The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานแก้ชีววิทยา
โพรติสต์คล้ายสัตว์
โพรติสต์คล้ายเชื้อรา
โพรติสต์คล้ายพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piraya1st, 2023-01-05 21:25:42

Protista 26_พิรญาณ์ รักชัย

งานแก้ชีววิทยา
โพรติสต์คล้ายสัตว์
โพรติสต์คล้ายเชื้อรา
โพรติสต์คล้ายพืช

eaubankaueraPiareptmnrercrovycuaoonitoadnrltilestonosiaiiscintncmtoteashmysprplolelsaaefourlroiutrgrnflveaepanatebcrsslrgnrsaeeiiietiiionn.lsnmesflrtPmsostwspn.rre.usoilaaMvnnaetttetodliouehsnrsrratae,tsatss #งานแก้

วิชาชีวะ

โพรติสต์คล้ายสัตว์
โโพพรรตติิสสตต์์คคลล้้าายยพเืชืช้อรา

จัดทำโดย
พิรญาณ์ รักชัย ม.6/10 เลขที่26

Prโoพtรทิiสstต์a จุลชีพยูแคริโอตหลากหลายกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง
ในอดีตกลุ่มโพรทิสต์มีสถานะเป็นอาณาจักร

โพรทิสตา ซึ่งรวมสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่ไม่สามารถ
จัดประเภทลงอาณาจักรอื่นได้เลย ต่อมาก็ถูก

คัดค้านในอนุกรมวิธานสมัยใหม่ มันอาจพิจารณา
ได้ว่าเป็นการรวมกลุ่มอย่างหลวม ๆ ของสิ่งมีชีวิต

30-40 ไฟลัมที่ผสมผสานกันต่าง ๆ
นานาในเรื่องภาวะโภชนาการ กลไกของการ
เคลื่อนไหวเอง ผนังที่ห่อหุ้มเซลล์ และวงจรชีวิต

protiston

protista Or protozoa
มีเซลล์เดียว
มีหลายเซลล์ เซลล์เดียวขนาดเล็กมาก
(ชนิดยูคาริโอต)
มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส อยู่อย่างอิสระในดิน
ในน้ำจืดในน้ำเค็ม
เช่น ยูกลีนา อะมีบา
พารามีเซียม

การแบ่งของ โปรติสต์คล้ายสัตว์ (Animal-like protists)

"กลุ่ม" เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินอาหาร
ผ่านช่องทางที่เป็น ปาก (mouth) และมีระบบการย่อย
อาหารภายในร่างกาย(ingestion) คล้ายกับในสัตว์ แต่
เป็นกลุ่ม Page 4 ของสิงมีชีวิตที่เป็นเซลล์เดียว
(unicellular) และนิยมเรียกโพรทิสต์ในกลุ่มนีว่าโพรโท
ซัว (protozoa)

HIGHLIGHT โปรติสต์คล้ายพืช (Plant-like Protist)

แบ่งออกได้ เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้เองจาก
เป็น 3 กลุ่มใหญ่ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)

สิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ได้แก่ สาหร่าย(algae) ทั้งหมด และ
มีทั้งที่เป็นสาหร่ายเซลล์ เดี่ยว (unicellular algae)
เช่น ไดอะตอม และสาหร่ายหลายเซลล์ (multicellular

alage)

โปรติสต์คล้ายเชื้อรา (Fungus-like Protist)

เป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ จะใช้วิธีการย่อยสลายอาหารที่อยู่ภายนอกและดูดซึม
เข้ามา (absorption) และมีลักษณะทั่วไปที่ดูคล้ายกันกับรา แต่โพรทิสต์กลุ่มนี้ก็มีลักษณะหลาย
ประการที่แตกต่างไปจากราเช่นกัน เช่น สามารถสร้างเซลล์ที่มีแฟลกเจลลา ในเซลล์พบเซนทรี
โอล (centriole) ซึ่งไม่พบในสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรเห็ดราและผนังเซลล์ (cell wall) มีเซลลูโลส
(cellulose) เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งแตกต่างไปจากสารประกอบไคติน (Chitin) ที่พบในผนัง
เซลล์ของเห็ดรา ตัวอย่างของโพรทิสต์ในกลุ่มนี้ได้แก่ ราเมือก (Slime mold)

