The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ประจำปีการศึกษา2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ประจำปีการศึกษา2566

คู่มือนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ประจำปีการศึกษา2566

Keywords: 66

200 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๓- ๕.๗ ชุดฝึกปฏิบัติงาน ๕.๗.๑ เสื้อ ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สีกรมท่า ผ้าชนิดเดียวกันกับ กางเกง ตามข้อ ๕.๓ เป็นเสื้อเชิ้ตทรงสุภาพ ไม่รัดรูป เสื้อเชิ้ตปักชื่อนามสกุลเหนือกระเป๋าเสื้อด้านขวา ด้วย ด้ายสีขาว ปักตราวิทยาลัยฯ ที่บนกระเป๋าเสื้อด้านซ้ายด้วยด้ายสีขาว ติดแถบสีประจ าแผนกวิชาที่ริมกระเป๋า ด้านซ้าย ๑ แถบ ขนาด ๑ เซนติเมตร และที่ปลายแขนเสื้อด้านซ้าย ขนาด ๑ x ๑.๕ เซนติเมตร ดังนี้ สาขางานก่อสร้าง แถบสีน้ าเงิน สาขางานยานยนต์ แถบสีแดง สาขางานเครื่องมือกล แถบสีน้ าตาล สาขางานไฟฟูาก าลัง แถบสีฟูา สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ แถบสีม่วง สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ แถบสีเหลือง สาขางานช่างเชื่อมโลหะ แถบสีเทา ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ผ้าโทเร่ หรือตามที่ วิทยาลัยฯ ก าหนด สีเทา ทรงสุภาพ ไม่รัดรูป ปักตราวิทยาลัยฯ ที่บนกระเป๋าเสื้อด้านซ้ายตามรูปแบบที่ วิทยาลัยฯ ก าหนด ติดแถบสีประจ าแผนกวิชาที่ริมกระเป๋าด้านซ้าย ๑ แถบ ขนาด ๑ เซนติเมตร และที่ปลาย แขนเสื้อด้านซ้าย ขนาด ๑ x ๑.๕ เซนติเมตร ดังนี้ สาขางานก่อสร้าง แถบสีน้ าเงิน สาขางานเทคนิคยานยนต์ แถบสีแดง สาขางานเครื่องมือกล แถบสีน้ าตาล สาขางานไฟฟูาก าลัง แถบสีฟูา สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม แถบสีม่วง สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ แถบสีเหลือง สาขางานช่างเชื่อมโลหะ แถบสีเทา ๕.๗.๒ กางเกง ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กางเกงสีกรมท่า ผ้า สี ชนิด เดียวกันกับเสื้อฝึกปฏิบัติงาน ทรงสุภาพ ไม่รัดรูป ความยาวของกางเกงเมื่อสวมกางเกงแล้วปลายขากางเกงจะ อยู่ระดับปิดแนวตาตุ่มของผู้สวม ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กางเกงสีด า ผ้าชนิด เดียวกันกับเสื้อฝึกปฏิบัติงาน ทรงสุภาพ ไม่รัดรูป ความยาวของกางเกงเมื่อสวมกางเกงแล้วปลายขากางเกงจะ อยู่ระดับปิดแนวตาตุ่มของผู้สวมความยาวของผู้สวม ๔ / ข้อ ๖ เครื่องแบบ...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 201 -๔- ข้อ ๖ เครื่องแบบและการแต่งกายของนักเรียน นักศึกษาหญิง ๖.๑ ทรงผม ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียนพ.ศ.๒๕๖๓ นักเรียนต้องปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไว้ทรงผมและให้ปฏิบัติตามระเบียบวิทยาลัยฯ ว่าด้วยเครื่องแบบและการ แต่งกายของนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕ ดังนี้ ๑) นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรือยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาว ความยาวเกินต้นคอลง ไปต้องรวบให้เรียบร้อย ไม่ใช่ริบบิ้นผูกผม หรือเครื่องประดับที่มีลวดลาย สีฉูดฉาด สามารถติดหรือประดับ อุปกรณ์จัดผมได้ให้เป็นสีสุภาพ ตามที่แผนกวิชาก าหนด กรณีไว้ผมสั้นไว้ทรงผมสั้นสุภาพ หรือไว้ความยาวของ ผมไม่เกินต้นคอ ๒) ห้ามดัดผม ซอยผม ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม และการกระท าอื่นซึ่งไม่ เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณ์หรือลวดลาย ๖.๒ เสื้อ ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปกเชิ้ต สีขาวไม่บางจนเห็นเนื้อ และ ไม่รัดรูป (วัดรอบอกแล้วหลวมอย่างน้อย ๒ นิ้ว) แขนสั้น ไม่เย็บเบิ้ลปลายแขน ด้านหลังไม่มีสาบ หรือจีบใด ๆ ปักชื่อและนามสกุล ที่หน้าอกข้างซ้าย ด้วยไหมสีน้ าเงิน ตัวอักษรขนาด ๑ เซนติเมตร ติดกระดุมของวิทยาลัยฯ อกขวาติดเข็มตราวิทยาลัยฯ ติดเครื่องหมายของวิทยาลัยที่ริมปกคอเสื้อด้านขวา สวมเสื้อบังทรงข้างใน และ สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรงและให้มองเห็นเข็มขัด ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เสื้อเชิ้ตสีขาว มีสาบหลัง เย็บ สาบหน้าแบบผู้ชาย เสื้อไม่รัดรูป แขนปลายแขนเสื้อเป็นแบบธรรมดา หรือเย็บเบิ้ลปลายแขน ไม่รัดรูป (วัดรอบอกแล้วบวกหลวม ๒ นิ้ว) ผ้าไม่บางจนเกินไป ติดปูายชื่อ - นามสกุล ท าด้วยโลหะพื้นสีด า ตัวอักษรสี ขาว ที่แนวอกเสื้อด้านซ้าย อกด้านขวาติดเข็มตราสัญลักษณ์วิทยาลัยฯ กระดุมโลหะของวิทยาลัย ฯ สวมเนคไท ตามที่วิทยาลัยฯ ก าหนด ใส่เสื้อบังทรงข้างใน และสอดชายเสื้อไว้ในกระโปรงและให้มองเห็นเข็มขัด ๖.๓ กระโปรง ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กระโปรง ผ้าโทรเรสีด า หรือกรมท่า แบบของนักเรียนมัธยม มี ๖ จีบ ทั้งหน้าและหลัง เอวพอดี ด้านข้างติดซิปไม่ติดกระดุม ขอบกว้างไม่เกิน ๑ นิ้ว ความยาวกระโปรงอย่างน้อยคลุมเข่า หรือยาวลงมาจากใต้เข่าไม่เกิน ๔ นิ้ว สวมทับชายเสื้อให้เรียบร้อย ไม่ปล่อยชายเสื้อ หรือดึงชายเสื้อออกมานอกขอบกระโปรง ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เป็นกระโปรงทรงตรง เอวสูง สี ด าผ้าเนื้อเรียบ ไม่มีลวดลาย ไม่รัดรูป ผ่าหลังปูายซ้อนแบบสุภาพ ความยาวอย่างน้อยพอดีเข่า หรือ ยาวลงไป คลุมเข่า สวมทับชายเสื้อให้เรียบร้อย ไม่ปล่อยชายเสื้อ หรือดึงชายเสื้อออกมานอกขอบกระโปรง ๕ / ๖.๔ เข็มขัด...


