The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sudlorsoysong, 2022-01-25 01:09:42

1643083485443_Covid-19

1643083485443_Covid-19

CORONAVIRUS
(COVID-19)



คำนำ

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียน โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้
ที่ได้จาก Covid-19 ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับโรคระบาดของ Covid-19 รวมไป
ถึงสาเหตุของการเกิดโรคระบาด ไปจนถึงวิธีการป้องกันและการรักษาโรคระบาดนี้
อย่างไรให้ปลอดภัย

ผู้จัดทำหวังว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน นักเรียน นักศึกษาที่ต้อง
การสืบค้นข้อมูลนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้
และขออภัย ณ ทีนี้ด้วย

สารบัญ ข

เรื่อง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
1
ไวรัสโคโรนา หรือโควิด-19 คืออะไร ?
อาการเมื่อติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือไวรัสโควิด-19 2
กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโควิด-19 3-4
หากมีอาการโควิด 19 ควรทำอย่างไร ?
วิธีป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 5
โรคโควิด 19 แพร่ระบาดได้อย่างไร 6-7
ระยะฟักตัวของโรค
วิธีการแพร่ของ โรค 8
ระบาดวิทยาของเชื้อ 9
เช็กอาการโควิด-19 ลงปอด 10
ยืนยันตัวเลขผู้ติดเชื้อCOVID-19 ทั้งหมดในประเทศไทย 11
12-14
15-16

1

ไวรัสโคโรนา หรือโควิด-19 คืออะไร ?

ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้ง
แรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจนว่า
มาจากที่ใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเชื้อได้ทั้งในมนุษย์
และสัตว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์นี้แล้ว
ทั้งหมด 6 สายพันธุ์ ส่วนสายพันธุ์ที่กำลังแพร่ระบาด
หนักทั่วโลกตอนนี้เป็นสายพันธุ์ที่ยังไม่เคยพบมาก่อน
คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึงถูกเรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสาย
พันธุ์ใหม่” และในภายหลังถูกตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า
“โควิด-19”

2

อาการเมื่อติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่

หรือไวรัสโควิด-19

อาการของไวรัสโควิด-19 สังเกตได้
ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง ดังนี้

1.มีไข้
2.เจ็บคอ
3.ไอแห้ง ๆ
4.น้ำมูกไหล
5.หายใจเหนื่อยหอบ

3

กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่
หรือโควิด-19

•เด็กเล็ก (แต่อาจไม่พบอาการรุนแรงเท่าผู้สูงอายุ)
•ผู้สูงอายุ
•คนที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้ว เช่นโรคหัวใจ เบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง
•คนที่ภูมิคุ้มกันผิดปกติ หรือกินยากดภูมิต้านทานโรคอยู่
•คนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานมาก

4

กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่
หรือโควิด-19

• ผู้ที่ต้องทำงาน หรือรักษาผู้ป่วย ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโค
วิด-19 อย่างใกล้ชิด
• ผู้ที่เดินทางไปในประเทศเสี่ยงติดเชื้อ เช่น จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง
มาเก๊า สิงคโปร์ ฯลฯ
• ผู้ที่ทำอาชีพที่ต้องพบปะชาวต่างชาติจำนวนมาก เช่น คนขับแท็กซี่ เจ้า
หน้าที่ในโรงพยาบาล ลูกเรือสายการบินต่าง ๆ เป็นต้น

หากมีอาการโควิด 19 ควรทำอย่างไร ? 5

หากมีอาการของโรคที่เกิดขึ้นตาม 5 ข้อดังกล่าว ควรพบแพทย์เพื่อทำการตรวจ
อย่างละเอียด และเมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่
บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องมาก
ที่สุดหากเพิ่งเดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง ควรกักตัวเองอยู่แต่ในบ้าน ไม่ออกไปข้าง
นอกเป็นเวลา 14-27 วัน เพื่อให้ผ่านช่วงเชื้อฟักตัว (ให้แน่ใจจริง ๆ ว่าไม่ติดเชื้อ)

วิธีป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 6
สายพันธุ์ใหม่
1 หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการไอ จาม น้ำมูกไหล