PLANT-LIKE PROTIST

กลุ่มสาหร่าย (Algae) : พัตนามาจากโปรคาริโอต

เป็นโพรทิสต์ที่สร้างอาหารเองได้ Task List
โดยการสังเคราะห์แสง
บางชนิดเคลื่ อนที่ได้โดย
ลักษณะสำคัญ แฟลกเจลลาหนึ่งเส้นหรือ
มากกว่า บางชนิดเคลื่อนที่
มีคลอโรฟิลล์ a และ c ไม่ได้ เช่น สาหร่ายกลุ่มได
มีแคโรทีนอยด์และแซน อะตอม (diatom)
โทฟิลล์มากจึงเห็นเป็นสี
น้ำตาลหรือแกมเขียว พบได้ทั้งเซลล์เดียว โคโลนี
ผนังเซลล์ประกอบด้วย และเป็นเส้นสาย ตาม
เซลลูโลสและเพคติน แหล่งน้ำจืดและน้ำเค็ม

อาหารสะสมเป็นน้ำมัน
พบทั้งน้ำจืด-น้ำเค็ม

PLANT-LIKE PROTIST

สาหร่ายสีเขียว (Green algae)

มีคลอโรฟิลล์ a และ b และมีความใกล้ชิดกับพืชมากที่สุด ส่วนใหญ่
พบได้ในแหล่งน้ำจืดหรือบนบก มีเป็นส่วนน้อยที่พบในน้ำทะเล บาง
ชนิดสามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น Chlamydomonas และ Volvox ส่วน
ใหญ่ เป็นสาหร่ายทะเล เก็บสะสมอาหารในรูปของแป้ง บางชนิด
สามารถนำมาประกอบอาหารบริโภคได้เช่น Spirogyra sp. หรือ เทาน้ำ
เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามินสู

Chlorella sp. Volvox sp.

Chara sp. Spirogyra sp.

PLANT-LIKE PROTIST

สาหร่ายสีแดง ( Rad algae)

มีสารสีไฟโคอีริทริน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ a
และ d สะสมอาหาร ในรูป floridian และแป้ง พบในเขตร้อน
มากกว่าในเขตอบอุ่น เช่น จีฉ่ายหรือพอไฟรา Porphyra sp. หรือ
โนริ (นำมาทำเป็นอาหาร แกงจืด ข้าวปั้ น ทอดกรอบ) สาหร่าย
ผมนางหรือกราซิลลาเรีย Gracilaria sp. (ใช้ผลิตวุ้น)

Porphyry sp. Nori

Gracilaria sp. Ceranium sp.

PLANT-LIKE PROTIST

สาหร่ายสีนํ้าตาล (Brown alga)

มีคลอโรฟิลล์ a , c และสารสีน้ำตาลเรียกว่า ฟิวโคแซนทิน เป็นสาหร่ายที่
มีขนาดใหญ่ และโครงสร้างซับซ้อน มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เช่น สาหร่าย
เคล (Kelp/ Laminaria sp.) สาหร่ายทุ่น หรือ Sagassum sp.



สาหร่ายทุ่น Sagassum sp. เป็นสาหร่ายที่มีธาตุไอโอดีนสูง
ลามินาเรีย Laminaria sp. หรือคอมบุ นิยมนำมาทำซุป
พาโดนา Padina sp. ฟิวกัส Fucus sp. นำมาใช้ผลิต โพแทสเซียม

Padina sp. Laminaria sp.

Sagassum sp. Fucus sp.

PLANT-LIKE PROTIST

ไดอะตอม (Diatoms)

เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีสารสีชนิดเดียวกับสาหร่ายสีน้ำตาล
ทำให้มีสีเหลือง หรือน้ำตาลแกมเหลือง ผนังเซลล์ประกอบด้วยซิลิกา
มีลักษณะเป็นฝาประกบกันสองฝา เมื่อไดอะตอมตายลงและ ทับถม

กันจะเกิดเป็น Diatomaceous earth นำมาใช้ในอุตสาหกรรม
เช่น การกรอง น้ำยาขัดโลหะ ยาสีฟัน สารเคลือบวัสดุต่าง ๆ

Diatoms

Sagassum sp.

Toothpaste

PLANT-LIKE PROTIST

ยูกลีนา (euglena)

เป็นสิ่งมีชีวิตซลล์เดียวขยายพันธุ์ได้โดยวิธีแบ่งเซลล์เซลล์
เดียวขยายพันธุ์ได้โดยวิธีแบ่งเซลล์
มีเยื่อหุ้มหนาเรียก เพลลิเคิล (Pellicle)
มีช่องเปิดขนาดเล็ก เรียก ไชโตสโตน (Cytostome)
มีแฟลเจลลัม โดยมี 2 เส้น
มีคอนแทร็กไทล์แวคิวโอ่ ทำหน้าที่รวบรวมน้ำและกำจัดน้ำ 50
Um โดยการหดตัว
มีจุดตาสีแดง (Eye spot or Stigm)

Phacus sp. SEauggalessnuam sp.

