เอกสารหมายเลข 5
ขอ้ เสนอแนวความคดิ /วธิ ีการเพอื่ พัฒนางานหรือปรับปรงุ ให้มีประสทิ ธิภาพมากข้ึน
เพ่อื ประกอบการเลอื่ นและแต่งต้ังให้ดาํ รงตาํ แหนง่
นักวิชาการเงินและบญั ชี ชาํ นาญการพิเศษ ตําแหนง่ เลขท่ี อ.9
เรือ่ ง
การพฒั นางานด้านบัญชภี าครฐั โดย
ปรบั ปรุงระบบการจดั ทาํ ทะเบยี นคุมทรัพยส์ ิน
โดย
นายธนาวฒุ ิ แก้วบญุ
ตําแหนง่ นักวชิ าการเงนิ และบัญชี ชาํ นาญการ
ตาํ แหน่งเลขที่ อ.11
สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3
เอกสารหมายเลข 5
ข้อเสนอแนวความคดิ /วธิ ีการเพื่อพัฒนาหรือปรบั ปรุงงานใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขน้ึ
ของ นายธนาวุฒิ แกว้ บุญ
เพื่อประกอบการแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหน่ง นักวิชากรเงินและบญั ชี ระดับชานาญการพิเศษ ตาแหนง่ เลขท่ี อ.9
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3
----------------------------------------------------------------------------
เร่ือง การพฒั นางานดา้ นบัญชีภาครฐั โดยปรบั ปรุงระบบการจดั ทาทะเบียนคุมทรัพยส์ ิน
หลกั การและเหตุผล
กรมบญั ชกี ลางได้กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านดา้ นบัญชีมาอย่างต่อเนอ่ื งทั้งด้านบัญชีการเงิน
และด้านบัญชบี ริหาร จานวน 5 เร่ือง ประกอบดว้ ย 20 ข้อย่อย (ยกเว้นบัญชีเงินฝากคลัง) คือ ความถูกต้อง ความโปร่งใส
ความรบั ผดิ ชอบ ความครบถ้วน และความมปี ระสทิ ธิผล เพื่อช่วยให้หนว่ ยงานมีการกากบั ดูแลการจัดทาบัญชีและ
รายงานการเงนิ ให้มีความครบถว้ น ถกู ต้อง เปน็ ปัจจุบนั รวมถงึ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
และสามารถนาข้อมลู ไปใช้ในการบรหิ ารทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังเป็นการสะท้อนถึงความรับผิดชอบ
ต่อข้อมูล และการปฏิบัติงานด้านบัญชีของหนว่ ยงาน ซง่ึ หน่วยงานตอ้ งมีการกากบั ดูแล ควบคมุ คุณภาพการจัดทา
บัญชใี หม้ ีความถูกต้องครบถว้ น นา่ เชือ่ ถอื ทันเวลา สามารถจัดทารายงานการเงนิ และเผยแพร่ข้อมูลรายงานการเงินสู่
สาธารณะได้อย่างโปร่งใส รวมทงั้ แสดงให้เหน็ ถงึ ความรบั ผิดชอบของผบู้ ริหารต่อข้อมลู บญั ชีและรายงานการเงนิ จดั ทาบญั ชี
ต้นทุนหน่วยผลผลติ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทีก่ รมบญั ชกี ลางกาหนด
จากผลการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 มีผลการประเมนิ การปฏิบัตงิ านด้านบัญชีภาครัฐ ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน
ในเรอื่ งความมีประสิทธิผล เร่อื งบัญชีวสั ดคุ งคลังและบัญชีครุภัณฑ์ เนอ่ื งจากยอดคงเหลือของบัญชีครุภัณฑ์ของสถานศึกษาใน
สังกัด ในระบบ GFMIS ไม่ตรงกับรายงานผลการตรวจนับสินทรัพย์ท่ีคณะกรรมการตรวจนับครุภัณฑ์รับรองความถูกต้อง
สาเหตมุ าจากการจดั ทาทะเบียนคมุ สินทรพั ยไ์ ม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน เพื่อให้การจัดทาบัญชีครุภัณฑ์ของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 มีความถูกต้อง จึงมีข้อเสนอแนวคิดเพ่ือพัฒนางานด้าน
บัญชีภาครัฐ โดยปรับปรุงระบบการจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สิน เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านบัญชีภาครัฐเร่ืองการจัดทา
