The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

E-Book ตุลาคม 2564

E-Book ตุลาคม 2564

1 ตลุ าคม 2564

1 ตลุ าคม 2564

เมนจู ากป่า “แกงสม้ ชะครามกงุ้ สด”

2 ตลุ าคม 2564

พชื ตา่ งถ่ินรุกราน... “ชมุ เหด็ เทศ”

3 ตลุ าคม 2564

หยิบจากหงิ้ สวจ. “พรรณไมส้ กลุ ยางในประเทศไทย”

4 ตลุ าคม 2564

ช่ือสามญั ภาษาไทย : ดว้ งดอกไมเ้ สือดาํ / ดว้ งดอกไมอ้ กเหลืองแตม้
ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ : The Black Panther Flower Beetle
ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ : (Gory & Percheron, 1833)
วงศ์ : Cetoniidae
อนั ดบั : Coleoptera
ลกั ษณะทว่ั ไปและพฤติกรรม : หวั สีเหลือง หนวดแบบใบไม้ (lamellate) ริมฝี ปากบน (clypeus) ค่อนขา้ งเลก็ เรียบสีเหลือง บริเวณอกมีสีดาํ
แตม้ เหลือง ปี กคู่หนา้ หนาแขง็ เรียบสีดาํ เป็นมนั วาว ขาคูห่ นา้ สีน้าํ ตาล แตกตา่ งจากขาคูก่ ลางและขาคูห่ ลงั ที่มีสีดาํ
อาหาร : กินยางไมแ้ ละผลไม้
ถิ่นอาศยั : พบไดท้ ุกพ้ืนที่ในประเทศไทย
เขตแพร่กระจาย : ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวยี ดนาม อินเดีย ศรีลงั กา และจีน
ความยาวลาํ ตวั : 17-18 มม.

5 ตลุ าคม 2564

พรรณไมเ้ กียรตปิ ระวตั ไิ ทย "โมกสยาม"

6 ตุลาคม 2564

พืชสมุนไพรน่ารู้... "ตรีชะวา" L.
วงศ์ : ACANTHACEAE
ชื่ออื่น : หางกระรอก หางแมว (กรุงเทพฯ)
ตรีชะวาเป็ นไมพ้ มุ่ ใบเดี่ยว เรียงตรงขา้ มสลบั ต้งั ฉาก ใบประดบั สีขาว มีลายสีเขียว กลีบดอกสีขาว หลอดกลีบดอกมีจุดประสีมว่ ง ดอกช่อ
ออกที่ซอกใบใกลป้ ลายก่ิงและปลายกิ่ง
สรรพคุณ : ท้งั 5 ดบั พิษท้งั ปวง สมานบาดแผล รักษาริดสีดวง ขบั ปัสสาวะ
อา้ งอิง : ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมนุ ไพรในประเทศไทย เลม่ 1 หนา้ 86. สาํ นกั วจิ ยั การอนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละพนั ธุ์พืช กรมอทุ ยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธุพ์ ืช. 2559.

7 ตลุ าคม 2564

ไมป้ ่ ากินได.้ .. “ชะคราม"

8 ตลุ าคม 2564

เมนจู ากป่า “ทอดมนั หนอ่ กะลา”

9 ตลุ าคม 2564

พชื ตา่ งถ่ินรุกราน... “ผกั กาดชา้ ง”

10 ตลุ าคม 2564

หยิบจากหงิ้ สวจ. “พรรณไมส้ กลุ เต็ง-รงั ในประเทศไทย”

11 ตลุ าคม 2564

ช่ือสามญั ภาษาไทย : ดว้ งดอกไมว้ งแดงเด่ียว
ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ : The Red Pronotal Borders Flower Beetle
ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ : (Hope, 1831)
วงศ์ : Cetoniidae
อนั ดบั : Coleoptera
ลกั ษณะทว่ั ไปและพฤติกรรม : เป็นดว้ งดอกไมข้ นาดเลก็ ลาํ ตวั สีดาํ รอบขอบอกมีสีแดง ปี กคูห่ นา้ คมุ ส่วนทอ้ งไม่มิด มีแถบสีเหลืองพาดตาม
แนวขวางลาํ ตวั หนวดแบบใบไม้ (lamellate)
อาหาร : กินยางไมแ้ ละผลไม้
ถิ่นอาศยั : พบไดท้ วั่ ไป
เขตแพร่กระจาย : ไทย (เชียงใหมแ่ ละชลบุรี) เวยี ดนาม เนปาล ศรีลงั กา และอินเดีย
ความยาวลาํ ตวั : 15-17 มม.