202 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๕- ๖.๔ เข็มขัด ใช้เข็มขัดหนังแท้หรือเทียม สีด าไม่มีลวดลาย ขนาดกว้าง 4 เซนติเมตร พร้อม หัวเข็มขัดโลหะของวิทยาลัยฯ เท่านั้น ๖.๕ รองเท้า ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สวมใส่รองเท้าหนังสีด าแบบมัธยม ไม่ มีลวดลาย ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เป็นรองเท้าคัทชู สีด า แบบหุ้ม ส้น หัวแบบใดได้ไม่ตกแต่งด้วยโลหะทุกชนิดและ ส้นรองเท้าไม่ต่ ากว่า 1 นิ้ว สูงไม่เกิน 2.5 นิ้ว ชนิดของ รองเท้าเป็นรองเท้าหนังแก้ว รองเท้าหนังสีด า เท่านั้น ๖.๖ ถุงเท้า ๑) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หุ้มข้อสีขาวไม่มีลวดลาย สูงไม่น้อย กว่า ๓ นิ้ว จากกึ่งกลางตาตุ่ม ๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สวมใส่ถุงเท้ากันกัดได้ ไม่มี ลวดลาย หรือไม่สวมใส่ถุงเท้า ๖.๗ ชุดฝึกปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามใน ข้อ ๕ เครื่องแบบและการแต่งกายของนักเรียน นักศึกษาชาย (๕.๗ ชุดฝึกปฏิบัติงาน) ๖.๘ ระเบียบการแต่งกายอื่นๆ ๑) ห้ามติดสติกเกอร์ สักหรือระบายสีด้วยสีต่างๆ หรือเจาะร่างกายบริเวณที่ สามารถมองเห็นได้ชัดไม่ว่าส่วนใดของร่างกายทั้งเป็นการถาวรหรือชั่วคราว ๒) ไม่ไว้เล็บยาวเกิน ๐.๕ เซนติเมตร ทา หรือตกแต่งเล็บให้ผิดไปจากเดิม เช่น ต่อเล็บ เพ้นท์เล็บ ทาสีเล็บ ๓) ห้ามน าสิ่งของอื่นที่มิใช่อุปกรณ์ประกอบเครื่องแบบนักเรียนมาประดับ หรือ ดัดแปลงให้เกิดความไม่ถูกต้องตามระเบียบวิทยาลัยฯ เช่น หมวก เสื้อคลุมแบบต่างๆ ปลอกแขนมีลวดลายต่างๆ ๔) นักเรียน นักศึกษาหญิง ที่เรียนช่างอุตสาหกรรม ใส่ชุดฝึกปฏิบัติงานตาม แบบของนักเรียน นักศึกษาชายได้ แต่เมื่อมีประกาศให้ใส่ชุดนักเรียน ให้แต่งกายชุดนักเรียน นักศึกษาหญิง ตามที่วิทยาลัยฯ ก าหนด ข้อ ๗ เครื่องแบบและการแต่งกายลูกเสือ เนตรนารี ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ ๖ / ข้อ ๘...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 203 -๖- ข้อ ๘ เครื่องแบบและการแต่งกายนักศึกษาวิชาทหาร ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักศึกษาวิชาทหารและเครื่องแบบผู้ก ากับ นักศึกษาวิชาทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ ข้อ ๙ การแต่งกายเมื่อมาติดต่อกับทางวิทยาลัยฯ นักเรียน นักศึกษา ที่ยังมีสภาพเป็นนักเรียน นักศึกษา ต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี และเป็นเครื่องแบบของวิทยาลัยฯเท่านั้น ผู้ใดฝุาฝืนจะไม่อนุญาตให้ ติดต่อราชการไม่ว่าเหตุใดก็ตาม ส่วนนักเรียน นักศึกษาที่หมดสภาพการเป็นนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยฯ แล้วนั้น ให้แต่งกายด้วยชุดสุภาพเรียบร้อย ไม่ต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ (นายขุนทอง จริตพันธ์) ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


204 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 205


206 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 207 ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕ ..................................................................... อาศัยอ านาจตามความในข้อ ๙ แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การ ลงโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี จึงวางระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาลงโทษนักเรียน และนักศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาโทษนักเรียนนักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “วิทยาลัย” หมายความว่า วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “ผู้อ านวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “คณะกรรมการปกครอง” หมายความว่า คณะกรรมการที่วิทยาลัยฯ แต่งตั้งให้ท าหน้าที่ ก ากับ ดูแล ส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ให้มีระเบียบวินัย และปฏิบัติตนในการเป็นนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “หัวหน้างานปกครอง” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานปกครองตามระเบียบว่า ด้วยการบริหารสถานศึกษา “ครูปกครองสาขางาน” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่ปกครองดูแลความเรียบร้อยของ นักเรียนและนักศึกษาในแต่ละสาขางาน ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา “หัวหน้าสาขางาน” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้าสาขางาน ปกครองดูแลความ เรียบร้อยของนักเรียนและนักศึกษาในแต่ละสาขางาน ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา “หัวหน้างานแนะแนว” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานแนะแนว ในการฝึกอบรม เกี่ยวกับการเรียนการสอน ความประพฤติ ระเบียบวินัยและข้อบังคับของวิทยาลัยฯ ตามระเบียบว่าด้วยการ บริหารสถานศึกษา “หัวหน้างานครูที่ปรึกษา” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานครูที่ปรึกษา ในการ ควบคุมดูแล ส่งเสริม การจัดท า จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลประวัติ ข้อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยฯ ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา ๒ / นักเรียน... ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕ ..................................................................... อาศัยอ านาจตามความในข้อ ๙ แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การ ลงโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี จึงวางระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาลงโทษนักเรียน และนักศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาโทษนักเรียนนักศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “วิทยาลัย” หมายความว่า วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “ผู้อ านวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “คณะกรรมการปกครอง” หมายความว่า คณะกรรมการที่วิทยาลัยฯ แต่งตั้งให้ท าหน้าที่ ก ากับ ดูแล ส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ให้มีระเบียบวินัย และปฏิบัติตนในการเป็นนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี “หัวหน้างานปกครอง” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานปกครองตามระเบียบว่า ด้วยการบริหารสถานศึกษา “ครูปกครองสาขางาน” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่ปกครองดูแลความเรียบร้อยของ นักเรียนและนักศึกษาในแต่ละสาขางาน ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา “หัวหน้าสาขางาน” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้าสาขางาน ปกครองดูแลความ เรียบร้อยของนักเรียนและนักศึกษาในแต่ละสาขางาน ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา “หัวหน้างานแนะแนว” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานแนะแนว ในการฝึกอบรม เกี่ยวกับการเรียนการสอน ความประพฤติ ระเบียบวินัยและข้อบังคับของวิทยาลัยฯ ตามระเบียบว่าด้วยการ บริหารสถานศึกษา “หัวหน้างานครูที่ปรึกษา” หมายความว่า ครูที่ท าหน้าที่หัวหน้างานครูที่ปรึกษา ในการ ควบคุมดูแล ส่งเสริม การจัดท า จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลประวัติ ข้อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยฯ ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา ๒ / นักเรียน...