บญั ชีครุภณั ฑ์ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 และสถานศึกษาในสังกัด มีประสิทธิภาพ
มากข้ึน มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและสามารถตรวจสอบได้ ส่งผลให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
นราธิวาส เขต 3 มีผลการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (KRS) ของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันฐาน และระบบการประเมินคุณภาพการบัญชีภาครัฐ (GAQA) ของกรมบัญชีกลาง
ตามตวั ช้ีวัดด้านบัญชีภาครฐั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้การปฏิบัติงานด้านบัญชีภาครัฐ เรื่องการจัดทาบัญชีครุภัณฑ์ ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 และสถานศึกษาในสังกัด มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
และสามารถตรวจสอบได้
-2–
2. เพื่อใหส้ านักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 มผี ลการประเมินตวั ชี้วัดตามมาตรการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (KRS) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันฐาน และระบบการประเมิน
คุณภาพการบัญชีภาครัฐ (GAQA) ของกรมบญั ชกี ลางตามตวั ช้วี ดั ด้านบญั ชภี าครฐั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
บทวิเคราะห/์ แนวความคดิ /ข้อเสนอ
บทวเิ คราะห์
แนวทางการปฏิบัติงานดา้ นบัญชขี องสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
การจัดทาบัญชีท่ีถูกตอ้ ง หมายถงึ มีการแสดงยอดคงเหลือและรายการเคลื่อนไหวของบญั ชตี ามท่ีกาหนด
ดงั นี้
1. ยอดคงเหลือในช่อง “ยอดยกไป” ของบัญชีแยกประเภทในงบทดลองถูกต้องตรงกับเอกสารหรือหลักฐาน
ดังนี้
1.1 บญั ชีเงนิ สดในมอื ยอดคงเหลือของบัญชีเงนิ สดในมือ ตรงกับรายงานเงินคงเหลือประจาวนั ท่ีจัดทา
ตามระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกเงินจากคลัง การรบั เงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลัง
พ.ศ. 2562
1.2 บัญชีเงนิ ฝากธนาคารมีการจัดทางบกระทบยอดบัญชเี งินฝากธนาคารครบทุกบญั ชี ณ วันสิ้นรอบบัญชี
1.3 บัญชลี กู หนี้เงนิ ยืมในงบประมาณ และบัญชีลูกหน้ีเงินยืมนอกงบประมาณ ยอดเงินคงเหลือของบัญชี
ลกู หนีเ้ งินยมื ในงบประมาณและบัญชีลกู หน้ีเงินยมื นอกงบประมาณ ณ วนั สน้ิ รอบบญั ชี ตรงกบั สรุปรายการสญั ญาการยืมเงนิ
ท่ีไม่สง่ ใชใ้ บสาคัญ
1.4 บัญชีใบสาคัญค้างจ่าย ยอดคงเหลือของบัญชีใบสาคัญค้างจ่าย บัญชีเจ้าหน้ีการค้า-หน่วยงานภาครัฐ
และบัญชีเจ้าหนี้การค้า - บุคคลภายนอก ณ วันสิ้นรอบบัญชี ตรงกับสรุปรายการใบแจ้งหน้ี/ใบสาคัญหรือเอกสาร
แสดงภาระผูกพันที่ตอ้ งชาระคืนและยงั ไม่ได้จ่ายเงินแก่เจ้าหนีห้ รือผู้มีสิทธิ
1.5 งบทดลองแสดงข้อมลู ทางบัญชีทีถ่ กู ต้องดลุ บัญชีปกตแิ ละตอ้ งไม่มีบัญชีพักท่ีมียอดคงค้าง ณ วันส้ินรอบ
รายงาน จานวนเงินในช่อง “ยอดยกไป” ของทุกบัญชีในงบทดลอง ณ วันสิ้นรอบบัญชี แสดงตัวเลขถูกต้องตามดุล
บญั ชีปกติ
2. การเคล่ือนไหวของบัญชแี ยกประเภทในระบบ GFMIS แสดงวธิ ีตรวจสอบ เพือ่ ให้พสิ จู น์ได้วา่ รายการเคลอ่ื นไหว
ระหวา่ งปงี บประมาณมีความถูกตอ้ งเปน็ ปัจจบุ ัน
