The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

NL-WI-HR-004 Rev.02 อุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aommick03, 2021-03-11 04:31:17

NL-WI-HR-004 Rev.02 อุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉิน

NL-WI-HR-004 Rev.02 อุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉิน

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 1 of 9
07-Dec-2015
Doc. Name วธิ ีปฏบิ ัติเมื่อมอี ุบตั ิเหตหุ รือเหตฉุ ุกเฉิน Effective
Date

วธิ ีปฏิบตั ิเมื่อมีอุบตั ิเหตุหรือเหตุฉุกเฉิน

Note: This document is under copyright of B.K. Plaster and Gypsum Corporation

Level Distributed Department 001 Factory Manager 002 QMR Under Control
003 Marketing 004 Personnel Admin
□E. Confidence 005 Production 006 Finance
■ Confidence 007 Quality 008 Prod Planning
□ General 009 Engineering 010 Warehouse

Prepared by Reviewed by Approved by

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 2 of 9
07-Dec-2015
Doc. Name วิธีปฏบิ ัตเิ ม่ือมอี บุ ตั เิ หตุหรือเหตฉุ ุกเฉิน Effective
Date

Date Rev. Revision Content Revised by Approved by
01-Aug-2013 00 Initial Release - Suchart S.
401-Aug-201 01 Reference DAR No. 140199 Suchart S.
07-Dec-2015 02 Reference DAR No. Ketsada.l

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 3 of 9

Doc. Name วธิ ีปฏบิ ัตเิ มื่อมอี บุ ัติเหตหุ รือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

1. วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือให้การควบคุม ป้องกนั การตอบสนองต่อการเกิดอุบตั ิเหตุจากการทางาน โรคที่เกิดจากการ

ทางาน การเกิดอุบัติเหตุของบริษทั ฯ มีระบบการจดั การที่มีประสิทธิภาพเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกัน ท้ัง
บริษทั ฯ

2. ขอบเขต
ครอบคลมุ วธิ ีปฏิบตั ิเม่ือมีอุบตั ิเหตุหรือเหตุฉุกเฉินเกิดข้ึนภายใน บริษทั บี เค พลาสเตอร์ แอนด์

ยปิ ซม่ั คอร์ปอเรชนั่ จากดั

3. คานิยาม
อบุ ัติเหตุ หมายถึง เหตกุ ารณ์ท่ีไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่อาจเกิดจากการที่ไม่ไดค้ าดคดิ ไวล้ ว่ งหนา้ หรือไม่

ทราบล่วงหนา้ หรือขาดการควบคุม แตเ่ มื่อเกิดข้นึ แลว้ มีผลใหเ้ กิดการบาดเจบ็ หรือความเจบ็ ป่ วยจากการ
ทางานหรือการเสียชีวติ หรือความสูญเสียต่อทรัพยส์ ินหรือความเสียหายต่อสภาพแวดลอ้ มหรือต่อ
สาธารณชน ตวั อยา่ งของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ เช่น ถูกวตั ถุ ชิ้นงานตดั บาด เฉือน ท่ิม แทงร่างกาย ถกู วตั ถกุ ด
ทบั ถูกของหล่นใส่ กระเด็นใส่ ล่ืนลม้ ส่ิงของพงั ทลายหลน่ ทบั ถูกหนีบ ถูกดึง ถูกเฉ่ียว ถกู ชน สมั ผสั กบั
ความร้อนจดั ถูกสารเคมี ไฟฟ้าดูด เป็นตน้

อุบตั ิการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ ในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั การเกิดอบุ ตั ิเหตุ แต่ผลของ
อุบตั ิการณ์ไม่ทาใหผ้ ใู้ ดไดร้ ับบาดเจ็บ ทรัพยส์ ินไมเ่ สียหาย หรืออาจเรียกเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนน้ีอีกอยา่ งหน่ึง
วา่ เป็นเหตกุ ารณ์เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ (Incident or Near Miss) ซ่ึงการเกิดอบุ ตั ิการณ์บ่อยคร้ัง อาจนามาซ่ึงการ
เกิดอบุ ตั ิเหตไุ ด้ ถา้ ไมไ่ ดร้ ับการควบคมุ ป้องกนั

