้ รอ้ ยละ 0.1 (YoY) กลบั มาขยายตวั อกี ครง้ั ในรอบ 12 เดือน สอดคล้องกบั อัตรา จำแนกรายหมวด ผลติ ภัณฑ
การใช้ก�ำลังการผลิตท่ีขยายตัวสูงข้ึนใกล้เคียงกับระดับก่อนสถานการณ์โควิด-19 จากเหมือง
ระลอกแรก โดยหมวดผลิตภัณฑ์เกษตรกรรมและการประมง ยังคงขยายตัวได้ดี
ท่ีร้อยละ 3.9 ตามความตอ้ งการของตลาดท้งั ในและต่างประเทศทเ่ี พม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนื่อง ผลผลิต 2.91%
รวมถงึ มาตรการของภาครฐั ในรปู แบบตา่ งๆ สง่ ผลใหร้ าคาสนิ คา้ หลายรายการปรบั สงู ขนึ้ เกษตรกรรม
11.19% YoY 3.9 YoY -0.3
MoM 0.0 MoM 0.1

ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร กลุ่มพืชล้มลุก (ข้าวเปลือกเจ้า มะนาว พริกสด)
กล่มุ พืชยืนตน้ (ล�ำไย ผลปาลม์ สด ยางพารา) กลุ่มสตั ว์ (สุกรมีชีวิต ไข่ไก่ และไขเ่ ป็ด)
ผลิตภัณฑ์จากการประมง (ปลาทูสด ปลาทรายแดง ปลาสีกุน) หมวดผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม สูงข้ึนร้อยละ 0.3 ตามราคาวัตถุดิบท่ีสูงขึ้น และปริมาณผลผลิตสินค้า YoY -15.1 YoY 0.0
บางรายการลดลง ได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหาร (เนื้อสุกร กุ้งแช่แข็ง น�้ำมันปาล์มดิบ/ ผลิตภณั ฑ MoM 3.0 MoM 1.3
อตุ สาหกรรม
บริสุทธิ์ ข้าวสารเจ้า) กลุ่มผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก (ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง
และถุงมือยาง) กลุ่มเครื่องดื่ม (สุรากลั่น) กลุ่มโลหะข้ันมูลฐาน (เหล็กแผ่น เหล็กเส้น 85.90%

เหล็กฉาก) กลุ่มผลติ ภัณฑ์โลหะประดษิ ฐ์ (ตะแกรงเหล็กส�ำเร็จรปู และตะปู/สกรู/นอ็ ต) YoY 0.3 YoY -0.3

กลุ่มกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ (เยื่อกระดาษ และกระดาษแข็ง) ส�ำหรับกลุ่ม MoM 0.5 MoM 1.5

เคมภี ณั ฑแ์ ละผลติ ภณั ฑเ์ คมี (เมด็ พลาสตกิ ) เนอ่ื งจากอปุ ทานลดลงจากการปดิ ซอ่ มบำ� รงุ หมวดผลิตภัณฑ์จากเหมือง ลดลงร้อยละ 15.1 (น�้ำมันปิโตรเลียมดิบ
เคร่ืองจักรโรงงาน ประกอบกับราคาวัตถุดิบปรับตัวสูงขึ้น กลุ่มยานยนต์ ชิ้นส่วน ก๊าซธรรมชาติ) ตามภาวะราคาในตลาดโลก ดัชนีราคาผู้ผลิต เมื่อเทียบกับ
และอุปกรณ์ (รถยนต์น่ัง รถบรรทุกขนาดเล็ก) เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ เดือนมกราคม 2564 สูงขึ้นร้อยละ 0.5 (MoM) และเฉลยี่ 2 เดือน (ม.ค.-ก.พ.)
บางชิ้นส่วน กลุ่มผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอื่น ๆ (ทองค�ำ) ตามราคาตลาดโลก ขณะที่ ปี 2564 เทยี บกบั ชว่ งเดียวกนั ของปีกอ่ น ลดลงร้อยละ 0.2 (AoA)

ดัชนีราคาวสั ดกุ อ่ สร้าง เดือนกุมภาพันธ์ 2564 สูงขน้ึ ร้อยละ 4.3 (YoY)

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง เดือนกุมภาพันธ์ 2564 สัดสว นน้ำหนัก ไมและ อตั ราการเปล่ยี นแปลง
เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปีก่อน สูงข้ึนร้อยละ 4.3 (YoY) จำแนกรายหมวด ผลติ ภัณฑไม จำ�แนกรายหมวด

สูงข้ึนอย่างต่อเน่ืองเป็นเดือนที่ 5 ตามการสูงข้ึนของสินค้า 7.07%

ในหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ที่ปรับตัวสูงขึ้นตั้งแต่ วัสดุกอสรา ง ซเี มนต
อืน่ ๆ