208 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๒- “นักเรียน” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา ซึ่งเป็นผู้ใช้อ านาจปกครอง หรือผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของนักเรียน หรือผู้ปกครองตามมาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และให้หมายความรวมถึงบุคคลที่นักเรียนอยู่ด้วยเป็นประจ า “กระท าความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝุาฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ หรือประพฤติฝุาฝืนระเบียบ กฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการปกครองนักเรียน นักศึกษาที่ผู้อ านวยการวิทยาลัยฯ แต่งตั้ง ประกอบด้วย ๑. รองผู้อ านวยการวิทยาลัยฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา เป็นประธาน กรรมการ ๒. ครูปกครองแผนก เป็นกรรมการ ๓. หัวหน้าสาขางาน เป็นกรรมการ ๔. หัวหน้างานแนะแนว เป็นกรรมการ ๕. หัวหน้างานปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ ๖. หัวหน้างานครูที่ปรึกษา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หมวด ๑ อ านาจหน้าที่คณะกรรมการปกครอง ----------------------------- ข้อ ๕ คณะกรรมการปกครองนักเรียน นักศึกษา มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ๑. ด าเนินการสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานกรณีนักเรียน นักศึกษา ถูกกล่าวหาว่ากระท าความผิด ๒. พิจารณาเสนอระดับการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ๓. เสนอแก้ไข ปรับปรุง ระเบียบหลักเกณฑ์ ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ เพื่อพิจารณาการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา ข้อ ๖ การพิจารณาลงโทษนักเรียน นักศึกษา ให้ด าเนินการดังต่อไปนี้ ๑. ให้คณะกรรมการจ านวนไม่น้อยกว่า ๓ คน ด าเนินการสืบสวน สอบสวน พยาน บุคคล พยานเอกสารที่เกี่ยวข้องตามข้อกล่าวหา ๓ / ๒. ให้คณะกรรมการ...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 209 -๓- ๒. ให้คณะกรรมการแจ้งให้นักเรียน นักศึกษาที่ถูกกล่าวหาว่ากระท าผิด มีโอกาสใน การแก้ข้อกล่าวหา และน าสืบพยานหลักฐาน แก้ข้อกล่าวหาเป็นลายลักษณ์อักษร ก่อนพิจารณาเสนอระดับ การลงโทษนักเรียนนักศึกษา ๓. พิจารณาข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน สรุปความเห็นระดับการลงโทษต่อ ผู้อ านวยการวิทยาลัยฯ ๔. การประชุมพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษาต้องมีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุม ไม่น้อยกว่า ๒ ใน ๓ ของคณะกรรมการทั้งหมด ๕. การพิจารณาลงโทษนักเรียน นักศึกษา ต้องมีการด าเนินการสืบสวนของ คณะกรรมการปกครองนักเรียน นักศึกษา ก่อน เว้นแต่นักเรียน นักศึกษาให้การรับสารภาพเป็นหนังสือว่าได้ กระท าความผิดตามที่ถูกกล่าวหา ข้อ ๗ โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียน หรือนักศึกษาที่กระท าผิด มี ๔ สถาน ดังนี้ ๑. ว่ากล่าวตักเตือน ๒. ท าทัณฑ์บน ๓. ตัดคะแนนความประพฤติ ๔. ท ากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมวด ๒ การลงโทษ ว่ากล่าวตักเตือน ----------------------------- ข้อ ๘ การลงโทษนักเรียน ว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียน นักศึกษา ที่กระท าความผิด ไม่ร้ายแรง หรือท าความผิดเล็กๆน้อยๆ การว่ากล่าวตักเตือนอาจกระท าด้วยวาจา หรือท าเป็นลายลักษณ์อักษร และให้นักเรียน นักศึกษา ลงนามรับทราบไว้เป็นหลักฐาน หมวด ๓ การลงโทษ ท าทัณฑ์บน ----------------------------- ข้อ ๙ การลงโทษ ท าทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียน นักศึกษา ที่กระท าความผิด ดังนี้ ๑. ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วย ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ๒. ท าให้เสื่อมเสียชื่อเสียงเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา ๓. ฝุาฝืนระเบียบของวิทยาลัยฯ ๔. ได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนมาแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ ๔ / หมวด ๔... -๒- “นักเรียน” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดามารดา หรือบิดา หรือมารดา ซึ่งเป็นผู้ใช้อ านาจปกครอง หรือผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของนักเรียน หรือผู้ปกครองตามมาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ และให้หมายความรวมถึงบุคคลที่นักเรียนอยู่ด้วยเป็นประจ า “กระท าความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝุาฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ หรือประพฤติฝุาฝืนระเบียบ กฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา ข้อ ๔ ให้มีคณะกรรมการปกครองนักเรียน นักศึกษาที่ผู้อ านวยการวิทยาลัยฯ แต่งตั้ง ประกอบด้วย ๑. รองผู้อ านวยการวิทยาลัยฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา เป็นประธาน กรรมการ ๒. ครูปกครองแผนก เป็นกรรมการ ๓. หัวหน้าสาขางาน เป็นกรรมการ ๔. หัวหน้างานแนะแนว เป็นกรรมการ ๕. หัวหน้างานปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ ๖. หัวหน้างานครูที่ปรึกษา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หมวด ๑ อ านาจหน้าที่คณะกรรมการปกครอง ----------------------------- ข้อ ๕ คณะกรรมการปกครองนักเรียน นักศึกษา มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ๑. ด าเนินการสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานกรณีนักเรียน นักศึกษา ถูกกล่าวหาว่ากระท าความผิด ๒. พิจารณาเสนอระดับการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ๓. เสนอแก้ไข ปรับปรุง ระเบียบหลักเกณฑ์ ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ เพื่อพิจารณาการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา ข้อ ๖ การพิจารณาลงโทษนักเรียน นักศึกษา ให้ด าเนินการดังต่อไปนี้ ๑. ให้คณะกรรมการจ านวนไม่น้อยกว่า ๓ คน ด าเนินการสืบสวน สอบสวน พยาน บุคคล พยานเอกสารที่เกี่ยวข้องตามข้อกล่าวหา ๓ / ๒. ให้คณะกรรมการ...


210 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๔- หมวด ๔ การลงโทษ ตัดคะแนนความประพฤติ ----------------------------- ข้อ ๑๐ ผู้มีอ านาจสั่งตัดคะแนนความประพฤติ ได้แก่ ๑. ครูสั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ ครั้งละไม่เกิน ๕ คะแนน ๒. รองผู้อ านวยการ หัวหน้างานปกครอง สั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ครั้งละไม่ เกิน ๑๐ คะแนน ๓. ผู้อ านวยการวิทยาลัยฯ สั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ ครั้งละไม่เกิน ๓๐ คะแนน ข้อ ๑๑ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา กฎกระทรวงศึกษาธิการ ก าหนด ความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘ ให้ตัดคะแนนความประพฤติได้ ดังนี้ ๑. ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ๕ คะแนน - หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษา โดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน - ปีนรั้วก าแพงออกนอกวิทยาลัยฯ โดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน - ทรงผมผิดระเบียบ หนวดเครายาว - เจาะหูผิดแปลกไปจากเดิม เช่น การระเบิดหู - สักลาย หรือติดสติกเกอร์ บริเวณที่เห็นชัด - ไว้เล็บยาว และตกแต่งเล็บให้ผิดแปลกไปจากเดิม เช่น ทาสีเล็บ เพ้นท์เล็บ - น าสิ่งของอื่นที่มิใช่อุกรณ์ประกอบเครื่องแบบนักเรียน นักศึกษา มาประดับ เช่น เสื้อคลุม หมวก ปลอกแขนที่มีลวดลายต่างๆ - แสดงกิริยา วาจา มารยาท ไม่สุภาพต่อครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษาร่วมสถาบัน และบุคคลภายนอก - เสื้อปฏิบัติงานไม่มีแถบระบุสาขางาน หรือ ไม่ปักชื่อ - กางเกง กระโปรง ผิดระเบียบ - ไม่มีเข็มขัดของวิทยาลัยฯ - รองเท้า ถุงเท้า ผิดระเบียบ - จับกลุ่มมั่วสุมในพื้นที่บริเวณภายในและบริเวณโดยรอบวิทยาลัยฯ เช่น โรงจอดรถบริเวณนอก และในวิทยาลัยฯ - เข้าบริเวณโรงจอดรถของวิทยาลัยฯ ในเวลาเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต - จอดรถทุกประเภท ในพื้นที่บริเวณห้ามจอดในวิทยาลัยฯ ๕ / ๒. ความผิด...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 211 -๕- ๒. ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน - ให้บุคคลภายนอกยืมเครื่องแบบชุดนักเรียน นักศึกษา - ให้เพื่อนยืมเสื้อแผนก หรือใช้เสื้อผู้อื่นสวมใส่ - มาสาย หนีเรียน ไม่เข้าประชุม หรือไม่เข้าร่วมกิจกรรมของวิทยาลัยฯ - มีอุกรณ์เล่นการพนันไว้ครอบครอง - ขาดวัฒนธรรมอันดีในการรักษาความสะอาด ความสวยงาม เป็นระเบียบ เรียบร้อยของวิทยาลัยฯ - พาบุคคลภายนอก และแต่งกายไม่สุภาพเข้ามาในบริเวณวิทยาลัยฯ - ขับขี่รถจักรยานยนต์และรถยนต์ ภายในวิทยาลัยฯ หรือประพฤติผิดกฎ จราจรของวิทยาลัยฯ - แต่งเครื่องแบบชุดนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยฯ เข้าร้านที่มีสิ่งยั่วยุ หรือ อบายมุข เช่น เข้าร้านเกมส์ร้านจ าหน่ายสุรา บุหรี่ ร้านสักลาย - ขัดค าสั่งที่ชองของครูผู้สอน - ท าผิดกฎระเบียบการใช้โรงฝึกงาน ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องโสตทัศนศึกษา โรงอาหาร และห้องสุขา หรือห้องอื่นๆ ตามวิทยาลัยฯ ก าหนด - จอดรถในพื้นที่ห้ามจอด ภายนอกโดยรอบวิทยาลัยฯ - สูบบุหรี่ในขณะสวมใส่ชุดนักเรียน นักศึกษา ทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัยฯ - ความผิดอื่นๆ ตามที่วิทยาลัยฯ เห็นสมควร ๓. ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ๑๕ คะแนน - เข้าไปในสถานที่ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน นักศึกษา หรือในที่วิทยาลัยฯ สั่งห้าม - เจตนาอ าพราง ปกปิด แจ้งเท็จ ช่วยเหลือบุคคลที่กระท าผิด - ร่วมอยู่ และรวมกลุ่มในการทะเลาะวิวาท ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ - ร่วมอยู่ในกลุ่มเล่นการพนันทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัยฯ - ประพฤติขาดมารยาทอันดีงาม ไม่สมเกียรติและศักดิ์ศรีของวิทยาลัยฯ - ท าให้เกิดรอยเปรอะเปื้อน ท าลาย หรือขีดเขียน ทรัพย์สินของทางราชการ - แอบอ้างปิดบังตนเอง โยนความผิดให้ผู้อื่นหรือองศ์กรอื่นได้รับความ เสียหาย - ความผิดอื่นๆ ตามที่วิทยาลัยฯ เห็นสมควร ๖ / ๔. ความผิด...