อบุ ัติเหตุอันเน่ืองมาจากการทางาน หรืออุบัติเหตุในงาน หมายถึง การที่พนกั งานปฏิบตั ิงานซ่ึงเป็น

งานของบริษทั ฯ แลว้ เกิดอบุ ตั ิเหตไุ มว่ า่ จะเกิดข้ึนในเขตบริษทั ฯ หรือนอกเขตบริษทั ฯ ไม่วา่ จะเกิดข้ึนใน
กระบวนการทางาน หรือนอกกระบวนการทางาน ไมว่ า่ จะเกิดข้นึ ในเวลาทางานปกติ นอกเวลาปกติ ถา้
เป็นการปฏิบตั ิงานใหก้ บั บริษทั ฯ ถือวา่ เป็นอบุ ตั ิเหตุอนั เน่ืองมาจากการทางานตามคาจากดั ความน้ี

อบุ ัติเหตทุ ี่เกิดขึน้ นอกเวลางาน หรืออุบัติเหตนุ อกงาน หมายถึง อบุ ตั ิเหตุที่เกิดข้ึนตอ่ พนกั งานของ
บริษทั ฯ ท่ีมีสาเหตขุ องการเกิดอุบตั ิเหตุไม่เกี่ยวขอ้ งกบั การทางานของบริษทั ฯ เกิดอบุ ตั ิเหตุข้ึนในเวลาพกั
ภายในบริเวณบริษทั ฯ หรือเกิดข้นึ ภายนอกบริเวณบริษทั ฯ เหตุการณ์ดงั กล่าวน้ีถือเป็นอุบตั ิเหตุที่เกิดข้ึน
นอกเวลาทางานหรืออุบตั ิเหตุนอกงาน

การเจบ็ ป่ วยด้วยโรคอันเน่ืองมาจากการทางาน หมายถึง การที่มีพนกั งานเจบ็ ป่ วยแลว้ ผลการตรวจ

วินิจฉยั ของแพทยผ์ ใู้ หก้ ารรักษาพยาบาลมีความเห็นวา่ การเจ็บป่ วยน้นั มาสาเหตุเน่ืองจากการทางานใหก้ บั
บริษทั ฯ เช่น การเจบ็ ป่ วยดว้ ยโรคอนั เน่ืองมาจากการทางานที่ กฎกระทรวงแรงงานเรื่อง กาหนดชนิดของ

โรคซ่ึงเกิดข้นึ ตามลกั ษณะหรือสภาพของงานเน่ืองจากการทางาน พ.ศ.2550 กาหนดไว้

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 4 of 9

Doc. Name วธิ ีปฏบิ ตั ิเม่ือมอี บุ ัติเหตหุ รือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การกระทาหรือสภาพแวดลอ้ มในการทางานซ่ึงปราศจาก
เหตุอนั จะทาใหเ้ กิดการประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือความเดือดร้อนราคาญอนั เนื่องจากการทางาน
หรือเกี่ยวกบั การทางาน

4. หนา้ ที่ความรับผิดชอบ
ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานทกุ ระดบั และคณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั

และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน เจา้ หนา้ ที่ฝ่ายบุคคล มีหนา้ ที่รับผิดชอบในการควบคุม การปฏิบตั ิตามวิธี
ปฏิบตั ิน้ี