2.1 บัญชีเงินสดในมือ บัญชีเงินฝากธนาคารเพื่อนาส่ง บัญชีเงินฝากธนาคารรายบัญชีเพื่อนาส่งคลัง
มีการบนั ทกึ ขอ้ มลู จดั เกบ็ นาส่งหรอื นาฝากเงนิ เป็นรายได้แผ่นดนิ หรอื เงนิ ฝากคลงั ได้ถกู ต้องเปน็ ปัจจบุ ัน
2.2 บัญชีลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ บัญชีลูกหน้ีเงินยืมนอกงบประมาณ มีการบันทึกการจ่ายเงินและ
ชดใชค้ ืนเงินยืมได้ถูกตอ้ ง เปน็ ปจั จุบนั
2.3 บัญชีเงินฝากธนาคารเงินงบประมาณ บัญชีเงินฝากธนาคารเงินนอกงบประมาณ บัญชีเงินฝากธนาคาร
รับจากคลัง บัญชีใบสาคัญค้างจ่าย บัญชีเจ้าหนี้การค้า-หน่วยงานภาครัฐ บัญชีเจ้าหน้ีการค้า-บุคคลภายนอก มีการบันทึก
การเบกิ และจ่ายเงนิ ให้เจา้ หนี้หรือผู้มีสทิ ธไิ ด้ถกู ต้องเป็นปัจจบุ ัน
-3-
การเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส หมายถึง มีการเปิดเผยข้อมูลทางบัญชีต่อสาธารณะ ได้แก่ การเปิดเผย
งบทดลองสู่สาธารณะ มีการเผยแพรง่ บทดลองเป็นประจาทกุ เดือน โดยเปิดเผยเปน็ ระยะเวลาอย่างน้อย 30 วนั นบั
จากวันที่ส่งให้สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน หรอื สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ส่วนภูมภิ าค เชน่ ลง Website หรือ
ปิดประกาศในท่ีสาธารณะ
ความรับผิดชอบต่อข้อมูล หมายถึง สามารถจดั สง่ รายงานและแกไ้ ขข้อทักทว้ งข้อมูลทางบญั ชไี ดภ้ ายใน
ระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้
1. การจัดสง่ งบทดลองใหส้ านักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน หรือสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดินสว่ นภูมภิ าค
ภายใน 15 วนั ของเดอื นถัดไปทุกเดือน
2. การตอบข้อทักทว้ งด้านบัญชี การเงินตามข้อสงั เกตประกอบการตรวจสอบรายงานการเงินของสานกั งาน
การตรวจเงินแผ่นดิน หรือสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ส่วนภมู ภิ าค มีการตอบข้อทักท้วงตามข้อสังเกตของสานกั งาน
การตรวจเงินแผ่นดินหรือสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ส่วนภมู ภิ าค ภายใน 60 วนั นับแต่วันทีไ่ ด้รับแจง้
3. การแก้ไขข้อทักท้วงด้านบัญชีตามข้อสังเกตประกอบการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน มีการแก้ไข
ข้อทักท้วงด้านบัญชีตามข้อสังเกตประกอบการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน ภายในปีที่ไดร้ ับการทกั ทว้ ง
ความครบถ้วน หมายถึง การจัดทาบัญชีครบถว้ น ดังนี้
1. บัญชผี ลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด แสดงรายละเอียดการปรบั ปรงุ บัญชีเพ่ือแก้ไขข้อผดิ พลาดของ
ปีงบประมาณท่ีผ่านมา
2. งบทดลองรายหนว่ ยเบิกจ่ายในระบบ GFMIS ไมป่ รากฏยอดคงค้างบัญชพี ักสินทรัพย์ จานวนเงินในช่อง
“ยอดยกไป” ของบัญชีพักสินทรัพยใ์ นงบทดลองของหนว่ ยเบกิ จ่ายต้องไม่มียอดคงค้าง โดยปรบั ปรุงเป็นสินทรพั ย์รายตัว
หรอื เปน็ คา่ ใช้จา่ ย
3. งบทดลองรายหน่วยเบิกจ่ายในระบบ GFMIS ไมม่ ีบัญชีท่เี กี่ยวข้องกบั ส่วนราชการท่ีใช้เฉพาะภารกิจของ
หน่วยงาน จานวนเงินในชอ่ ง “ยอดยกไป” ของบญั ชีในงบทดลองแสดงบัญชถี ูกต้องตามประเภทของสนิ ทรัพย์และไม่มี
บญั ชที ี่เกยี่ วข้องกับสว่ นราชการที่มภี ารกจิ เฉพาะดา้ น