212 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๖- ๔. ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน - ลบหลู่ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษาร่วมสถาบัน และบุคคลภายนอก - ฝุาฝืน ขัดแย้ง ไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของวิทยาลัยฯ หรือประพฤติตนไม่ เหมาะสมกับสภาพของการเป็นนักเรียน นักศึกษา - ประพฤติตนในท านองชู้สาว หรือแสดงพฤติกรรมชู้สาวในที่สาธารณะ อันท า ให้เกิดความเสียชื่อเสียงของวิทยาลัยฯ - ยินยอมให้บุคคลอื่นใช้เครื่องแบบ หรือชุดปฏิบัติงานของนักเรียน นักศึกษา ของตนเองไปในทางมิชอบ - แอบอ้างเอาชื่อวิทยาลัยฯ ไปด าเนินการโดยไม่รับอนุญาตจนเกิดความเสียหาย - เสพสุรา หรือยาเสพติดของมึนเมา และสารเสพติดให้โทษ ในขณะสวม ใส่ชุดนักเรียน นักศึกษา ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ - เสพยาเสพติด หรือยาเสพติดให้โทษ และมีอุปกรณ์การเสพฯ ทุกชนิด - เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน ทั้งในและ นอกวิทยาลัยฯ - รวมกลุ่มหยุดเรียน หรือก่อความไม่สงบ ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ - ก่อเหตุทะเลาะวิวาทโดยไม่มีอาวุธ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ - ก่อเหตุทะเลาะวิวาทโดยไม่มีอาวุธ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ในลักษะ รวมกลุ่ม หรือรุมท าลาย - กระท าความผิดในลักษณะตามข้อ ๔. แล้วน าภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ไฟล์ เสียงไปเผยแพร่ในสื่อออนไลน์ - ความผิดอื่นๆ ตามที่วิทยาลัยฯ เห็นสมควร ๕. ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน - เสพสุรา เสพยาเสพติด ยาเสพติดให้โทษ หรือของมึนเมา ทั้งในและนอก วิทยาลัยฯ - จนอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ ท าให้เสื่อมเสียเกียรติและ ศักดิ์ศรีของวิทยาลัยฯ หรือก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น - ครอบครอง จ าหน่าย หรือรับจ าหน่าย รับซื้อ แลกเปลี่ยน สุรา เครื่องดื่มที่มี แอลกฮอร์สิ่งมึนเมา บุหรี่ ยาเสพติดและยาเสพติดให้โทษ หรือของต้องห้ามที่ผิดกฎหมายทุกชนิดไว้ใน ครอบครอง - ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจ เพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น ๗ / บังคับ...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 213 -๗- - บังคับ ขู่เข็ญ ยุยง ส่งเสริม หรือชักชวนเพื่อนนักเรียน นักศึกษา บุคคลภายนอก ก่อความไม่สงบ - บังคับ ขู่เข็ญ กล่าวค าอาฆาต ให้เพื่อนนักเรียน นักศึกษา กระท าการใดๆ โดยเพื่อนนักเรียน นักศึกษา ไม่ได้สมัครใจ - ท าลายทรัพย์สินของวิทยาลัยฯ โดยเจตนาท าให้เกิดความเสียหายอย่าง ร้ายแรง - ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือการกระท าการก่อให้เกิดความสามัคคี - ก่อเหตุทะเลาะวิวาทโดยใช้อาวุธ กับเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลอื่น ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ - ท าร้ายบุคคลอื่น หรือกระท าตนเป็นอันธพาล เตรียมการหรือกระท าการ ใดๆ อันน่าจะก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย หรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือรวมกลุ่มหรือมั่วสุม เพื่อกระท าการดังกล่าว - ใช้อาวุธท าร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บรุนแรง หรือเสียชีวิต - ขโมยทรัพย์สินของวิทยาลัยฯ หรือผู้อื่น และปรากฏหลักฐานชัดเจน - แอบอ้าง จ้างวาน เจตนาปลอมแปลงเอกสาร หรือจ้างวานบุคคลอื่นให้ กระท าการใดที่ถือเป็นเจตนาไม่บริสุทธิ์ - ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จในการขอรับทุนการศึกษา หรือขอรับการสนับสนุนของ ทางราชการ เอกชน หรือหน่วยงานที่วิทยาลัยฯ เกี่ยวข้อง - แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวอันไม่เหมาะสม กระท าการลามกอนาจาร แต่งกายล่อแหลมหรือไม่เรียบร้อยภายในวิทยาลัยฯ - ท าการกระท าใดๆ ที่เป็นการขัดแย้งต่อการปกครองระบบประชาธิปไตย - พก ผลิต หรือร่วมอยู่ในกลุ่มที่ผลิตอาวุธหรือวัตถุระเบิดในวิทยาลัยฯ - กระท าความผิดในลักษณะตามข้อ ๕. แล้วน าภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ไฟล์เสียงไปเผยแพร่ในสื่อออนไลน์ - ความผิดอื่นๆ ตามที่วิทยาลัยฯ เห็นสมควร การตัดคะแนนความประพฤติให้รวมไว้ตลอดปีการศึกษา เมื่อเริ่มต้นปีการศึกษาใหม่ให้ยกเลิก คะแนนความประพฤติที่ถูกตัดไว้เดิม เว้นแต่กรณีถูกทัณฑ์บนมาแล้ว ๘ / หมวด ๕....


214 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๘- หมวด ๕ การลงโทษ ท ากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ----------------------------- ข้อ ๑๒ นักเรียน นักศึกษา ที่กระท าความผิด ดังต่อไปนี้ อาจถูกลงโทษท ากิจกรรมเพื่อให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ขโมย และท าลาย ทรัพย์สินของวิทยาลัยฯ หรือผู้อื่น โดยเจตนาและปรากฏ หลักฐานชัดเจน - ยุยงหรือข่มขู่เพื่อนักเรียน นักศึกษา ให้เกิดความกระด้างกระเดื่องต่อ วิทยาลัยฯ หรือชุมนุม ประท้วง เรียกร้องสิทธิ์ต่างๆ โดยมิชอบ - เป็นผู้น าในการซ่องสุม ก่อกวนความไม่สงบเรียบร้อย รวมกลุ่มก่อการ ทะเลาะวิวาท - เจตนาท าร้ายผู้อื่น หรือหมู่คณะด้วยอาวุธ อันท าให้เกิดการบาดเจ็บร้ายแรง หรือเสียชีวิต - ประพฤติศีลธรรมอย่างร้ายแรง ฝุาฝืนระเบียบวิทยาลัยฯ และท าให้เสีย ชื่อเสียงของวิทยาลัยฯ อย่างร้ายแรง - มียาเสพติด และยาเสพติดให้โทษ หรือของต้องห้ามที่ผิดกฎหมายทุกชนิดไว้ ในครอบครอง เพื่อวัตถุประสงค์ในการจ าหน่าย - ขาดเรียนติดต่อกันเกิน ๑๕ วัน โดยไม่แจ้งเหตุผลให้วิทยาลัยฯ ทราบ หรือไม่มีเหตุอันสมควร - ดูหมิ่น ก้าวร้าว ครูผู้สอน หรือบุคคลอื่น - เกี่ยงข้องกับการค้าประเวณี - ผลิต จ าหน่าย จ่าย แจก สื่อลามกอนาจาร - แอบอ้างเอาชื่อของวิทยาลัยฯ ไปด าเนินการโดยไม่ได้รับอนุญาตจนเกิดความ เสียหาย - ยินยอมให้บุคคลอื่น ใช้เครื่องแบบ ชุดปฏิบัติงาน ของตนเองเข้ามาใน วิทยาลัยฯ แล้วก่อเหตุทะเลาะวิวาทหรือในทางมิชอบ ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ - เข้าไปในสถานที่ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน นักศึกษา หรือในที่ที่ วิทยาลัยฯ สั่งห้าม - ความอื่นใดซึ่งคณะกรรมการปกครอง เห็นว่าเป็นความผิดสถานหนัก ไม่ว่า จะถูกลงโทษมาก่อนหรือไม่ ๙ / เสพสุรา...