- การปฏิบตั ิก่อนเกิดอุบตั ิเหตุ
- การปฏิบตั ิหลงั เกิดอบุ ตั ิเหตุ

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน
การจดั ระดบั ความรุนแรงของอบุ ตั ิเหตุ
บริษทั ฯ ไดจ้ ดั ระดบั ความรุนแรงของอบุ ตั ิเหตไุ ว้ เพื่อใหส้ ะดวกในการตอบสนองกรณีมีอบุ ตั ิเหตุ
จากการทางานเกิดข้ึนอยา่ งมีประสิทธิภาพ ดงั น้ี
อบุ ตั ิเหตุเลก็ น้อย ไดแ้ ก่ อบุ ตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนแลว้ ส่งผลใหม้ ีผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บเพยี งเลก็ นอ้ ย ทรัพยส์ ิน
เสียหายเพียงเลก็ นอ้ ย กลา่ วคอื เป็นอุบตั ิเหตุที่บาดเจบ็ ไมถ่ ึงข้นั หยดุ งาน เพียงปฐมพยาบาลภายในโรงงาน
สามารถซ่อมแซมทรัพยส์ ินท่ีเสียหายไดเ้ องภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วนั ผลของอุบตั ิเหตไุ ม่กระทบต่อ
โครงสร้างหลกั
อุบตั ิเหตปุ านกลาง ไดแ้ ก่ อบุ ตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึนแลว้ ส่งผลใหต้ อ้ งนาส่งโรงพยาบาล จะหยดุ งาน
หรือไม่หยดุ งานก็ตาม กรณีหยดุ งานตอ้ งไม่หยดุ งานเกิน 3 วนั โดยความเห็นของแพทยผ์ ใู้ หก้ ารรักษา ใน
ดา้ นทรัพยส์ ินเสียหายสามารถซ่อมแซมหรือจดั หาทดแทนไดเ้ กินกวา่ 7 วนั แตไ่ ม่เกิน 1 เดือน
อุบัติเหตุร้ายแรง ไดแ้ ก่ อบุ ตั ิเหตทุ ่ีเกิดข้ึนแลว้ ส่งผลใหม้ ีผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ ถึงข้นั หยดุ งานเกิน 3 วนั
ข้ึนไป โดยความเห็นของแพทยผ์ ใู้ หก้ ารตรวจรักษา ในดา้ นทรัพยส์ ินเสียหายกระทบต่อโครงสร้างหลกั ใช้
เวลาในการซ่อมแซม ปรับปรุง จดั หาทดแทนเกิน 1 เดือนข้ึนไป
สาเหตุของอบุ ตั ิเหตุ และโรคอนั เน่ืองมาจากการทางาน
การกระทาท่ีไม่ปลอดภยั หรือ Unsafe Acts
เป็นสาเหตุท่ีเกิดจากการกระทาของคน เช่น การคาดคะเนผดิ พลาด การละเลยการตรวจสอบ การ

ไมใ่ หก้ ารศึกษาอบรมก่อนใชห้ รือปฏิบตั ิงาน การลดั ข้นั ตอนการทางาน ความรีบเร่ง การฝ่าฝืนกฎระเบียบ
การไม่สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล การถอดอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายของเครื่องจกั รออก การ
ใชเ้ ครื่องจกั ร เคร่ืองมือผิดประเภท ความประมาท ชอบเสี่ยง ความสะเพร่า ความเลินเล่อ เผอเรอ การไมม่ ี
ระบบการบริหารจดั การอุบตั ิเหตทุ ่ีดีเพยี งพอซ่ึงสาเหตุหลกั ๆดงั ท่ีกลา่ วน้ี มีส่วนทาใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุ88 %

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 5 of 9

Doc. Name วธิ ีปฏบิ ัตเิ ม่ือมอี ุบตั เิ หตุหรือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (ต่อ)
สภาพการณ์ท่ีไมป่ ลอดภยั หรือ Unsafe Condition
เป็นสาเหตขุ องอุบตั ิเหตุท่ีเกิดจากสภาพการทางานท่ีเอ้ืออานวยตอ่ การเกิดอบุ ตั ิเหตุ เช่น เครื่องจกั ร

