The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ซีกั้ม-no annimation-no edit

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by reddog p.chemitech, 2020-04-21 23:45:05

ซีกั้ม-no annimation-no edit

ซีกั้ม-no annimation-no edit

สารป้องกนั กา้ จัดโรคใบไหม้ และโรคราน้าคา้ ง

ชอื่ สามัญ คว5าม0เข%ม้ ข้น

ไดเมโทมอรฟ์ สตู ร

กลุ่มสารเคมี Water dispersible
granule (WG)
Cinnanic Acid
Aminde

กลไกการออกฤทธิ์

ยับยั้งการสรา้ งผนังเซล
เชื้อเติบโตไม่ได้
ตายในทสี่ ุด

การเคลื่อนยา้ ยสาร เคลอ่ื นยา้ ยจากบนใบมาใตใ้ บ

คณุ สมบัตเิ ดน่

เปน็ สารปอ้ งกนั กา้ จดั โรครานา้ คา้ ง และโรคใบไหม้
เปน็ สารป้องกันก้าจดั โรคราในข้าวโพดหวาน
ซงึ่ ยาในกล่มุ เดียวกันไม่สามารถทา้ ได้
เคลอ่ื นยา้ ยสารได้อย่างรวดเร็วในใบพชื
ระยะปลอดฝนสัน้ เพียงแค่ 1 ชม.
ปลอดภยั ตอ่ พชื

อตั ราการใช้

15–20 กรัม ต่อน้า 20 ลติ ร

Dimethomorph Fungicide
Pathogen spectrum

Bremia lactucae lettuce
Peronospora destructor onions
Peronospora tabacini tobacco
Pseudoperonospora cubensis cucumber, melon
Pseudoperonospora humuli hops
Phytophthora cactorum strawberries
Phytophthora capsici peppers, melon
Phytophthora cinnamoni pineapple, ornamentals, shrubs
Phytophthora cryptogea chicory, potted plants, cut flowers
Phytophthora fragariae strawberries

Phytophthora infestans potato, tomato

Phytophthora nicotianae tobacco, potted plants, cut flowers
Phytophthora palmivora potted plants, cut flowers
Phytophthora parasitica tobacco, tomato
Phytophthora porri onion, leek

โรคราน้าคา้ ง พชื ตระกูลแตง

แตงกวา แตงโม แตงไทย แคนตาลูป
เมล่อน บวบ ฟกั แฟง ฟักทอง ฯลฯ

เชอ้ื รา Pseudoperonospora cubensis

อาการระบาดมากช่วงทม่ี ีความชน้ื เชอื้ ราสาเหตขุ องการเกดิ โรคราน้าคา้ ง
ในอากาศสงู อากาศหนาว สามารถแพรร่ ะบาดได้ดโี ดยลม
มนี ้าค้างลงจัด และฝนตกชกุ น้าฝน เครือ่ งมือทางการเกษตร
และการเคลอ่ื นยา้ ยพืชปลูก
แพร่ระบาดมากในหน้าฝนและหนาว เช้ือราเจรญิ ได้ดี
อยู่ข้ามปไี ด้ ในดนิ และซากพชื ท่อี ุณหภมู ิ
หรอื เมลด็ พนั ธทุ์ เี่ คยมีแพร่ 4-24 องศาเซลเซยี ส
ระบาดมากอ่ น
ทาใหผ้ ลผลิตพชื ลดลง
เหีย่ วแหง้ ตาย

อาการของโรคราน้าค้าง พืชตระกูลแตง

พบผงสขี าว หรอื สีเทาบนใบ (กลุ่มของสปอร์เชอ้ื รา)
ด้านหลังใบจะเกดิ แผลสเี หลือง และเปลีย่ นเปน็ สีนา้ ตาล
แผลคอ่ นข้างเปน็ เหล่ยี ม ขอบไม่แน่นอน
อาการรุนแรง แผลเพม่ิ จ้านวนมาก ใบจะเหลืองและแหง้ ตาย
ใบลา่ ง มแี ผลเกิดก่อนแล้วลามไปยังบน
ด้านบนในตน้ ออ่ นจะเรมิ่ มีแผลสเี หลอื งทใ่ี บเลย้ี งและร่วง
มีขนาดเลก็ ถึงใหญ่

โรคจะแพร่กระจายไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และสรา้ งความ
เสียหายใหแ้ ก่พชื ได้ 100%