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 215 -๙- - เสพสุรา เสพยาเสพติด ยาเสพติดให้โทษ หรือของมึนเมา ทั้งในและนอก วิทยาลัยฯ - จนอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ ท าให้เสื่อมเสียเกียรติและ ศักดิ์ศรีของวิทยาลัยฯ หรือก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น - กระท าความผิดไม่ว่าในในลักษณะใดก็ตาม แล้วน าภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ไฟล์เสียงไปเผยแพร่ในสื่อออนไลน์ - ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกว่า ๓๐ คะแนน ใน ๑ ภาคเรียน - ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกว่า ๓๐ คะแนน จ านวน ๒ ภาคเรียน - เคยถูกท าทัณฑ์บนมาแล้ว หมวด ๖ หลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษ ----------------------------- ข้อ ๑๓ การลงโทษนักเรียน นักศึกษา ทุกระดับโทษ ให้แจ้งนักเรียน นักศึกษาที่ถูกลงโทษ ทราบเป็นหนังสือทุกครั้ง และให้แจ้งสิทธิ์ในการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษให้ผู้ถูกลงโทษรับทราบ ดังนี้ ๑. ครู หัวหน้างานปกครอง รองผู้อ านวยการ สั่งลงโทษให้อุทธรณ์ ต่อผู้อ านวยการ ภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแต่ที่ได้รับค าสั่งลงโทษ ๒. ผู้อ านวยการ สั่งลงโทษให้อุทธรณ์ต่อเลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา ภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแต่ที่ได้รับค าสั่งลงโทษ ข้อ ๑๔ การสั่งลงโทษนักเรียน นักศึกษา ทุกระดับโทษ ให้บันทึกในแฟูมประวัติประจ าตัว นักเรียน นักศึกษา และให้ด าเนินการ ดังนี้ ๑. การท าทัณฑ์บนให้ท าเป็นหนังสือ และเชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมา บันทึกรับทราบความผิดและรับรองการท าทัณฑ์บนไว้ด้วย ๒. การตัดคะแนนความประพฤติตั้งแต่ ๒๐ คะแนน ขึ้นไปให้เชิญบิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองมารับทราบด้วย ๓. การท ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ให้เป็นไป ตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาก าหนด ข้อ ๑๕ เกณฑ์การพิจารณาลงโทษ ถือปฏิบัติตามระดับคะแนน ดังนี้ ๑. ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๕ หรือ ๑๐ คะแนน ให้ว่ากล่าวตักเตือนเป็นลาย ลักษณ์อักษร ๑๐ / ๒. ถูกตัดคะแนน....


216 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี -๑๐- ๒. ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๑๕ คะแนน ท ากิจกรรม ๘ ชั่วโมง ๓. ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ท ากิจกรรม ๑๐ ชั่วโมง ๔. ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๒๕ คะแนน ท ากิจกรรม ๑๖ ชั่วโมง และท าทัณฑ์บน ๕. ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน ท ากิจกรรม ๒๔ ชั่วโมง และท าทัณฑ์บน ๖. ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน ๓๐ คะแนนใน ๑ ภาคเรียน หรือก่อเหตุตาม ในข้อใด ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเปลี่ยนสถานศึกษา ระยะเวลาในการต้องโทษ และท ากิจกรรมปรับพฤติกรรมในระดับ ๕-๓๐ คะแนน ให้จัดระยะเวลาในการท ากิจกรรมให้เสร็จสิ้นภายใน ๑ ภาคเรียนนั้นๆ หากนักเรียน นักศึกษา กระท าความผิดในสัปดาห์ปลายภาคเรียนนั้นๆ และมี ระยะเวลาไม่เพียงพอในการท ากิจกรรมให้น าเวลาในการท ากิจกรรมนั้นมาปฏิบัติในภาคเรียนต่อไป หากนักเรียน นักศึกษา กระท าความผิดในปลายภาคเรียนสุดท้ายของหลักสูตรจน ไม่มีระยะเวลาท ากิจกรรม งานปกครอง วิทยาลัยฯ อาจจะเสนอต่องานกิจกรรมให้พิจารณาผลกิจกรรมเป็นไม่ ผ่าน จนกว่าจะท ากิจกรรมปรับพฤติกรรมครบระยะเวลาตามเกณฑ์การพิจารณาลงโทษ ข้อ ๑๖ ให้ผู้อ านวยการ เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ (นายขุนทอง จริตพันธ์) ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 217 ตอนที่ 5 หน่วยงานส่งเสริมด้าน กิจกรรมและสวัสดิการ งานกิจกรรม งานองค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย งานครูที่ปรึกษา งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน งานสวัสดิการพยาบาลนักเรียน นักศึกษา งานลูกเสือวิสามัญ งานนักศึกษาวิชาทหาร


218 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี หน่วยงานที่ส่งเสริมด้านกิจกรรมและสวัสดิการ งานกิจกรรม การดำ เนินกิจกรรมของวิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี ดำ เนินการโดย 1. ชมรมวิชาชีพช่างยนต์ 6. ชมรมวิชาชีพช่างก่อสร้าง 2. ชมรมวิชาชีพเครื่องมือกล 7. ชมรมวิชาชีพการบัญชี 3. ชมรมวิชาชีพช่างเชื่อมโลหะ 8. ชมรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 4. ชมรมวิชาชีพช่างไฟฟ้า 9. ชมรมวิชาชีพคหกรรม 5. ชมรมวิชาชีพช่างอิเล็กทรอนิกส์ 10. ชมรมวิชาชีพการตลาด กำ หนดเวลาในการเข้าแถวปฏิบัติกิจกรรม วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 07.40 - 08.00 น. นักเรียน นักศึกษา ปฏิบัติกิจกรรมหน้าเสาธง โดยมีครูเวร ควบคุม กำกับดูแล เมื่อเสร็จ แยกเข้าชั้นเรียน วันพฤหัสบดี เวลา 13.00 - 15.00 น. นักศึกษาซั้น ปวช. 1 เข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ นักศึกษาชั้น ปวช. 2- 3 และ ปวส. 2 เจ้าร่วมกิจกรรมชมรมวิชาชีพ


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 219 องค์การวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ว่าด้วยการจัดการเรียน การสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี งาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ให้ความสำคัญในการที่จะพัฒนาให้นักศึกษาเมื่อสำ เร็จการ ศึกษามีประสบการณ์ทั้งในด้านสาขาอาชีพมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความ สุข มีทักษะความรู้ในด้านการเป็นผู้นำ มีความกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก ในสิ่งที่ถูกต้อง ดีงามและมีความ เป็นประชาธิปไตย วิทยาลัยฯ จึงได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับระบบการเรียนโดยมุ่งเน้นให้ นักศึกษาได้ดำ เนินงานกิจกรรมควบคู่ไปกับการเรียนโดยได้จัดตั้งองค์กรวิชาชีพขึ้น เพื่อให้เป็นตัวกลางในการ ดำ เนินการในการจัดกิจกรรมต่างๆ ในรูปแบบขององค์การโดยกำ หนดการจัดกิจกรรมออกเป็น 2 เป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 ว่าด้วยกิจกรรมการพัฒนาสมาชิกให้เป็น“ คนดีเเละมีความสุข” เป้าหมายที่ 2 ว่าด้วยกิจกรรมการพัฒนาสมาชิกให้เป็น“ คนเก่งและมีความสุข” ในแต่ละเป้าหมายมีแผนพัฒนากิจกรรม 5 แผน ดังนี้ พัฒนาคนดี และคนเก่ง คนดีและมีความสุข 1. แผนเสริมสร้างบุคลิกภาพและความรับผิดชอบต่อสังคม 2. แผนเสริมสร้างสุขภาพ/กีฬาและนันทนาการ 3. แผนพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 4. แผนส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 5. แผนส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คนเก่งและมีความสุข 1. แผนพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. แผนพัฒนาส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. แผนส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการ 4. แผนพัฒนาควานรู้และความสามารถทางวิชาการ 5. แผนพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐานสู่สากล