ไม่มีครอบป้องกนั อนั ตราย หรือไม่มีเครื่องป้องกนั ส่วนท่ีมีการเคล่ือนไหว เคร่ืองจกั ร เคร่ืองมือชารุด
สภาพไม่เหมาะสมต่อการใชง้ าน สภาพแวดลอ้ มในการทางานไมเ่ หมาะสม แสงสวา่ งไม่เพยี งพอ การจดั
วางไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไมส่ ะอาด เป็นหลุม ร่อง ลื่น ไมส่ ะดวก การวางผงั เกะกะ กีดขวาง ส่ิงเหลา่ น้ี
เป็นสาเหตุที่เอ้ือต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ 12 %

ความสูญเสียที่เกิดจากการเกิดอุบตั ิเหตุ
ความสูญเสียทางตรง ไดแ้ ก่ การบาดเจ็บ พกิ าร ทุพพลภาพ เสียชีวิต เคร่ืองจกั รชารุดเสียหาย การ

ผลิตหยดุ ชะงกั ค่าใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาล การหากพนกั งานมาทางานทดแทนผบู้ าดเจ็บ
การสูญเสียทางออ้ ม ไดแ้ ก่ เสียช่ือเสียงบริษทั ฯ มีผลต่อการบริการลูกคา้ การเสียขวญั กาลงั ใจใน

การทางานของพนกั งาน เสียเวลาในการซ่อมแซมเครื่องจกั ร เสียเวลาของพนกั งานในการสอบสวน
อบุ ตั ิเหตุ พนกั งานขาดรายได้ เสียเวลาในการอบรม (ค่าใชจ้ ่ายทางออ้ มจะไม่ชดั เจน แต่สูญเสียมากกวา่
บางกรณีไมส่ ามารถประเมินค่าความสูญเสียได)้

วิธีการปฏิบตั ิกรณีเกิดอบุ ตั ิเหตุ
การปฏิบตั ิก่อนเกิดอบุ ตั ิเหตุ
บริษทั ฯ ไดว้ างระบบการป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุจากการทางานและการป้องกนั โรคจากการ

ทางานไวด้ งั ต่อไปน้ี
1. การใหก้ ารศึกษาอบรม
บริษทั ฯ ไดว้ างระบบการใหก้ ารศึกษาอบรมเกี่ยวกบั เรื่องการจดั การควบคุมป้องกนั
อุบตั ิเหตุใหก้ บั พนกั งานโดยจดั ทาคูม่ ือ มาตรฐานการทางานท่ีปลอดภยั สาหรับใชใ้ นการอบรม
สอนงาน เร่ิมต้งั แต่การใหม้ ีการอบรมพนกั งานเขา้ ใหมโ่ ดยเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทางาน
ระดบั วชิ าชีพ การอบรมพนกั งานเขา้ ใหมก่ ่อนอนุญาตใหท้ างานโดยเจา้ หนา้ ทีความปลอดภยั ใน
การทางานระดบั หวั หนา้ งานประจาฝ่ายตา่ งๆ ตลอดจนการอบรมเพมิ่ ทกั ษะในการทางานและการ
ป้องกนั อุบตั ิเหตแุ ละโรคจากการทางาน โดยจดั ทาแผนการอบรมพนกั งานท้งั บริษทั ฯ พร้อมท้งั จดั
ใหม้ ีการอบรมทบทวนทกั ษะการปฏิบตั ิงานเพ่ือความปลอดภยั ในการทางานโดยเจา้ หนา้ ท่ีความ
ปลอดภยั ในการทางานระดบั วชิ าชีพและเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั หวั หนา้ งาน
โดยมีระบบการติดตามผลหลงั การฝึกอบรมท่ีมีประสิทธิภาพ