ไตรมาสท่ี 4 ของปีที่ผ่านมา โดยเดือนนี้สูงข้ึนร้อยละ 21.0 17.06% 11.98% YoY 2.0 YoY -2.7 YoY -0.5 YoY 21.0
ตามความตอ้ งการและราคาในตลาดโลกเปน็ สำ� คญั สอดคลอ้ ง อปุ กรณไ ฟฟา MoM 1.7 MoM 0.0 MoM 0.5 MoM 0.1
และประปา
12.44% ผลติ ภณั ฑคอนกรตี
กับดัชนีการจ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างในประเทศท่ีปรับตัวสูงขึ้น
นอกจากนี้ สินค้าที่ปรับสูงข้ึนตามต้นทุน ได้แก่ หมวดไม้ สขุ ภณั ฑ 15.68%
และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 2.0 หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้า YoY 0.3 YoY -0.1 YoY -0.7 YoY 1.6 YoY 0.6
2.01% เหล็กและ
และประปา สูงขึ้นร้อยละ 1.6 หมวดวัสดุก่อสร้างอ่ืน ๆ ผลติ ภณั ฑเ หล็ก MoM 0.0 MoM 0.0 MoM 0.0 MoM 1.2 MoM -0.1
สูงขึ้นร้อยละ 0.6 หมวดกระเบ้ือง สูงข้ึนร้อยละ 0.3 วัสดุฉาบผวิ
23.52%

3.48%
กระเบื้อง
6.75%
ขณะทบี่ างหมวดสนิ คา้ ราคาปรบั ลดลงเนอ่ื งจากการแขง่ ขนั สงู และหมวดวัสดฉุ าบผวิ ลดลงรอ้ ยละ 0.1 ดัชนรี าคาวัสดุก่อสรา้ ง เมื่อเทียบกบั เดือนมกราคม 2564
ได้แก่ หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 2.7 หมวดสุขภัณฑ์ สงู ข้ึนรอ้ ยละ 0.4 (MoM) และเฉลย่ี 2 เดอื น (ม.ค.-ก.พ.) ปี 2564 เทยี บกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น
ลดลงรอ้ ยละ 0.7 หมวดผลติ ภณั ฑค์ อนกรตี ลดลงรอ้ ยละ 0.5 สูงขึ้นร้อยละ 4.0 (AoA)

ดชั นีความเชื่อมัน่ ผู้บริโภคโดยรวม เดือนกุมภาพนั ธ์ 2564 เทา่ กบั 45.5 (YoY)

ดัชนีความเช่ือม่ันผู้บริโภคโดยรวม เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมา
อยู่ที่ระดับ 45.5 เทียบกับระดับ 43.2 ในเดือนก่อนหน้า เป็นการปรับตัวเพ่ิมขึ้นทั้งดัชนี อัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเช่ือม่ันผู้บริโภคในปัจจุบันและในอนาคต โดยดัชนีความเชื่อม่ันผู้บริโภคในปัจจุบัน 4ภา4คเห.น8อื จำ�แนกรายอาชพี
4ภาค3กล.5าง
ปรับตวั เพิ่มข้นึ จากระดบั 36.3 มาอย่ทู ี่ระดบั 38.1 และดชั นคี วามเชื่อมน่ั ผบู้ รโิ ภคในอนาคต
พบว่าปรับเพ่ิมขึ้น จากระดับ 47.7 มาอยู่ท่ีระดับ 50.4 โดยเฉพาะในอนาคตปรับขึ้นมา ภาคตะวันออก
อยใู่ นชว่ งความเชอื่ มนั่ และดชั นเี ดอื นนป้ี รบั สงู ขน้ึ ในทกุ ภาค ทกุ อาชพี ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากมาตรการ
กระตนุ้ เศรษฐกจิ ของภาครฐั อาทิ โครงการเราชนะ โครงการ ม33เรารกั กนั โครงการคนละครงึ่ 4เฉยี 6งเห.น1อื เกษตรกร พนกั งาน ผ้ปู ระกอบการ
ท่ีสามารถเยียวยาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โควิท-19 ได้อย่างรวดเร็วและ เอกชน
ทั่วถึงประชาชนทุกระดับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โควิท-19 มีแนวโน้ม ม.ค. 64 44.3 ม.ค. 64 41.5 ม.ค. 64 43.8
ก.พ. 64 46.8 ก.พ. 64 43.8 ก.พ. 64 45.8

+/- +/- +/-

คลี่คลายลง ประกอบกับความคาดหวังในเรื่องวัคซีนที่จะเริ่มฉีดให้กับประชาชนกลุ่มแรก กรุงเทพ
ในเดือนมีนาคม 2564 น้ี
55.0 มาตรการกระตŒุน แล4ะป3ริม.ณ5ฑล พนกั งาน ไม่ได้
เศรษฐกจิ และวคั ซนี 4ภา7คใ.ต0 รบั จ้างอสิ ระ ของรฐั นักศึกษา ทำงาน
50.0 ม.ค. 64 49.3 ม.ค. 64 37.2
โควด 19 ม.ค. 64 39.9 ม.ค. 64 42.0
ก.พ. 64 43.0 ก.พ. 64 51.4 ก.พ. 64 42.5 ก.พ. 64 40.6
45.0 สถานการณก ารแพรร‹ ะบาด สถานการณเศรษฐกจิ ปรบั ตัวดีข้น
ของไวรัส Covid-19 ดขี ้น ในหลายสาขา และ Covid-19 +/- +/- +/- +/-
มีทิศทางที่ดขี ้น
ตามลำดบั

40.0 การพบผูŒติดเชอื้ ฯ ที่ กงั วล Covid รอบ 2 การแพรร‹ ะบาดของ
จ.ระยอง และการปรับ อุทกภยั และการ ไวรัส Covid-19
การแพรร‹ ะบาด
ครม.เศรษฐกิจ ขัดแยŒงทางการเมอื ง ระลอกใหม‹
35.0 ของไวรสั Covid-19

30.0 TPSO Journal 9
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ.

2563 2564






Click to View FlipBook Version