220 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี งานครูที่ปรึกษา ครูที่ปรึกษา คือ ครูที่ทำ หน้าที่ดูแลนักศึกษาจำ นวนหนึ่งในด้านการเรียน ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านสังคม ตลอดจนตักเตือนและดูแลความประพฤติของนักศึกษาตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษา หน้าที่และความรับผิดชอบ 1. ปฐมนิเทศนักศึกษาในความรับผิดชอบให้รู้และเข้าใจในด้านการเรียนความประพฤติระเบียบวินัยและ ข้อบังคับรวมทั้งสวัสดิการและบริการต่างๆ ของวิทยาลัยฯ ที่นักศึกษามีสิทธิขอรับบริการ 2. ให้ความคิดเห็นและข้อมูลเกี่ยวกับการกำ หนดรายวิชาในการลงทะเบียนเรียน ให้ความเห็นชอบใน การลงทะเบียนรายวิชา การลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 3. ให้ความเห็นชอบในการขอเปลี่ยน ขอเพิ่ม และขอถอนรายวิชาการขอพักการเรียน การโอนย้ายการ ลาออก ขอผ่อนผัน หรือยกเว้นการชำ ระเงินค่าลงทะเบียนรายวิชา 4. ติดตาม แนะนำ ให้คำ ปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การคำ นวณหาค่าระดับคะแนนเฉลี่ย 5. ให้คำ ปรึกษา แนะนำ เกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ 6. ให้คำ ปรึกษา แนะนำ ป้องกัน ตักเตือน ดูแล และปรับปรุงแก้ไขความประพฤติของนักศึกษา เยี่ยม บ้านนักศึกษา และประสานงานและรายงานผลการเรียนและความประพฤติให้ผู้ปกครองทราบ 7. จัดทำ เก็บ รวบรวมประวัติข้อมูลการเรียน คัดกรองเรื่องยาเสพติด และความประพฤติให้คำ ปรึกษา เป็นรายบุคคล 8. ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองพร้อมทั้งรายงานผลการเรียนและพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความรับผิดชอบให้ผู้ปกครองทราบ


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 221 1 สวนที่ 1 กองทุนเงินใหกูยมเพื ื่อการศึกษา กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2538 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2539 ใหเริ่มดำเนินการกองทุนในลักษณะเงินทุนหมุนเวียน ตามนัยมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 ตอมารัฐบาลไดพิจารณาเห็นความสำคัญของกองทุน เงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามากขึ้น จึงไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 เนื่องจากกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 และกองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการบริหารกองทุน เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2549 ที่ออกตามพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 มีการบริหารจัดการและการดำเนินการ ที่มีขอจำกัดและไมสอดคลองกับนโยบายการผลิตกำลังคนและการพัฒนาประเทศ สมควรบูรณาการการบริหาร จัดการและการดำเนินการของทั้งสองกองทุนดังกลาวใหเปนเอกภาพอยูภายใตกฎหมายเดียวกัน และเพิ่มมาตรการ ในการบริหารจัดการกองทุนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงไดมีการตราพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืม เพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 และมีผลใชบังคับ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 มีผลใหกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาเปนหนวยงานของรัฐอยูในการกำกับดูแล ของรัฐมนตรีและมีฐานะเปนนิติบุคคลที่ไมเปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น 1. วัตถุประสงค พระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560 กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุน และสงเสริมการศึกษาดวยการใหเงินกูยืมเพื่อการศึกษาในลักษณะตางๆ ดังนี้ (1) เงินกูยืมเพื่อการศึกษา ใหแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย (2) เงินกูยืมเพื่อการศึกษา ใหแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เปนความตองการหลัก ซึ่งมความชี ัดเจนของการผลิตกำลังคนและมีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ (3) เงินกูยืมเพื่อการศึกษา ใหแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชา ที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ (4) เงินกูยืมเพื่อการศึกษา ใหแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสรางความเปนเลิศ 1 งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน


222 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 9 สวนที่ 3 หลักเกณฑการใหกูยืมเงินของนักเรียนหรือนักศึกษา ที่จะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษา ปการศึกษา 2564 การใหกูยืมเงินเพื่อการศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2564 เปนตนไป กองทุนจะสนับสนุนและสงเสริม การศึกษาดวยการใหเงินกูยืมเพื่อการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาใน 4 ลักษณะ ไดแก (1) ใหการสนับสนุนและ สงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย (2) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแก นักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เปนความตองการหลัก ซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและ มีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ (3) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษา ในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ (4) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษา แกนักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสรางความเปนเลิศ โดยนักเรียนหรือนักศึกษาผูจะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง จะตองมีคุณสมบัติ ทั่วไปและไมม ีลักษณะตองหามรวมทั้งคุณสมบัติเฉพาะอื่นเปนไปตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดดวย 1. ประเภทของผูกูยืมเงิน 1.1 ผูกูยืมเงินรายใหมหมายความวา นักเรียนหรือนักศึกษาผูที่ไมเคยกูยืมเงินกองทุนมากอน 1.2 ผูกูยืมเงินรายเกา หมายความวา นักเรียนหรือนักศึกษาผูที่อยูระหวางการศึกษาและเคย กูยืมเงินกองทุนมากอน ไมวาจะเคยกูยืมเงินจากสถานศึกษาอื่นหรือสถานศึกษาปจจุบันก็ตาม หรือเปนผูที่เคย กูยืมเงินกองทุนมากอนและไดชำระหนี้คืนครบถวนแลว และใหหมายความรวมถึงนักเรียนหรือนักศึกษาที่อยูระหวาง การศึกษาและเคยกูยืมเงินกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และกองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ บริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ และที่แกไขเพิ่มเติม 2. คุณสมบัติทั่วไปและลักษณะตองหามของนักเรียนหรือนักศึกษาผูกูยืมเงินกองทุนทั้ง 4 ลักษณะ นักเรียนหรือนักศึกษาที่จะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาจะตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหาม ดังนี้ 2.1 คุณสมบัติทั่วไป ดังนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) ศึกษาหรือไดรับการตอบรับใหเขาศึกษาอยูในสถานศึกษาที่รวมดำเนินงานกับกองทุน (3) เปนผูขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาในการเขาศึกษาที่สถานศึกษาเพียงแหงเดียวในคราวภาค การศกษาเดึ ียวกัน (4) มีผลการเรียนดีหรือผานเกณฑการว ัดและประเมินผลของสถานศึกษา (5) มีความประพฤติดีไมฝาฝนระเบียบขอบังคับของสถานศึกษาขั้นรายแรงหรือไมเปนผูที่มี ความประพฤติเสื่อมเสีย เชน หมกมุนในการพนัน เสพยาเสพติดใหโทษ ดื่มสุราเปนอาจิณหรือเที่ยวเตรในสถาน บันเทิงเริงรมยเปนอาจิณ เปนตน   9 9 สวนที่ 3 หลักเกณฑการใหกูยืมเงินของนักเรียนหรือนักศึกษา ที่จะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษา ปการศึกษา 2564 การใหกูยืมเงินเพื่อการศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2564 เปนตนไป กองทุนจะสนับสนุนและสงเสริม การศึกษาดวยการใหเงินกูยืมเพื่อการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาใน 4 ลักษณะ ไดแก (1) ใหการสนับสนุนและ สงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย (2) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแก นักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เปนความตองการหลัก ซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและ มีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ (3) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษา ในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ (4) ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษา แกนักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสรางความเปนเลิศ โดยนักเรียนหรือนักศึกษาผูจะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง จะตองมีคุณสมบัติ ทั่วไปและไมม ีลักษณะตองหามรวมทั้งคุณสมบัติเฉพาะอื่นเปนไปตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดดวย 1. ประเภทของผูกูยืมเงิน 1.1 ผูกูยืมเงินรายใหมหมายความวา นักเรียนหรือนักศึกษาผูที่ไมเคยกูยืมเงินกองทุนมากอน 1.2 ผูกูยืมเงินรายเกา หมายความวา นักเรียนหรือนักศึกษาผูที่อยูระหวางการศึกษาและเคย กูยืมเงินกองทุนมากอน ไมวาจะเคยกูยืมเงินจากสถานศึกษาอื่นหรือสถานศึกษาปจจุบันก็ตาม หรือเปนผูที่เคย กูยืมเงินกองทุนมากอนและไดชำระหนี้คืนครบถวนแลว และใหหมายความรวมถึงนักเรียนหรือนักศึกษาที่อยูระหวาง การศึกษาและเคยกูยืมเงินกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และกองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายไดในอนาคตตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการ บริหารกองทุนเพื่อการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙ และที่แกไขเพิ่มเติม 2. คุณสมบัติทั่วไปและลักษณะตองหามของนักเรียนหรือนักศึกษาผูกูยืมเงินกองทุนทั้ง 4 ลักษณะ นักเรียนหรือนักศึกษาที่จะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาจะตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหาม ดังนี้ 2.1 คุณสมบัติทั่วไป ดังนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) ศึกษาหรือไดรับการตอบรับใหเขาศึกษาอยูในสถานศึกษาที่รวมดำเนินงานกับกองทุน (3) เปนผูขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาในการเขาศึกษาที่สถานศึกษาเพียงแหงเดียวในคราวภาค การศกษาเดึ ียวกัน (4) มีผลการเรียนดีหรือผานเกณฑการว ัดและประเมินผลของสถานศึกษา (5) มีความประพฤติดีไมฝาฝนระเบียบขอบังคับของสถานศึกษาขั้นรายแรงหรือไมเปนผูที่มี ความประพฤติเสื่อมเสีย เชน หมกมุนในการพนัน เสพยาเสพติดใหโทษ ดื่มสุราเปนอาจิณหรือเที่ยวเตรในสถาน บันเทิงเริงรมยเปนอาจิณ เปนตน   9