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 6 of 9

Doc. Name วธิ ปี ฏบิ ตั เิ ม่ือมอี ุบัติเหตหุ รือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (ต่อ)
2. การสารวจตรวจสอบ
บริษทั ฯ ไดว้ างระบบการสารวจตรวจสอบเพือ่ ควบคุมและป้องกนั กนั เกิดอุบตั ิเหตุไว้
หลายช้นั เพ่ือใหม้ นั่ ใจวา่ อุบตั ิเหตุจากการทางานในกระบวนการทางานต่าง ๆ จะไดร้ ับการตรวจ
ประเมินท้งั ก่อนทางาน ขณะทางาน และหลงั จากทางานแลว้ เสร็จ โดยกาหนดให้ :
- พนักงาน ตรวจสอบเคร่ืองจกั ร เครื่องมือ อปุ กรณ์ในการทางาน ก่อนทางาน
การสังเกตความผิดปกติที่อาจเกิดข้นึ ขณะทางาน และการตรวจสอบทาความสะอาด
หลงั จากท่ีทางานแลว้ เสร็จ
- หัวหน้างาน ตรวจสอบผลการตรวจของพนกั งานประจาวนั และตรวจสอบ
สภาพอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายของเคร่ืองจกั ร เครื่องมือ ตรวจสอบสภาพพ้ืนที่ทางาน
สภาพอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล และควบคมุ การใชง้ าน ตลอดจนการแกไ้ ข
ขอ้ บกพร่องใหม้ ีความปลอดภยั ก่อนใหพ้ นกั งานปฏิบตั ิงานประจาวนั
- เจ้าหน้าที่แผนกวิศวกรรมซ่อมบารุง กาหนดแผนงานในการตรวจและ
บารุงรักษาเครื่องจกั ร เครื่องมือ อปุ กรณ์ ตลอดจนโครงสร้างของอาคาร วางมาตรการ
เพื่อความปลอดภยั ในการซ่อมบารุง และดาเนินการตรวจสอบระบบไฟฟ้า สภาพการ
ใชง้ านของเครน ลิฟท์ พร้อมท้งั เก็บรักษาบนั ทึกการตรวจสอบไวเ้ พื่อประโยชนใ์ นการ
สอบทวนกลบั
- เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั วิชาชีพ ตรวจสอบความ
ปลอดภยั ในการทางานประจาวนั โดยสังเกตที่สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตเุ ป็นหลกั
พร้อมท้งั วางระบบข้นั ตอนการรายงานอบุ ตั ิเหตุไวใ้ ชป้ ฏิบตั ิภายในองคก์ ร รวมถึง
กาหนดมาตรการในการควบคมุ การทางานเสี่ยงอนั ตรายของช่างซ่อมบารุงและ
ผรู้ ับเหมา เพือ่ ตรวจสอบใหม้ ีความปลอดภยั ตลอดเวลา
- คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ จะสารวจดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั
และสภาพแวดลอ้ มในการทางานอยา่ งนอ้ ยเดือนละ 1 คร้ัง พร้อมท้งั ติดตามประเมินผล
การดาเนินงานของฝ่ายตา่ งๆ รวมถึงพิจารณาสถิติอุบตั ิเหตุและรายงานผลการ
ดาเนินงาน สภาพปัญหา ต่อประธานคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ใหท้ ราบ
การปฏิบตั ิหลงั เกิดอบุ ตั ิเหตุ
บริษทั ฯ ไดว้ างระบบการตอบสนองหลงั การเกิดอบุ ตั ิเหตุไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. วางระบบการรายงานอบุ ตั ิเหตุ
2. วางระบบวธิ ีการสอบสวนอุบตั ิเหตุที่มีประสิทธิภาพ
3. วางระบบการปฏิรูปฟ้ื นฟู

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 7 of 9

Doc. Name วิธีปฏบิ ัตเิ ม่ือมอี บุ ัตเิ หตุหรือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (ต่อ)
การวางระบบ การรายงานอบุ ัติเหตุ
บริษัท ได้กาหนดข้ันตอนการรายงานอุบัตเิ หตไุ ว้ เพื่อให้มีการตอบสนองการปฏบิ ตั เิ มื่อเกดิ อุบัติเหตุ

อนั เน่ืองมาจากการปฏิบัตงิ าน โดยมขี ้ันตอนการดาเนินการดังต่อไปนี้
1) เม่ือมกี ารเกดิ อุบัตเิ หตุจากการปฏบิ ัตงิ านให้พนักงานผู้อยู่ใกล้เคยี ง หรือ ผู้เหน็ เหตกุ ารณ์ แจ้งหวั หน้า