4. ความครบถว้ นของสถานศึกษาหน่วยเบกิ ภายใต้สงั กดั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา ในการจัดส่งข้อมูลการปฏิบัติงาน
ด้านบัญชีให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ภายในระยะเวลาที่กาหนด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
สามารถดาเนินการเร่งรัด ติดตามการปฏิบัติงานด้านบัญชีของโรงเรียน หน่วยเบิกภายใต้สังกัด ในการจัดส่งรายงาน
การประเมินพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบการประเมินให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในระยะเวลา
ทกี่ าหนด
ความมีประสิทธิผล หมายถึง การจัดทาบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารทก่ี รมบัญชกี ลางกาหนด และสามารถนาผลการคานวณต้นทุนมาใช้ในการบริหารทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดงั น้ี
-4–
1. การแสดงรายละเอยี ดประกอบรายการบัญชีทส่ี าคัญของงบทดลอง มีการจัดทารายละเอียดรายการบัญชี
ท่ีสาคัญประกอบงบทดลองและเปิดเผยสู่สาธารณะเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 30 วัน นับจากวันท่ีส่งงบทดลองให้
สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ หรือสานักงานการตรวจเงินแผน่ ดินส่วนภูมิภาค
2. บัญชีวัสดคุ งคลงั และบัญชีครภุ ณั ฑ์ ยอดคงเหลือของบญั ชีวัสดุคงคลังตรงกับรายงานผลการตรวจนับวัสดุ
ที่มีคณะกรรมการตรวจรับครุภัณฑ์รับรองความถูกต้อง และยอดคงเหลือของบัญชีครุภัณฑ์ในระบบ GFMIS ตรงกับ
รายงานผลการตรวจนบั สินทรพั ย์ท่ีคณะกรรมการตรวจนับครุภัณฑ์รบั รองความถูกต้อง
3. การคานวณค่าเสื่อมราคาสาหรับส่วนราชการระดับหน่วยเบิกจ่ายท่ีมีบัญชีสินทรัพย์ไม่ระบุรายละเอียด
ต้องคานวณคา่ เสื่อมราคาดาเนินการปรับปรุงคา่ เสื่อมราคา ณ สน้ิ ปีงบประมาณ
4. การปิดบญั ชีรายได้สูง/ตา่ กวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสุทธิและบัญชีผลสะสมแก้ไขผิดพลาดภายใน 30 วัน นับจากวัน
สิน้ ปีงบประมาณ
แนวความคดิ
การควบคุมพสั ดเุ ปน็ สว่ นหน่งึ ของการบริหารงานสินทรพั ย์ มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือให้ทราบถึงจานวนพัสดุที่หน่วยงาน
มีไว้ใช้ในราชการ โดยจัดทาบัญชีหรือทะเบียนคุม จาแนกรายการตามประเภทและชนิดของพัสดุ ซึ่งต้องจัดทาหลักฐาน
การรับ – จ่ายพัสดุ ไว้เพ่ือประกอบการควบคุมและตรวจสอบ เป็นข้อมูลทางการบริหารต้นทุนผลผลิตของหน่วยงาน
ประวัตขิ องการบารุงดูแลรักษา ทาให้ทราบว่าพัสดุใดหากใช้ต่อไปจะทาให้เกิดความสูญเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม
หรอื พัสดุใดหมดความจาเปน็ ในการใช้งานสมควรจาหน่าย
ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ าน
1. ครุภณั ฑ์เดมิ ไม่มีหมายเลขครุภณั ฑก์ ากับ รหสั ไมช่ ัดเจนเลือนราง ไม่ตรงกบั ทะเบยี น
2. ครภุ ณั ฑเ์ สอ่ื มสภาพรอการจาหนา่ ย แต่ไม่ได้บันทึกในทะเบียนคุม
3. ทะเบยี นมีการบนั ทึกครุภัณฑ์ แต่ไม่พบครุภณั ฑ์ท่ีระบุในทะเบยี น
4. ครภุ ณั ฑ์ทดี่ าเนนิ การจาหน่ายแลว้ แต่ไม่บนั ทึกตดั จาหนา่ ยออกจากทะเบียนคมุ
5. ทะเบียนคุมครภุ ณั ฑไ์ มแ่ ยกให้เปน็ หมวดหมู่ ตามหลกั การจาแนกประเภทครุภัณฑ์
6. ทรัพย์สนิ ท่ีได้รับจากการบริจาค ไม่นามาลงทะเบียนคุมตามระเบียบ