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 223 10 2.2 ลักษณะตองหาม ดังนี้ (1) เปนผูสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาใดสาขาหนึ่งมากอน เวนแตจะไดกำหนด เปนอยางอื่นในคุณสมบัติเฉพาะสำหรับการใหเงินกูยืมเพื่อการศึกษาลักษณะหนึ่งลักษณะใด (2) เปนผูปฏิบัติงานและรับเงินเดือนหรือคาจางประจำในหนวยงานของรัฐหรือเอกชนในลักษณะ เต็มเวลา เวนแตจะไดกำหนดเปนอยางอื่นในคุณสมบัติเฉพาะสำหรับการใหเงินกูยืมเพื่อการศึกษาลักษณะหนึ่ง ลักษณะใด (3) เปนบุคคลลมละลาย (4) เปนหรือเคยเปนผูไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับ ความผิดที่ไดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) เปนหรือเคยเปนผูที่ผิดนัดชำระหนี้กับกองทุน เวนแตไดชำระหนี้ดังกลาวครบถวนแลว นักเรียนหรือนักศึกษาผูจะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษาทั้ง 4 ลักษณะ นอกจากจะตองมีคุณสมบัติทั่วไป และไมมีลักษณะตองหามตามที่กำหนดในขอ 2.1 และ 2.2 แลว จะตองมีคุณสมบัติเฉพาะเปนไปตามที่ คณะกรรมการกำหนด สำหรับการกูยืมเงินเพื่อการศึกษาในลักษณะนั้นๆ ดวย 3. คุณสมบัตเฉพาะของนิ ักเรียนหรือนักศึกษาผกู ูยืมเงินกองทุนทั้ง 4 ลักษณะ มีดังตอไปนี้ ลักษณะที่ 1 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียน คาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และคาครองชีพ (1) เปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณา จากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครอง มิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณีผูขอ กูยืมเงินไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด (2) เปนผูที่มีอายุไมเกิน 30 ปบริบูรณในปการศึกษาที่ยื่นคำขอกูยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สายสามัญ/สายอาชีพ) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทยบเที า (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด 10


224 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 11 (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคม หรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงนแติ ละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนช  ั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง ลักษณะที่ 2 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชา ที่เปนความตองการหลัก ซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและมีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียน และคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอกูยืมเงินเพื่อเปน คาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดตอครอบครัวของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (5) (1) เปนผูที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เปนความตองการหลักซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและมีความ จำเปนตอการพัฒนาประเทศตามประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (2) เปนผูที่มีอายุไมเกิน 30 ปบริบูรณในปการศึกษาที่ยื่นคำขอกูยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 11


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 225 12 (5) นักเรียนหรือนักศึกษา หากประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพจะตองเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัว ไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณาจากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครองมิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณีผูขอ กยูืมเงิน ไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด ลักษณะที่ 3 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชา ขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียนและคาใชจาย ที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอกูยืมเงินเพื่อเปนคาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดตอครอบครัว ของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (5) (1) เปนผูที่ศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ ตามประกาศ คณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (2) เปนผูที่มีอายุไมเกิน 30 ปบริบูรณในปการศึกษาทยี่ื่นคำขอกูยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 12 11 (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคม หรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงนแติ ละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนช  ั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง ลักษณะที่ 2 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชา ที่เปนความตองการหลัก ซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและมีความจำเปนตอการพัฒนาประเทศ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียน และคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอกูยืมเงินเพื่อเปน คาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดตอครอบครัวของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (5) (1) เปนผูที่ศึกษาในสาขาวิชาที่เปนความตองการหลักซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตกำลังคนและมีความ จำเปนตอการพัฒนาประเทศตามประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (2) เปนผูที่มีอายุไมเกิน 30 ปบริบูรณในปการศึกษาที่ยื่นคำขอกูยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 11


226 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 13 (5) นักเรียนหรือนักศึกษา หากประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพจะตองเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัว ไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณาจากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครองมิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณี ผูขอกูยืมเงนิ ไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด ลักษณะที่ 4 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสราง ความเปนเลิศ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียน และคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอ กูยืมเงนเพิ ื่อเปนคาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดต อครอบครัวของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (6) (1) เปนผูที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา โดยมีเกรดเฉลี่ยในระดับปริญญาตรี หรือเทยบเที าไมตำกว่า 3.00 (2) เปนผูที่มอายีุไมเกิน 35 ปบริบูรณในปการศึกษาที่ยนคำขอก ืู่ยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูปฏิบัติงานและรับเงินเดือนหรือคาจางประจำในหนวยงานของรัฐหรือเอกชน ในลักษณะ เต็มเวลาหรือไมก ็ได (4) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (5) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนช  ั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 13 12 (5) นักเรียนหรือนักศึกษา หากประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพจะตองเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัว ไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณาจากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครองมิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณีผูขอ กยูืมเงิน ไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด ลักษณะที่ 3 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชา ขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียนและคาใชจาย ที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอกูยืมเงินเพื่อเปนคาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดตอครอบครัว ของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (5) (1) เปนผูที่ศึกษาในสาขาวิชาขาดแคลนหรือสาขาวิชาที่กองทุนมุงสงเสริมเปนพิเศษ ตามประกาศ คณะกรรมการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (2) เปนผูที่มีอายุไมเกิน 30 ปบริบูรณในปการศึกษาทยี่ื่นคำขอกูยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (4) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 12


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 227 13 (5) นักเรียนหรือนักศึกษา หากประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพจะตองเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัว ไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณาจากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครองมิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณี ผูขอกูยืมเงนิ ไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด ลักษณะที่ 4 ใหการสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่เรียนดีเพื่อสราง ความเปนเลิศ กองทุนจะใหกูยืมเงินเพื่อเปนคาเลาเรียน และคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา สำหรับการขอ กูยืมเงนเพิ ื่อเปนคาครองชีพ กองทุนจะพิจารณาจากรายไดต อครอบครัวของผูกูยืมเงินตามที่กำหนดในขอ (6) (1) เปนผูที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา โดยมีเกรดเฉลี่ยในระดับปริญญาตรี หรือเทยบเที าไมตำกว่า 3.00 (2) เปนผูที่มอายีุไมเกิน 35 ปบริบูรณในปการศึกษาที่ยนคำขอก ืู่ยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เปนผูปฏิบัติงานและรับเงินเดือนหรือคาจางประจำในหนวยงานของรัฐหรือเอกชน ในลักษณะ เต็มเวลาหรือไมก ็ได (4) เปนผูที่เขาศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด (5) เปนผูที่ทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะในระหวางปการศึกษากอนหนาปการศึกษาที่จะขอ กูยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเขารวมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะที่นาเชื่อถือตามจำนวน ชั่วโมงที่กำหนดสำหรับผูขอกูยืมเงินแตละกลุม ดังตอไปนี้ (ก) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายใหม ไมกำหนดจำนวนช  ั่วโมง (ข) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เทคนิค (ปวท.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง (ค) กรณีเปนผูกูยืมเงินรายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา กำหนดจำนวนไมนอยกวา สามสิบหกชั่วโมง การทำประโยชนตอสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบำเพ็ญตนใหเปนประโยชน ตอชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อชวยขัดเกลาจิตใจใหมีความเมตตากรุณามีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพื่อชวยสรางสรรคสังคมหรือสาธารณะใหอยูรวมกันอยางมีความสุข ซึ่งจะตองไมเปนสวนหนึ่ง ของการเรียนการสอนและไมไดรับคาตอบแทนในลักษณะการจาง 13 14 (6) นักเรียนหรือนักศึกษา หากประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพจะตองเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัว ไมเกินสามแสนหกหมื่นบาทตอปทั้งนี้รายไดตอครอบครัวใหพิจารณาจากหลักเกณฑขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของบิดามารดา ในกรณีที่ บิดามารดาเปนผูใชอำนาจปกครอง (ข) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของผูปกครอง ในกรณีที่ ผูใชอำนาจปกครองมิใชบิดามารดา (ค) รายไดรวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผูขอกูยืมเงิน รวมกับรายไดของคูสมรส ในกรณี ผูขอกูยืมเงิน ไดทำการสมรสแลว หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบวานักเรียนหรือนักศึกษาเปนผูที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน สามแสนหกหมื่นบาทตอปหรือไม ใหเปนไปตามที่กองทุนกำหนด 14