งานทันที
2) ในกรณีท่มี กี ารบาดเจบ็ จากการเกดิ อุบัตเิ หตจุ ากการปฏบิ ัตงิ าน ให้หวั หน้างานพจิ ารณาอาการบาดเจบ็

ระดับความรุนแรงของการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ พร้อมทาการปฐมพยาบาลข้นั ต้นผู้บาดเจบ็ ในกรณีทม่ี ี
บาดแผลหรืออาการบาดเจบ็ ทันที
3) หัวหน้างานรีบแจ้งมาทส่ี ่วนงานบคุ คล หรือ ส่วนงานสานกั งาน ให้รีบนาพาผู้บาดเจบ็ ส่งทาการรักษาที่
โรงพยาบาล พร้อมนาใบส่งตัวส่งตามไปโรงพยาบาลเพื่อประกอบการรักษา ตามหลกั เกณฑ์การเข้ารับ
การรักษาในกองทนุ เงินทดแทน กรณบี าดเจ็บจากการปฏิบตั ิงาน
4) หวั หน้างานทาการเขียนรายงานอบุ ตั เิ หตุ ( NL-FM-WI-HR-004/001 ) โดยรายละเอยี ดต้องกรอกให้
ครบทกุ ข้อในแบบฟอร์ม

• พร้อมรูปถ่ายสถานท่ีเกดิ เหตุ
• ทาการสอบสวนผู้เห็นเหตุการณ์
• ทาการสอบสวนผู้บาดเจบ็ ( กรณีทสี่ ่ือสารได้ บาดเจบ็ ไม่รุนแรง )
• วิเคราะห์หาสาเหตุ ของเหตุท่ีเกดิ ด้วยข้อเท็จจริง
5) นาข้อมูลรายงานอุบัตเิ หตุ นาส่งส่วนงานบคุ คลเพ่ือทาการพจิ ารณาเบือ้ งต้นถงึ ข้อสรุปถึงสาเหตุทเี่ กดิ
อบุ ตั เิ หตุ และ การดาเนินการแก้ไขและป้องกนั ข้นั ต้น
6) นาข้อสรุป และ รายงานอุบัติเหตเุ ข้าในการประชุมประจาสัปดาห์เพ่ือหาข้อสรุปสาเหตกุ ารเกดิ
อบุ ัตเิ หตุ และ เพ่ือหาแนวทางการดาเนนิ การแก้ไขป้องกนั ต่อไป โดยจะต้องมีการตดิ ตามการ
ดาเนนิ การแก้ไขและป้องกนั โดยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวชิ าชีพ หรือ ผ้ทู ี่ได้รับ
มอบหมายจากผ้จู ดั การโรงงาน นาหัวข้อการแก้ไข ความคืบหน้าการดาเนินการ มาสรุปผลการ
ดาเนินการในการประชุมสัปดาห์ถดั ไป
7) ส่วนงานบคุ คลติดตามอาการผ้บู าดเจบ็ พร้อมให้กาลงั ใจผู้บาดเจ็บ กระเช้าของเย่ยี มไข้ตามความ
เหมาะสม เพื่อเป็ นการสร้างขวญั กาลงั ใจให้กบั พนกั งานต่อไป

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 8 of 9

Doc. Name วธิ ีปฏบิ ัติเม่ือมอี บุ ตั เิ หตุหรือเหตฉุ ุกเฉิน Effective 07-Dec-2015
Date

5. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน (ต่อ)
หมายเหตุ :
กรณีอุบตั ิเหตุนอกงาน กาหนดใหพ้ นกั งานแจง้ มายงั เจา้ หนา้ ท่ีฝ่ายบคุ คล หรือ จป.วชิ าชีพทาง