11 ตลุ าคม 2564

Download Free ขา่ วด!ี !! สาํ หรบั ใครที่สนใจหนงั สอื ของสาํ นกั วจิ ยั การอนรุ กั ษ์ป่าไมแ้ ละพนั ธพุ์ ืช สามารถดาวนโ์ หลดหนงั สอื ฟรไี ด้
แลว้ นะครบั
"หนงั สอื พรรณไมส้ าํ คญั ในระบบนิเวศเขาหนิ ปนู ประเทศไทย"
**** ขออภยั ตอนนีไ้ มม่ เี ลม่ หนงั สอื แจกแลว้ นะครบั พมิ พม์ ามจี าํ นวนจาํ กดั ถา้ หากวา่ มพี ิมพเ์ พ่ิมอกี เมือ่ ไหรจ่ ะแจง้ ขา่ วอกี ทนี ะครบั ขอบคณุ
ครบั ****

https://www.dnp.go.th/.../PDF/publications/LimestoneBook.pdf

สามารถหาหนงั สอื เลม่ อ่ืน ๆ ไดท้ ่ี

http://portal.dnp.go.th/Content/ForestResearch...

12 ตลุ าคม 2564

พรรณไมเ้ กียรตปิ ระวตั ิไทย "พศิ วงไทยทอง"

13 ตลุ าคม 2564

พชื สมนุ ไพรน่ารู้... "ตองเตา๊ " Müll. Arg.
วงศ์ : EUPHORBIACEAE
ชื่ออื่น : กะลอขน กะลอยายทาย (ภาคใต)้ , ข้ีเท่า เตา๊ ขน ปอเตา๊ (ภาคเหนือ), สละป้าง สละป้างใบใหญ่ (จนั ทบุรี), หญา้ ข้ีทูด (สกลนคร),
Siamese pom–pom tree
ตองเตา๊ เป็ นไมต้ น้ ขนาดเลก็ ใบเด่ียว เรียงสลบั มีขนปกคลมุ ท้งั สองดา้ น ดอกช่อ ออกท่ีปลายกิ่งและซอกใบใกลป้ ลายกิ่ง สีเหลืองออ่ น ผล
แหง้ รูปกลม มีขนสีน้าํ ตาลออ่ นปกคลุม
สรรพคุณ : แก่น ตม้ น้าํ ดื่ม แกโ้ รคไตพกิ าร (โรคเก่ียวกบั ทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะข่นุ ขน้ เหลืองหรือแดง มกั มีอาการแน่นทอ้ ง
รับประทานอาหารไม่ได)้ ใบ แกท้ อ้ งข้ึน
อา้ งอิง : ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมนุ ไพรในประเทศไทย เล่ม 2 หนา้ 100. สาํ นกั วจิ ยั การอนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละพนั ธุพ์ ืช กรมอทุ ยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธุ์พชื . 2561.

14 ตลุ าคม 2564

ไมป้ ่ ากินได.้ .. “เสยี้ วดอกขาว"

15 ตลุ าคม 2564

เมนจู ากป่า “แกงหมชู ะมวง”

16 ตลุ าคม 2564

พชื ตา่ งถ่ินรุกราน... “บานไมร่ ูโ้ รยป่ า”

17 ตลุ าคม 2564

หยิบจากหิง้ สวจ. “พรรณไมส้ กลุ พนั จาํ ในประเทศไทย”

18 ตุลาคม 2564

ชื่อสามญั ภาษาไทย : ดว้ งดอกไมจ้ ุดดาวนอ้ ย
ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ : Flower Chafer Beetle
ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ : Janson, 1877
วงศ์ : Cetoniidae
อนั ดบั : Coleoptera
ลกั ษณะทว่ั ไปและพฤติกรรม : เป็นดว้ งดอกไมข้ นาดเลก็ ลาํ ตวั มีสีเขียว บริเวณขอบขา้ งลาํ ตวั ต้งั แต่อกไปจนถึงปลอ้ งทอ้ งมีลายสีขาวพาด มี
จุดสีขาวกระจายทวั่ ปี ก หนวดแบบใบไม้ (lamellate) ริมฝี ปากส้นั
อาหาร : กินน้าํ หวานจากดอกไมแ้ ละผลไมส้ ุก
ถิ่นอาศยั : พบไดท้ วั่ ไป
เขตแพร่กระจาย : ไทย (เชียงใหมแ่ ละนครปฐม) และลาว
ความยาวลาํ ตวั : 11-12 มม.