7. ครภุ ณั ฑม์ ีการเคลือ่ นย้ายสถานท่ีใช้งาน ท่รี ะบุไวใ้ นทะเบียน แต่ไม่แจ้งเปลย่ี นแปลงต่อเจ้าหน้าท่ี ทาใหย้ าก
ในการตรวจสอบ
8. ทะเบียนคุมทรัพย์สินไม่ได้ระบุรายละเอียดเก่ียวกับ ลักษณะ/คุณสมบัติ วิธีการได้มา ประเภทของเงิน รุ่น/
ยห่ี อ้ สถานที่ใชง้ าน ให้ครบถ้วน ทาใหย้ ากต่อการตรวจสอบพัสดุ
9. การตรวจสอบและดูแลครุภัณฑไ์ มไ่ ด้ปฏิบตั อิ ยา่ งจรงิ จัง อันเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่ที่ดูแลและผู้ท่ีเก่ียวข้อง
มภี าระงานทต่ี อ้ งปฏิบัตหิ ลายอย่าง
แนวทางการแก้ไขปัญหา
1. ควรกาหนดวธิ กี ารปฏบิ ัตทิ ี่ชดั เจน กรณีมที รัพย์สินสูญหายให้ตรวจสอบวา่ มกี ารโอน หรือจาหน่ายไปแล้ว
แตย่ งั ไม่ได้จาหน่ายออกจากทะเบยี นคุม
2. พสั ดุใดหากพบวา่ ชารุด ควรดาเนนิ การซ่อมแซมเพ่ือให้ใช้งานไดต้ ามปกติ
3. ทะเบียนคุมทรัพยส์ ิน ต้องบันทกึ รายการใหเ้ ป็นปัจจบุ ัน และสามารถตรวจสอบได้
-5–
4. การบันทึกทะเบียนคุมทรัพย์สิน ต้องระบุรายละเอียดเก่ียวกับ ลักษณะ/คุณสมบัติ วิธีการได้มา ประเภท
ของเงนิ รุน่ /ย่ีห้อ ขนาดในการใช้งาน สถานท่ใี ชง้ าน ให้ครบถว้ น รหัสเลขที่สนิ ทรัพย์ต้องนามากากับที่ตัวครุภัณฑ์ และ
ควรถา่ ยภาพแนบติดกับทะเบียนคุมทรัพย์สนิ เพอ่ื ให้สามารถตรวจสอบได้
5. ทะเบยี นคุมครุภัณฑ์ควรแยกให้เป็นหมวดหมู่ ตามหลักการจาแนกประเภทครุภัณฑ์ เพ่ือสะดวกในการใช้งาน
และตรวจสอบ
6. ทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค ต้องนามาลงทะเบียนคุมตามระเบียบ เพื่อเป็นหลักฐานและป้องกัน
การสญู หาย
7. การตรวจสอบพัสดุประจาปี หากพบว่ามีพัสดุใดชารุด เส่ือมคุณภาพ สูญไป ไม่จาเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป
หรือหากซ่อมแซมจะไม่คุ้มกับงบประมาณที่ต้องเสียไป ให้รายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพ่ือให้พิจารณาดาเนินการ
การดาเนินงานต้องปฏบิ ตั ิอย่างจรงิ จงั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่ถกู ตอ้ งและตรวจสอบได้
8. ครุภณั ฑ์ท่จี าหนา่ ยแล้ว จะตอ้ งตดั ออกจากทะเบียนคุม โดยหมายเหตุว่าได้รับอนุมัติให้จาหน่ายตามหนังสือ
เลขท่ีใด ลงวันที่ใด ทุกรายการ โดยแยกการจัดเก็บทะเบียนคุมทรัพย์สินที่จาหน่ายออกจากทะเบียนคุมทรัพย์สิน
ที่ใช้งานปกติ
9. การปฏบิ ัติงานเกี่ยวกบั พสั ดุ ควรใหม้ เี จา้ หนา้ ทีผ่ ู้รับผิดชอบโดยตรงเพือ่ ให้การปฏิบัติงานต่อเน่ือง ครบถ้วน
ถกู ตอ้ ง ตามท่ีระเบยี บกาหนด
จากปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานและแนวทางการแก้ไขปัญหา จึงเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนาด้านบัญชีภาครัฐ
ด้วยการปรับปรุงระบบการจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สิน โดยการจัดหาซอฟแวร์/โปรแกรมจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สินและ
จัดอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การใช้งานระบบทะเบียนคุมทรัพย์สินให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา ท่ีทาหน้าที่ในจัดทา
ทะเบียนคมุ ทรัพย์สินของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด เพื่อให้การจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สิน
ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดเกิดความสะดวกในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติได้ด้วยความรวดเร็ว
ครบถ้วน ถูกตอ้ งและเป็นปัจจบุ นั
ขอ้ เสนอ
เพือ่ ให้การปฏบิ ตั งิ านด้านบญั ชีภาครัฐ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 เป็นไป
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน รวมถึงมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสสามารถตรวจสอบ
ได้และสามารถนาข้อมูลไปใช้ในการบริหารทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติงาน
ด้านบัญชีภาครัฐ โดยการจัดหาและพัฒนาซอฟต์แวร์/โปรแกรมมาใช้ในการจัดทาทะเบียนครุภัณฑ์ของโรงเรียนและ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และอบรมให้ความรู้ในการใช้โปรแกรมทะเบียนคุมทรัพย์สินแก่ครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาทท่ี าหน้าทใี่ นการจัดทาทะเบยี นคุมทรัพยส์ นิ ของสถานศึกษาในสงั กดั และสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1. สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 มีระบบการจัดทาทะเบียนคุมทรัพย์สิน โดย
การใช้โปรแกรมจัดทาทะเบยี นคมุ ทรพั ย์สิน
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีทาหน้าท่ีในการจัดทะเบียนคุมทรัพย์สินของสถานศึกษา และสานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาสามารถใช้โปรแกรมทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ ิน ทาให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
-6–
3. การปฏบิ ตั ิงานด้านบัญชภี าครัฐ เร่ืองการจัดทาบัญชคี รุภัณฑข์ องสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
นราธวิ าส เขต 3 และสถานศึกษาในสังกดั มีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ ความถกู ต้อง ครบถว้ น เปน็ ปจั จบุ ันและสามารถ
ตรวจสอบได้
ตัวช้ีวัดความสาเรจ็
1. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 และโรงเรียนในสังกัดทุกโรงจัดทาทะเบียน
คมุ ทรัพยส์ ิน ครบถว้ น ถกู ต้อง เปน็ ปจั จุบนั
2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3 และโรงเรียนในสังกัดทุกโรงมียอดคงเหลือ
ของบญั ชีครุภณั ฑ์ ตรงกับรายงานผลการตรวจนับสินทรัพย์ท่ีคณะกรรมการตรวจนับครุภัณฑ์รับรองความถูกต้องและ
ในระบบ GFMIS
3. สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 มผี ลการประเมินตวั ชว้ี ัดตามมาตรการปรบั ปรุง
ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ (KRS) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และระบบการประเมนิ คุณภาพ
การบัญชีภาครฐั (GAQA) ของกรมบัญชีกลาง ตามตัวชว้ี ัดด้านบญั ชภี าครัฐผ่านเกณฑ์การประเมนิ ทุกเรอื่ ง
(ลงช่อื )
(นายธนาวฒุ ิ แก้วบุญ)
ผู้เสนอแนวคดิ
20 พฤษภาคม 2564
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษานราธิวาส เขต 3
Narathiwat Primary Educational Service Area Office 3
167 หมู่ท่ี 1 ถนนระแงะมรรคา ตําบลตนั หยงมัส
อาํ เภอระแงะ จงั หวัดนราธวิ าส 96130
โทร. 073672189
โทรสาร. 073672182
E-mail : [email protected]
Website : www.narathiwat3.go.th