เหนื่อยหอบ เจ็บคอ

2 หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยง

3 สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่ออยู่ในที่สาธารณะ

4 ระมัดระวังการสัมผัสพื้นผิวที่ไม่สะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะ

อยู่ รวมถึงสิ่งที่มีคนจับบ่อยครั้ง เช่น ที่เปิด-ปิดประตูในรถ
ก๊อกน้ำ ราวบันได ฯลฯ เมื่อจับแล้วอย่าเอามือสัมผัสหน้า และ
ข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ กระเป๋า
ฯลฯ

5 ล้างมือให้สม่ำเสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20

วินาที ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่ต่ำกว่า 70% (ไม่ผสมน้ำ)

7

วิธีป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 6 งดจับตา จมูก ปากขณะที่ไม่ได้ล้างมือ
สายพันธุ์ใหม่

7 หลีกเลี่ยงการใกล้ชิด สัมผัสสัตว์ต่าง ๆ โดยที่ไม่มี

การป้องกัน

8 รับประทานอาหารสุก สะอาด ไม่ทานอาหารที่ทำ

จากสัตว์หายาก

9 สำหรับบุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ที่ต้องดูแลผู้

ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือโค
วิด-19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่
แว่นตานิรภัย เพื่อป้องกันเชื้อในละอองฝอยจาก
เสมหะหรือสารคัดหลั่งเข้าตา

8

โรคโควิด 19 แพร่ระบาดได้อย่างไร

เราสามารถรับเชื้อจากผู้ติดเชื้อโควิด 19 คนอื่น โรคนี้สามารถแพร่จากคนสู่คนผ่านทางละอองน้ำมูก
น้ำลายจากจมูกหรือปากซึึ่งออกมา เมื่อผู้ป่วยโรคโควิด 19 ไอ จามหรือพูด ละอองเหล่านี้ค่อนข้างหนัก
ไปไม่ได้ไกล และจะตกลงสู่พื้นอย่างรวดเร็ว เรารับเชื้อโรคโควิด 19 ได้จากการหายใจเอาละอองเข้าไป
จากผู้ป่วย เพราะฉะนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะรักษาระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 1 เมตร ละออง
เหล่านี้ยังตกลงสู่วัตถุและพื้นผิวต่างๆ เช่น โต๊ะ ลูกบิดประตู ราวจับ และเมื่อคนเอามือไปจับพื้นผิวเหล่า
นั้นแล้วมาจับตา จมูกหรือปาก ก็จะมีเชื้อโรค นี่เป็นเหตุผลว่าทำไมเราจึงต้องล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและ
สบู่ หรือใช้แอลกอฮอลเจลถูมือ

9

ระยะฟักตัวของโรค



โดยเฉลี่ยประมาณ 2 วัน (อาจมีระยะฟักตัวนานถึง 3 – 4 วัน)
สำหรับโรคซาร์สอาจ ใช้ระยะฟักตัว 4 – 7 วัน
(อาจนานถึง 10 – 14 วัน)

10

วิธีการแพร่ของ โรค

แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลั่ง
จากทางเดินหายใจหรือแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละออง
น้ำมูก น้ำลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อโดยการ ไอ
หรือจาม

11

ระบาดวิทยาของเชื้อ

เชื้อไวรัสโคโรน่า (CoVs) พบได้ทั่วโลก โดยในเขตอบอุ่น
(temperate climates) มักพบเชื้อโคโรนาไวรัสในช่วงฤดูหนาวและฤดู
ใบไม้ผลิ การติดเชื้อโคโรนาไวรัสอาจทำให้เกิดอาการในระบบทางเดิน
หายใจส่วนบนได้ถึงร้อยละ 35 และสัดส่วนของโรคไข้หวัดที่เกิดจากเชื้อ
โคโรนาไวรัสอาจสูงถึงร้อยละ 15อาจ การติดเชื้อพบได้ในทุกลุ่มอายุ แต่พบ
มากในเด็ก อาจพบมีการติดเชื้อซ้ำได้ เนื่องจากระดับภูมิคุ้มกันจะลดลง
อย่างรวดเร็วภายหลังการติดเชื้อ สำหรับการติดเชื้อทางเดินหายใจ
เฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส (SARS CoV) พบการระบาดปี พ.ศ. 2546 โดย
พบเริ่มจากประเทศจีนแล้วแพร่กระจายไปทั่วโลกพบรายงานผู้ป่วยโรค
ซาร์สทั้งสิ้นมากกว่า 8, 000 ราย และเสียชีวิตมากกว่า 750 ราย