Name: Fungus-like protists Type: 2 Date: Jan 5, 2023 Subject: Science Biology

FUNGUS-LIKE โปรติสต์คล้ายเชื้อรา
PROTISTS
สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้ จะใช้วิธีการย่อยสลาย
อาหารที่อยู่ภายนอกและดูดซึมเข้ามา (absorption) และมี

ลักษณะทั่วไปที่ดูคล้ายกันกับรา แต่โพรทิสต์กลุ่มนี้ก็มี
ลักษณะหลายประการที่แตกต่างไปจากราเช่นกัน

ราน้ำ (water mold) ราน้ำ (water mold)
ม( มาีกเ ยืก่(เอeวซ่หuาุล้มหkล์นนaึเิ่ปงวr็ เนyนคิoแวลtเบีคiยcบลสียcยู)แeสใคlนl )รหิโนึอ่ งตเ ซ ล ล์ อ า จ มี
(Sliรmาเeมืmอกold) อแอิสไนวมอา่ดทรกมีลรอซคี้(ิรยอาhไ์ลาหดมeหสอาสtร์รโหรื้eสรอาจรrฟาืงเาอิoรปอลก็เอtนาปิลแr็์นหปoนหตทารp้ผลรูอ่ร้ส)ีงยเิยง่ตอ์ออไงดาดยหู้ไหดรสมรัาื่บซอลไรัดพบาอ้ืs่ยสลนyัสางmดร้างวจรbายานioกกแnสาิล่รtงะs

ราเมือก เ(เซพซลลบลผลเููฉโโนลลัพงสสาเซะ((ใchลนeปelzmรluyะiกlgcoอoesบmleluด)y้lวcoยostea))หหรืรอือไเคฮมิ (wateรrานm้ำold)
(Slime mold) ทิน (chitin)
ราเมือก
เป็นโพรทิสต์ที่คล้ายรา รามีลักษณะเป็นเส้นใย (Slime mold)
(fungus-like protist) หเแสเสืชร้ลืบ้ืนออะพใสรัไยืฮนาบขฟแธพุ์อับา่คนงืง(อธรhุอ์าสyอรปมpวกีอมหhเปรทนa็์ั้้นงา)(sทสี2่pยรึ้oปาดrงรตeิอะดเ)วภักเยัทสบ้วนอคะืใาอยหขาอรง
ลักษณะที่คล้ายรา (fungi) คือ ซแเhึ(่สnงล้yนมoะpีเไใnลสhซยั้กนโaแsตษใeeบยปณ)pบแพภtมะบีaลเาผบปtยา็นeไสนใัมนงซ่ทhึ่มกเมัีอyส้ผน้กpนภนรhั(ใางsะยaยจeกมั)ใา้ีpนนผยtมนอaีันยงtิู่eวกทัั้่เนวคไลปียส
ไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงและ
มีโครงสร้างเป็นเส้นใยเรียกว่า Mycetozoa (ราเมือก)
ไฮฟา (hypha) ลักษณะที่คล้าย คขืออพนบไมใ้นหบรือริใเบวณไม้ทเี่นช่ื้านเแปื่ ฉอะยแมลีะ2ตากมลุ่ม
กันนี้เป็นการวิวัฒนาการคล้าย
กัน เพื่ อปรับตัวให้เป็นผู้ย่อย ราเมือกชนิดพลาสโมเดียม
สารอินทรีย์ ถ้าจัดตามวิธีการ (molds)
เคลื่ อนที่ จะจัดราเมือกอยู่กับ เป็นเซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส
พวกอะมีบา เพราะราเมือกใช้ขา
เทียม (pseudopodia) ในการ ราเมือกชนิดเซลล์ลูลาร์
เคลื่ อนที่และหาอาหาร (cellular slime molds)
เป็นเซลล์ที่มี
อิสระ 1 นิวเคลียสและอยู่ได้

ราเมือก
(Slime mold)

Name: Fungus-like protists Type: 2 Date: Jan 5, 2023 Subject: Science Biology

วัฏจักร ความหลากหลายของราเมือก
ราเมือก
ราเมือกมีมากกว่า 900 สปีชีส์ พบมากในเขต
ร้อนแต่ก็สามารถพบในเขตอบอุ่นด้วย
สามารถจัดจำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ

splliamsemmodoiladls ชนิดพลาสโมเดียม
อมสขอียเูอปะ(ล่ซ(ัมfcเpเถงอกลีlมค้eเืบahส่ารลษซิแลอ์ล่l์คาืg้งอal่แลณฟ)อสอวแeาใgบลมลปนซน์จาึะlวo่บเlมคเงจอบทเดaดีัcจีปใ่ไ่บชลรา็แืtดลยyล์ม้น้น้งงeน่หา้ลtอนวลมำัยเกอdoม้รีะไมซนาืผ(กอดรกsอาซิuล้cทขึณีนึi่ะนกแฟ่้งsัeลnมีรน์งจอลี)าสlเทา้iบกีlเซะcโาว่ัเา)เซมกเาบมหชeจลมีปื่ซลแไึ็คานอlะ(่ลาซนlง์ลaเรฟuรกวเ์ทปโจีเโดm็่ถาทลlซอสีดเนะaมยกวเซเลาาoิย่รrิจปชวดาศมสืล็e)า้กั์ลยนกนจายเทbัทีาลมีร่บา่ืรoมาถกอีidก

cellular slime ชนิดเซลลูลาร์
molds
เเปมเก็รดขขขตอีีซนแ่ัาลเลอยาจออุวัลหแเร่หดกมงะวม้งกกลาตมืงสัแ์ไษ่เอนมมเเซแาเรมคีวหรณ้มกืไะาัืีลโาล่อฏดยสัลล้เทอชง้่กงปะกจเมกนา็พสนสคัปไษินินกท่็วหอีดีปงดลล่้่น้ณส้จราเารดแัอาาพซืกเีชญะหอยซซวีะรมลึลลแว์าคไุดมิผลเ่ญลาดรfาตมลจล์้ขลลเrนส้มร้์จะขกรัจาาีัuออขิโเงบณะญยอะามม1iงนมืดแม่คtะองนีอเแำเกiตาไขิกดวnเะ่พ็มดอวรีืตซลงอ่ม่าุา่ยg่ีเงเอยใลมลแมรูไบคหหม่ชปใใปbะลรชีกมาหลืนญ์ัวเ้ี้งsoินลน่นซยเาีสอต่้ิทlซเdอะ่วกลเuสงย่ชเ็สทูลนา่yย่ปลจ่gแนเ์็มสาลตปสะsจน่์ขว่เ็นงวทมัlาอะดนีเเด้อu่ีนอนไชรซเาคยอ่มงลกgิรเกนใ่ล้ิวสสวคฟหอรดว่แลัซากวรว์มึญมมงขั่ลมีึงน่ะมบ้ไทนะีจ่

โ ป ร ติ ส ต์ ค ล้ า ย สั ต ว์

Animal-like protists
[ protozoa ]

โ ป ร โ ต ซั ว ( P R O T O Z O A ) โ ป ร โ ต ซั ว ( P R O T O Z O A )

พบได้ทั่วไปในแหล่งน้ำจืด ลักษณะเด่น มีนิวเคลียส 2 ขนาด
ดำรงชีวิตเป็นอิสระ คือ micronucleus ขนาดเล็ก
มีซิเลียรอบเซลล์ (ดำรงชีวิตแบบ
cell เดียว or กลุ่ม) macronucleus ขนาดใหญ่

โ ป ร โ ต ซั ว ( P R O T O Z O A ) โ ป ร โ ต ซั ว ( P R O T O Z O A )

มีออร์แกเนลล์ค่อนข้างสมบูรณ์ อาหาร คือ สาหร่ายและแบคทีเรีย
เยื่อหุ้มเซลล์ใส ยืดหยุ่นได้ดี จะถูกเก็บและย่อยในถุง เรียก
เป็นโปรตีนเรียก pellicle food vacuole Contractile
ใช้ซิเลียโบกพัดหาอาหารระหว่าง vacuole ปั๊ มน้ำส่วนเกินออกทิ้ง
ที่ว่ายน้ำไปด้วย นอกเซลล์

โ ป ร ติ ส ต์ ค ล้ า ย สั ต ว์

Animal-like protists
[ameba]

อ ะ มี บ า ( A M E B A ) อ ะ มี บ า ( A M E B A )
ชื่อวิทยาศาสตร์: Amoeba
สามารถเคลื่อนไหวได้โดยใช้เท้า เทียม สายพันธุ์ที่เหนือกว่า: Amoebidae
(pseudopods) ชั้น: Tubulinea
โดเมน: Eukaryota
ใช้ขาเทียมในการหาอาหารด้วย โดยใช้ขา ไฟลัมย่อย: Lobosa
เทียมโอบล้อมอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อสร้าง
food vacuole ย่อยด้วยเอนไซม์ แล้ว อ ะ มี บ า ( A M E B A )
จึงดูดซึม
พบได้ในน้ำจืด ดิน โคลนเลน โดยปกติอยู่
ในพืชผักที่เน่าเปื่ อย จมอยู่ในลำน้ำ แต่ไม่
ได้พบมากเป็นพิเศษในธรรมชาติ
อะมีบาที่ก่อให้เกิดโรคในคนได้ เช่น โรค
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ *โรคร้าย


Click to View FlipBook Version