และพืชชนดิ อน่ื ก็มโี อกาสพบโรครานา้ ค้างนเี้ ช่นกัน
ตัวอยา่ งเช่น โรคราน้าคา้ งขา้ วโพดออ่ น โรครานา้ ค้างคะนา้

อาการโรคราน้าคา้ งบนใบคะนา้
ระยะแรกพบลกั ษณะเปน็ จุดเลก็ ๆ
สเี หลืองบนด้านบนของใบพชื

หลงั จากนัน้ แผลจะพฒั นาเป็น
แผ่นท่มี ีเสน้ ใยและสปอร์ด้านใตใ้ บ

อาการรนุ แรงมากข้นึ
สีของใบจะเปลยี่ นเปน็ สนี า้ ตาล

ถ้าเชอื้ โรคสามารถเจรญิ เติบโตไปถึงระยะการสร้างสปอร์
ก็จะท้าใหเ้ ชือ้ โรคแพร่กระจายได้มากขึ้น โดยลมและน้า

ท้ังฝนหรือการให้น้าทางสปรงิ เกอร์ ดังนั้น การปอ้ งกนั การ
แพรก่ ระจายของสปอรต์ ง้ั แตร่ ะยะแรกๆ กอ่ นที่จะเห็นอาการโรค
ทรี่ นุ แรงบนใบพชื จนแผลบนใบเปล่ียนจากสีเหลอื ง เป็นสีนา้ ตาล

จะชว่ ยให้การควบคุมโรคได้ประสทิ ธิภาพมากขึน้

สภาวะทีเ่ หมาะสมกับการ
เจริญเติบโตของเชื้อโรครานา้ คา้ ง

คอื อากาศทม่ี ีความช้นื สูง (60-70%RH) อณุ หภูมิไม่สงู เกินไป
(รายงานวิจยั ระบุวา่ อุณหภมู ิสา้ หรบั โรคราน้าค้างในพชื ตระกลู กะหล้่า
เกิดไดต้ ้ังแต่ 8-24 C) อุณหภมู ิช่วง 15-20 C เปน็ ช่วงที่เหมาะสม
ทสี่ ุด เพราะฉะนั้นในช่วงต้นปี ท่ีกลางคืนอากาศคอ่ นข้างเย็น และมี

ความชนื้ สงู จงึ เหมาะกับการเข้าท้าลายของเช้อื โรคราน้าคา้ ง

โรคราน้าค้าง (Downy Mildew) หรือโรคใบลายในขา้ วโพด

เกิดจากเช้อื รา Peronospora sp. (Aoum) syd.ex Gaum

“ เปน็ โรคทท่ี าความเสียหายใหแ้ ก่ข้าวโพด
ทาใหผ้ ลผลิตของขา้ วโพดลดลงมาก

บางครัง้ ทาใหก้ ารปลกู ขา้ วโพดไม่ได้ผล ”

อาการของโรคเห็นไดค้ อ่ นข้างชัดเจน
ถึงแม้จะมอี าการของโรคบางชนิด
เหมอื นอาการขาดอาหารพืชบางอย่าง
แต่ก็มีความแตกตา่ งเหน็ ได้งา่ ย

อาการของโรค

บริเวณใบขา้ วโพดตามทางยาวจะมที างลายสเี หลอื ง
สเี ขยี วอ่อน และสีเขียวแก่สลบั กนั อยา่ งไม่เป็นระเบียบ
อาการนจี้ ะปรากฏเมื่อข้าวโพดมอี ายตุ ง้ั แต่ 1 สัปดาห์
ข้ึนไป และเมอื่ เป็นนานเขา้ ตามรอยทีม่ ีสีเหลืองอาจ
เปลย่ี นเปน็ สีนา้ ตาล และมีอาการใบไหม้แห้งตายในที่สดุ
บริเวณผวิ ใบทม่ี อี าการผิดปกตโิ ดยเฉพาะดา้ นลา่ ง
จะมใี ยสขี าวเป็นเช้อื ราจับเปน็ ฝา้ คล้ายหยากไย่ มอง
เห็นชดั ด้วนตาเปลา่ และจะพบมากในเวลาใกล้รุ้ง
ซ่ึงมนี ้าคา้ งมากและอากาศค่อนขา้ งเย็น

