The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattarakornnaffa, 2021-12-19 07:52:38

ดินถล่ม 2

ดินถล่ม 2

ดนิ ถล่มหรอื โคลนถล่ม คอื ดนิ ถลม่ (Landslide or Mass movement) คอื การ
เคลอ่ื นที่ของมวลดนิ หรอื หิน ลงมาตามลาดเขาด้วยอิทธพิ ลของแรงโนม้ ถ่วงของ
โลก โดยปรกติ ดินถลม่ ทีเ่ กดิ ขึ้นในประเทศไทย สว่ นใหญ่ “ นา้ ” จะมสี ่วน
เกยี่ วขอ้ งกบั การเกดิ ดนิ ถล่มเสมอ โดยน้าจะเป็นตัวลดแรงต้านทานในการเคลอื่ น
ตวั ของมวลดินหรอื หิน และน้าจะเปน็ ตัวทท่ี ้าใหค้ ุณสมบัตขิ องดินท่เี ปน็ ของแข็ง
เปลยี่ นไปเป็นของไหลได้ ดินถล่ม เปน็ ปรากฏการณท์ ี่เกิดได้ท่ัวไปในบริเวณ
ภูเขาที่มคี วามลาดชนั สูง อยา่ งไรกต็ าม ในบริเวณท่ีมีความลาดชันตา่้ ก็สามารถ
เกิดดนิ ถลม่ ได้ถา้ มปี จั จัยทีก่ ่อให้เกิดดนิ ถล่ม โดยทั่วไปบรเิ วณทมี่ ักจะเกิดดนิ ถล่ม
คือ บริเวณที่ใกลก้ บั แนวรอยเล่ือนท่มี พี ลังและมีการยกตัวของแผน่ ดินขึน้ เปน็
ภูเขาสงู บรเิ วณทท่ี างน้ากดั เซาะเป็นโตรกเขาลึกและชนั บริเวณที่มีแนวรอยแตก
และรอยแยกหนาแน่นบนลาดเขา บริเวณทม่ี ีการผพุ ังของหินและท้าใหเ้ กดิ ชั้น
ดนิ หนาบนลาดเขา ในบริเวณท่มี คี วามลาดชนั ตา้่ และมดี ินท่ีเกดิ จากการผพุ ังของ
ชนั้ หินบนลาดเขาหนา ดนิ ถล่มมกั เกิดจากการทน่ี ้าซึมลงในชน้ั ดนิ บนลาดเขา
และเกิดแรงดันของน้าเพ่มิ ขนึ้ ในชัน้ ดินโดยเฉพาะในช่วงทีฝ่ นตกหนัก

ประเภทของดนิ ถล่มจ้าแนกตามลักษณะการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุท่ีพังทลายลงมา
ไดแ้ ก่

1.การล้มคว้า่ ( Topples)

2.การล่ืนไถล ( Slides)

3.การรว่ งหลน่ ( Falls)

4.การแผอ่ อกทางดา้ นขา้ ง ( Lateral spread )

5.การไหล (Flows)

ปจั จัยการเกดิ ดนิ ถล่ม

ดินถล่มที่เกดิ ขน้ึ ในปะเทศไทยเกิดจากปัจจัยหลกั 4 ประการ ดังนคี้ ือ

1.สภาพธรณวี ทิ ยา

โดยปกติช้ันดนิ ท่ีเกิดการถลม่ ลงมาจากภเู ขา เปน็ ช้นั ดินท่ีเกดิ จากการผกุ ร่อนของหิน ให้
เกดิ เปน็ ดิน โดยหนิ แตล่ ะชนิดเวลาผจุ ะใหช้ นดิ และความหนาของดนิ ทแ่ี ตกต่างกนั
ออกไป เนอ่ื งจากชน้ั หินแตล่ ะชนดิ มีอัตราการผพุ งั ไม่เทา่ กัน

2.สภาพภูมิประเทศ

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ผลที่เกดิ จากขบวนการเปลย่ี นแปลงของเปลอื กโลก การผพุ งั ที่
แตกต่างกนั ของช้ันหนิ และลกั ษณะการวางตัวของโครงสร้างชัน้ หนิ ซึง่ เปน็ ปจั จยั อีกตัวที่
มผี ลตอ่ เสถยี รภาพของดินบนภเู ขา คา่ ความลาดชันจะมีความสัมพันธโ์ ดยตรง กับ
เสถียรภาพของดนิ ทอ่ี ยบู่ นภเู ขา

3.ปรมิ าณนา้ ฝน

ดินถล่มที่เคยเกดิ ขน้ึ ในประเทศไทย จะเกิดขึน้ เมื่อฝนตกหนกั เปน็ เวลานาน โดยนา้ ฝนจะ
ไหลซมึ ลงไปในชนั้ ดนิ จนกระท่ังชนั้ ดนิ ชมุ่ น้า ไม่สามารถอุ้มนา้ ไวไ้ ด้ เนอ่ื งจากความดนั
ของนา้ ในดินเพิ่มข้นึ เปน็ การเพิม่ ความดันในช่องวา่ งของเมด็ ดิน ดนั ใหด้ ินมีการเคลอ่ื นท่ี
ลงมาตามลาดเขาไดง้ ่ายขึน้

4.สภาพสิ่งแวดลอ้ ม

จากบันทึกเหตกุ ารณด์ นิ ถล่มในอดีต พบวา่ พน้ื ทเี่ กดิ ดินถลม่ สว่ นใหญ่อยใู่ นพนื้ ท่ภี ูเขาสงู
ชนั และหลายๆ พืน้ ทพ่ี บว่ามกี ารเปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน

ลกั ษณะพื้นทีเ่ สย่ี งภยั ดนิ ถล่ม

- อยู่ติดภูเขาและใกลล้ ้าหว้ ย
- มรี ่องรอยดนิ ไหลหรอื ดนิ เลอื่ นบนภเู ขา
- มรี อยแยกของพ้นื ดนิ บนภเู ขา
- อยบู่ นเนนิ หนา้ หบุ เขาและเคยมีโคลนถล่มมาบา้ ง
- ถกู น้าป่าไหลหลากและท่วมบอ่ ย
- มีกองหนิ เนนิ ทรายปนโคลนและตน้ ไม้ ในหว้ ยใกลห้ มู่บ้าน
- พ้นื ห้วยจะมีก้อนหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกนั ตลอดทอ้ งน้า

ข้อสังเกตุหรอื สิ่งบอกเหตุ

- มฝี นตกหนกั ถึงหนกั มาก (มากกว่า 100 มลิ ลเิ มตรตอ่ วนั )
- ระดบั น้าในหว้ ยสูงขนึ้ อย่างรวดเร็ว
- สขี องน้าเปล่ียนเป็นสขี องดนิ บนภเู ขา
- มีเสียงดงั อ้อื องึ ผดิ ปกตดิ งั มาจากภเู ขาและลา้ หว้ ย
- นา้ ทว่ มหมูบ่ า้ น และเพ่ิมระดับขน้ึ อยา่ งรวดเรว็


Click to View FlipBook Version