19 ตลุ าคม 2564

พรรณไมเ้ กียรตปิ ระวตั ไิ ทย "ชมพรู าชสริ นิ " พรรณไมช้ นดิ ใหมข่ องโลก

20 ตลุ าคม 2564

พืชสมนุ ไพรน่ารู้... "ตองแตก" (Burm.) Suresh
วงศ์ : EUPHORBIACEAE
ช่ืออ่ืน : ตองแต่ (ประจวบคีรีขนั ธ)์ , ถอ่ นดี ทนดี (ตรัง ภาคกลาง), นองป้อม ลองปอม (เลย)
ตองแตกเป็นไมพ้ มุ่ ใบเดี่ยว เรียงเวยี น ขอบใบหยกั ดอกช่อ แยกเพศ อยรู่ ่วมตน้ ออกท่ีซอกใบ สีเหลืองแกมเขียว ผลแหง้ แตก
สรรพคุณ : ราก เป็ นยาถา่ ย ขบั ลม ขบั เสมหะ แกบ้ วมน้าํ แกด้ ีซ่าน แกม้ า้ มอกั เสบ และรักษาโรคโลหิตจาง ใบ เป็ นยาถ่าย รักษาโรคหืด เมลด็
เป็ นยาถา่ ยอยา่ งแรง แกป้ วดตามขอ้
อา้ งอิง : ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมุนไพรในประเทศไทย เลม่ 1 หนา้ 87. สาํ นกั วจิ ยั การอนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละพนั ธุ์พชื กรมอทุ ยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธุ์พืช. 2559.

21 ตลุ าคม 2564

ไมป้ ่ ากินได.้ .. “มหาหงส"์

22 ตลุ าคม 2564

เมนจู ากป่า “ใบเมยี งผดั ไข”่

23 ตลุ าคม 2564

พืชตา่ งถ่ินรุกราน... “รกั ”

24 ตลุ าคม 2564

หยิบจากหงิ้ สวจ. “พรรณไมส้ กลุ โมกในประเทศไทย”

25 ตุลาคม 2564

ช่ือสามญั ภาษาไทย : ดว้ งดอกไมเ้ ขาดาํ
ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ : Black - horned Flower Beetle
ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ : Antoine, 1991
วงศ์ : Cetoniidae
อนั ดบั : Coleoptera
ลกั ษณะทว่ั ไปและพฤติกรรม : เป็นดว้ งดอกไมข้ นาดเลก็ สีน้าํ ตาลดาํ ลาํ ตวั ส้นั ป้อม มีขนสีเหลืองส้นั ๆตามลาํ ตวั ปี กมีจุดแตม้ สีน้าํ ตาล เพศผู้
ส่วนหวั มีเขาแบนยาว 1 คู่ คลา้ ยซี่ฟันเป็ นรอยหยกั ส้นั หนวดแบบใบไม้ (lamellate) เพศเมียมีลกั ษณะคลา้ ยเพศผแู้ ต่ไม่มีเขา
อาหาร : กินพวกยางไม้ บางชนิดกินใบออ่ นของพืช
ถิ่นอาศยั : ป่ าดิบแลง้
เขตแพร่กระจาย : ภาคเหนือของไทย (อ.แมท่ า)
ความยาวลาํ ตวั : 10-11 มม.

26 ตลุ าคม 2564

พรรณไมเ้ กียรตปิ ระวตั ไิ ทย "สม้ กงุ้ พทุ ธไทย”

27 ตลุ าคม 2564

พชื สมนุ ไพรน่ารู้... "ตาํ แยแมว" L.
วงศ์ : EUPHORBIACEAE
ช่ืออ่ืน : ตาํ แยตวั ผู้ (ภาคกลาง), หานแมว (ภาคเหนือ), Indian nettle
ตาํ แยแมวเป็ นไมล้ ม้ ลุก ใบเดี่ยว เรียงเวยี น ขอบใบหยกั ดอกช่อ ออกท่ีซอกใบ สีเขียว ผลแหง้ แตก
สรรพคุณ : ราก ขบั เสมหะ ทาํ ใหอ้ าเจียน เป็ นยาถา่ ย ใบ ขบั เสมหะ ขบั พยาธิ รักษาแผลเป่ื อย เป็ นยาระบาย แกห้ ืด ท้งั 5 เป็นยาถา่ ย ขบั
เสมหะ ทาํ ใหอ้ าเจียน
อา้ งอิง : ความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมุนไพรในประเทศไทย เล่ม 2 หนา้ 108. สาํ นกั วจิ ยั การอนุรักษป์ ่ าไมแ้ ละพนั ธุ์พืช กรมอุทยาน
แห่งชาติ สตั วป์ ่ า และพนั ธุ์พืช. 2561.

28 ตลุ าคม 2564

ไมป้ ่ ากินได.้ .. “ชิง้ ขาว"

29 ตลุ าคม 2564

เมนจู ากป่า "วนุ้ หมานอ้ ย"

30 ตลุ าคม 2564

พชื ตา่ งถ่ินรุกราน... “นาํ้ นมราชสหี ”์

31 ตลุ าคม 2564

หยิบจากหงิ้ สวจ. “พรรณไมว้ งศก์ ่อในประเทศไทย”


Click to View FlipBook Version