อาการของโรค

ขา้ วโพดตน้ จะมปี ล้องสั้นลง มีฝกั ดกบางที่มมี ากกวา่
5 ฝัก แตเ่ ปน็ ฝักท่ีไม่ติดเมลด็ มแี ต่เปลอื กทีม่ ีลกั ษณะ
คลา้ ยใบและต้นขา้ วโพดจะเลก็ แคระแกรน
ขา้ วโพดบางตน้ จะมีปลอ้ งยาวชะลดู ทา้ ใหม้ ีลา้ ตน้ สูงกวา่
ปกติ ใบและขนาดของฝกั กจ็ ะยาวผิดปกติ แตเ่ ปน็ ฝักท่ี
ไมต่ ดิ เมลด็ ดอกตวั ผู้ซงึ้ อยทู่ ่ีปลายตน้ ของข้าวโพด
บางตน้ จะแตกแขนงออกเป็นใบเล็กๆ เป็นชอ่ มลี กั ษณะ
คลา้ ยไม้กวาดหรือหญา้ หงอนไก่ และจะไม่มีฝกั

การระบาดและแพรเ่ ช้อื ของโรครานา้ คา้ ง

ฉจเขะะ้าเนปทั้น็น้าลตแา้นหใยรนแลตะล่งรบ้นะแใะขาพบย้าดขวระ้าล่เโทวชพุกโื้อี่ฝดพอลในดนยาทรต่ามง่ีะกยกได้าดะลชีตสัง้ดั้งกุ แ่วแีสนตดใ่เหรงญ่ิมองา่เกชอา้ือกรโจโรรนคคถจนึงะ้ี

อายุประมาณ 1 เดือนแต่บางทีก็แก่กว่าน้ี เช้ือโรค

อเเดชปาือ้็นนิจโโจแรระคคลออาะทศาองั้จหัยาพอขรกาว้าศือมากัยศปดทขีอมี่อนิ้ายยมีคมู่ใปู่บนวนีีอนราดยาา้ มกขิู่ในนขชหงั วอรุ่มัชงือชพตไถ้นืชืน้ ่กขพส้าล้ืนวงูบเโมอพือยดงู่ใทต่ีเเ้ดคชย่ินน

อ้อ พง แขม เดือยน้า หญ้าหางหมาขาว ข้าวฟ่าง

ตหใขรชก้าาากวล่วนงโเ้ช้งาพคกเคชกุียใรด้ากงือ้ แะงรกลลจโบัอร้ๆะะแมกอคปี อราจลเากปุง่งะกป็ขานสาศ้ารลตววคค้โนิว่าพล่องได้ทาปนยี่ ขซพตขค้ึ นงึ่ืชาล้าอเมมงึหงยลเลีนกยู่ ใ่าับมนา้ นน็ คอแ้ีเมจ้าปา่ือกงัดลเาปงร็นหขโรอรื อคง

โรคใบจุดตาเสือในเผอื ก

มสี าเหตเุ กดิ จากเช้อื รา Phytopthora colocasiae Rac.

อาการของโรคเรม่ิ จากจะจดุ เลก็ ๆ ฉา่้ นา้ ท่ีบรเิ วณ
ใบเผือก ตอ่ มาแผลจะขยายใหญข่ น้ึ ใหญ่ขึน้ เรอื่ ยๆ
การแพรร่ ะบาดส่วนมากโดยลมพัดเอาละอองเชือ้ รา

ปลวิ กระจายไปทัว่ แปลงและไปกบั นา้ ในแปลง
อาการของโรคจะเร่มิ จากต้นทอี่ อ่ นแอก่อนแล้วจะ
ระบาดลกุ ลามไปทัว่ แปลงถา้ ยังไม่มกี ารปอ้ งกนั รักษา

โรคใบจดุ ตาเสือสามารถสรา้ งความเสยี หายท้าให้ ผลผลิตลงลงหายไปถึง 50%

โรคใบไหมใ้ นมันฝรั่ง

สภาพอากาศเยน็ มีความชน้ื มีนา้ คา้ ง
สามารถพบไดท้ ุกระยะการเจรญิ เติบโต

ทางล้าต้น จะพบที่ใบลา่ งก่อน เริ่มแรกเป็น
จดุ ฉ้่านา้ สีเขียวเข้ม คล้ายโดนน้ารอ้ นลวก
เม่ือพลกิ ดูใต้ใบจะพบละอองนา้ เล็กสขี าว
ต่อมาจุดจะขยายเปน็ แผลแหง้ ขนาดใหญ่
สนี า้ ตาล ขอบแผลฉ่า้ น้าสดี ้า และแผลลุกลาม

จนท้าใหใ้ บไหมแ้ ห้งเปน็ สนี า้ ตาล


Click to View FlipBook Version