12

เช็กอาการโควิด-19 ลงปอด

“หน้าที่สำคัญของปอดคือการแลกเปลี่ยนของออกซิเจนในเลือด ถ้าผู้ป่วยโควิด-19 เกิดเชื้อลงสู่ปอด
จะทำให้มีอาการหอบเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม เจ็บแน่นหน้าอก และระดับออกซิเจนในเลือดลดลง หากระดับ
ออกซิเจนในเลือดลดลงมากเกินไป เช่น ออกซิเจนที่ไปเลี้ยงในส่วนของสมองน้อยลง จะทำให้เกิดภาวะ
ซึม รู้สึกอ่อนเพลียได้” นพ.สมศักดิ์ บอกว่า เกณฑ์ปกติระดับออกซิเจนในเลือดของร่างกายจะอยู่ที่
ระดับ 97-100% ซึ่งตรวจได้ด้วยเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว หรือหากต้องการเช็กอาการว่าโควิด-19
ลงปอดหรือไม่นั้น ผู้ป่วยสามารถเช็กจากการลองออกกำลังกาย เบา ๆ เช่น การเดินไวในระยะเวลา 6
นาที แล้วตรวจวัดระดับออกซิเจนอีกที ซึ่งหากเกิดความผิดปกติในถุงลมในปอด(Alveoli) จะทำให้มี
การแลกเปลี่ยนของออกซิเจนลดลง ดังนั้นหากมีโรคเกี่ยวกับปอดหรือเชื้อลงปอด จะทำให้ระดับ
ออกซิเจนในเลือดลดน้อยลงกว่าระดับปกติ

13

เช็กอาการโควิด-19 ลงปอด

กรณีผู้ป่วยโควิด-19 มีอาการรุนแรง มีปอดอักเสบร่วมด้วยและปอดอักเสบมีปัญหาทั้ง 2 ข้าง แพทย์จะ
ให้ผู้ป่วยนอนควํ่า เพราะการนอนควํ่าจะสามารถช่วยให้ปอดขยายได้ดีขึ้น ไม่มีตัวเบียดกัน ปริมาณเนื้อ
ปอดจะมีโอกาสแลกเปลี่ยนออกซิเจนได้ดีขึ้น เมื่อผู้ป่วยโควิด-19 รักษาตัวจนหายดีแล้วปอดจะกลับมา
เป็นเหมือนคนปกติ สิ่งสำคัญที่สุด ช่วงการระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 คือ ทุกคนต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้
เกิดการติดเชื้อ ด้วยการใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา แม้กระทั่งอยู่บ้านร่วมกับ คนในครอบครัว หมั่น
ล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์อย่างสมํ่าเสมอ เว้นระยะห่าง หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในพื้นที่แออัด
เลี่ยงการสัมผัสหรือใกล้ชิดผู้ที่มีความเสี่ยงสูง และทำให้ร่างกายตนเองแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันที่ดี ด้วย
การออกกำลังกายเป็นประจำ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่

14

เช็กอาการโควิด-19 ลงปอด

นอกจากนี้ การเข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 จะช่วยให้
ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโควิด-19 ลดความรุนแรงของโรค
ช่วยให้อาการป่วยเบาลง สามารถหายป่วยและกลับมาใช้ชีวิต
ปกติได้เร็วขึ้นมากกว่าผู้ที่ไม่ เคยได้รับวัคซีน.

15

ยืนยันตัวเลขผู้ติดเชื้อ
COVID-19

ทั้งหมดในประเทศไทย

16

Covid-19 in thailand


Click to View FlipBook Version