โทรศพั ทห์ รือวิธีการอื่นสุดแตพ่ นกั งานจะสะดวก แต่ตอ้ งแจง้ ใหบ้ ริษทั ฯ ทราบก่อนเวลา 10.00 น.ของ
วนั รุ่งข้ึนหลงั จากเกิดอุบตั ิเหตุ ส่วนฝ่ายบคุ คล จป.วิชาชีพ หรือผแู้ ทนบริษทั ฯ จะตอ้ งติดตามผลในการให้
การรักษาพยาบาลของระบบประกนั สงั คมกบั ทางโรงพยาบาลเพ่ืออานวยความสะดวกใหก้ บั พนกั งาน
ตอ่ ไป

6. เอกสารอา้ งอิง
ไมม่ ี

7. บนั ทึกคุณภาพ

รหสั เอกสาร ช่ือเอกสาร ผจู้ ดั เก็บ สถานท่ีเกบ็ อายกุ ารจดั เกบ็ วิธีการจดั เก็บ
ผรู้ ับผดิ ชอบ
NL-FM-WI-HR-004/001 แบบบนั ทึกรายงานอบุ ตั ิเหตุ ตเู้ กบ็ เอกสาร 1 ปี เรียงตามรหสั
HR ของหน่วยงาน

Doc. No. NL-WI-HR-004 Revision 02 Page Page 9 of 9
07-Dec-2015
Doc. Name วิธีปฏบิ ตั ิเมื่อมอี บุ ตั เิ หตุหรือเหตฉุ ุกเฉิน Effective
Date

8. ผงั แสดงการปฏิบตั ิงาน ผรู้ ับผดิ ชอบ ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง
ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน
หวั หนา้ งานในพ้ืนท่ีการ ผเู้ ห็นเหตุการณ์ -
ผปู้ ระสบเหตุ ปฏิบตั ิงาน
แจง้ หวั หนา้ งาน

หวั หนา้ งานรายงานหวั หน้าแผนก หวั หนา้ งาน --
หวั หนา้ ส่วนงาน
หวั หนา้ ส่วนงานบคุ คล
ตามลาดบั ข้นั ตอ่ ไป

หวั หนา้ งาน ทาการประเมินความ 1.หวั หนา้ งาน ผเู้ ห็นเหตกุ ารณ์ หรือ -
รุนแรงของผบู้ าดเจบ็ พร้อมทาการปฐม พนกั งานใกลเ้ คียง
พยาบาลข้นั ตน้ ผบู้ าดเจบ็

กรณีบาดเจ็บรุนแรง นาพนกั งานส่ง 1.หวั หนา้ งาน 1.หวั หนา้ ส่วนงานบุคคล นาส่ง เอกสารใบ กท .44
โรงพยาบาลเพื่อทาการรักษา 2.หวั หนา้ แผนก เอกสารส่งตวั พนกั งานเขา้ ทา
การรักษากบั สถานพยาบาล

หวั หนา้ แผนก หวั หนา้ ส่วนงาน 1.หวั หนา้ แผนก - NL-FM-WI-HR-004 /001
ทาการสอบสวนเหตุท่ีเกิดเบ้ืองตน้ 2.หวั หนา้ ส่วนงาน
พร้อมจดั ทารายงานการเกิดอุบตั ิเหตุ แบบรายงานอบุ ตั ิเหตุ

นารายงานอุบตั ิเหตุเขา้ ในที่ประชุม 1.หวั หนา้ ส่วนงานบคุ คล 1.ผจู้ ดั การโรงงาน NL-FM-WI-HR-004 /001
ประจาสปั ดาหเ์ พื่อหาขอ้ สรุปการเกิด 2.หวั หนา้ ส่วนงาน
เหตุ และหาแนวทางการดาเนินการ 3.หวั หนา้ แผนก แบบรายงานอุบตั ิเหตุ
แกไ้ ขและป้องกนั เพือ่ ไมใ่ หเ้ กิดเหตซุ ้า และผเู้ ก่ียวขอ้ ง

ติดตามผลการดาเนินการแกไ้ ขและ 1.ผจู้ ดั การโรงงาน
ป้องกนั ปัญหาไมใ่ ห้เกิดซ้า 2.ผตู้ ิดตามผลการดาเนินการแก้

ไขและป้องกนั


Click to View FlipBook Version