228 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 15 ภาพรวมหลักเกณฑการใหกูยมเงื ินของนักเรียนหรือนักศึกษา ที่จะขอกูยืมเงินเพื่อการศึกษา ประจำปการศึกษา 2564 หลักเกณฑการใหกูยืมเงิน ลักษณะที่ 1 ขาดแคลน ทุนทรัพย ลักษณะที่ 2 ศึกษาในสาขาวชาทิ ี่ เปนความตองการ หลักฯ ลักษณะที่ 3 ศึกษาในสาขาวิชา ขาดแคลนฯ ลักษณะที่ 4 เรียนดีเพื่อสราง ความเปนเล ิศ คุณสมบัติทั่วไป - มีสัญชาติไทย √ √ √ √ - ศึกษาหรือไดรับการตอบรับใหเขาศึกษาอยูใน สถานศึกษาที่เขารวมดำเนินงานกับกองทุน √ √ √ √ - เขาศึกษาที่สถานศึกษาเพียงแหงเดียว ในภาคการศึกษาเดียวกัน √ √ √ √ - มีผลการเรียนดีหรือผานเกณฑการวัด และประเมินผลของสถานศึกษา √ √ √ เกรดเฉลี่ยในระดับ ปริญญาตรีหรอเทื ียบเทา ไมต่ำกวา 3.00 - มีความประพฤติดีไมฝาฝนระเบียบขอบังคับ ของสถานศึกษาขั้นรายแรง √ √ √ √ ลักษณะตองหาม - เปนผูสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีมากอน √ √ √ - - เปนผูปฏิบัติงานและรับเงินเดือนหรือคาจาง ประจำลักษณะเต็มเวลา √ √ √ - - เปนบุคคลลมละลาย √ √ √ √ - เปนหรือเคยเปนผูไดรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา ถึงที่สุดใหจำคุกเวนแตเปนโทษโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ √ √ √ √ - เปนหรือเคยเปนผูที่ผิดนัดชำระหนี้กับกองทุน เวนแตจะได  ชำระหนี้ดังกลาวครบถวนแลว √ √ √ √ คุณสมบัติเฉพาะ - อายุ (ปการศึกษาที่ยื่นขอกูยืมครั้งแรก) ไมเกิน 30 ปบริบูรณ ไมเกิน 30 ปบริบูรณ ไมเกิน 30 ปบริบูรณ ไมเกิน 35 ปบริบูรณ - ระดับการศึกษา มัธยมปลาย ปวช. ปวท./ปวส. อนุปรญญาิ /ปริญญาตรี ปวช. ปวท./ปวส. อนุปริญญา/ปริญญาตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท หรือเที่ยบเทา - หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา เปนไปตามประกาศที่คณะกรรมการกองทุนกำหนด - ประสงคจะกูยืมเงินคาครองชีพ ตองมีรายไดตอครอบครัวไมเกิน 360,000 บาทตอป - ทำประโยชนตอส ังคม/สาธารณะ - รายใหมหรือรายเกาเปลี่ยนระดับที่ศึกษาในระดับ ปวท./ปวส.อนุปริญญา/ปริญญาตรี/ ประกาศนียบัตรบัณฑิต/ปริญญาโท ไมกำหนดจำนวนชั่วโมง - รายเกาเลื่อนชั้นปทุกระดับการศึกษา ไมนอยกวา 36 ชั่วโมง ระยะเวลาและอัตราดอกเบี้ย - ระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ป 2 ป 2 ป 1 ป - อัตราดอกเบี้ย 1% ตอป 1% ตอปหรือ 0.75% ตอป*  1% ตอปหรือ 0.5% ตอป*  - ระยะเวลาคืนเงิน 15 ป 15 ป 15 ป 10 ป * สำหรับผูกูยืมเงินที่มีรายไดตอครอบครัวไมเกิน 360,000 บาทตอปสามารถกยูืมเงินคาครองชีพและไดรับลดอัตราดอกเบี้ยตามที่กองทุนกำหนด 15


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 229


230 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 231


232 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี งานสวัสดิการพยาบาลนักเรียน นักศึกษา งานสวัสดิการพยาบาล เปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 8.30 - 16.30 น. โดยมีเจ้าหน้าที่บริหารในการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นอำ นวยความสะดวกให้ในขณะนักศึกษาเข้านอนพัก และติดต่อในการเบิกค่าสินไหมให้กับ นักศึกษาที่ประสบอุบัติโดยนักศึกษา ต้องปฏิบัติตามดังนี้ ระเบียบปฏิบัติในการใช้บริการ 1. แจ้งอาการป่วยให้ครู/เจ้าหน้าที่ทราบ 2. ห้ามหยิบยาเองและรับยาแทนผู้อื่น 3. ลงบันทึกในสมุดการใช้บริการทุกครั้ง 4. การเข้านอนต้องได้รับการอนุญาตจากครูผู้สอน/ครูที่ปรึกษา ก่อนเข้านอนพัก 5. ห้ามนำอาหารและเครื่องดื่มเข้ามารับประทานในห้อง 6. เมื่อมีอาการแพ้ยาหรือมีประวัติการแพ้ต้องแจ้งให้ทราบทุกครั้ง 7. หากอาการรุนแรงจะส่งต่อโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด การตรวจสุขภาพและสารเสพติด นักศึกษาจะได้รับการตรวจสุขภาพและสารเสพติดตามที่วิทยาลัยฯ จัดหาและตามกำ หนดให้ปีละ 1 ครั้ง โดยจะได้รับทราบผลการตรวจและให้เป็นประวัติด้านสุขภาพของนักศึกษาในปีที่ได้รับการตรวจหากไม่เข้า รับการตรวจตามที่กำ หนดนักศึกษาจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการตรวจเอง และนำผลการตรวจมาแจ้งให้ทางวิทยา ลัยฯ ทราบ การประกันอุบัติเหตุ การทำ ประกันอุบัติเหตุของนักศึกษาได้ดำ เนินการคัดเลือกบริษัทประกัน โดยคณะกรรมการของวิทยา ลัยฯ คุ้มครองความรับผิดตามกฎหมาย โดยชดใช้ค่าสินไหมตามเงื่อนไข และข้อตกลงตามสัญญานักศึกษาจะ ต้องนำ หลักฐานมายื่นกับทาง งานสวัสดิการเพื่อประกอบการเบิก ดังนี้ 1. ใบรับรองแพทย์ที่ระบุว่าเกิดจากอุบัติเหตุ 2. ใบเสร็จรับเงิน 3. สำ เนาบัตรประจำตัวประชาชน นศ 1 ฉบับ 4. สำ เนาหน้าบุ๊คแบงคฺ์1 ฉบับ


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 233 งานลูกเสือวิสามัญ เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ เป็นการพัฒนาองค์รวมของความเป็นมนุษย์ให้ครบทุกด้านทั้งร่างกายสติปัญญา อารมณ์และสังคมเป็นผู้มีศีลธรรมจริยธรรมและมีระเบียบวินัยแนวทางการ จัดการเรียนการสอนเป็นไปตามนโยบายขององค์การลูกเสือโลกเพื่อให้เยาวชน ไทยสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นพลเมืองดีของ สังคมและประเทศชาติ การเรียนการสอนและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมในแผนการเรียนที่บังคับสำ หรับนักศึกษาชั้น ปวช.1 ทุกคนต้องเข้าร่วมกิจ กรรมเเละมีเวลาปฏิบัติกิจกรรมไม่น้อยกว่า 60 % นักศึกษาต้องเข้าค่ายพักแรมซึ่งจัดขึ้นปีละ 1 ครั้ง จึงจะถือว่าผ่านกิจกรรม และได้มีการจัดตั้งลูกเสือพี่ เลี้ยงขึ้นเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมในระหว่างภาคเรียน


234 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี งานนักศึกษาวิชาทหาร คุณสมบัติคุณลักษณะของผู้มีสิทธิสมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหารดังต่อไปนี้ 1. เป็นชายหรือหญิงและมีสัญชาติไทย 2. มีอายุไม่เกิน 22 ปีบริบูรณ์โดยให้นับอายุตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารสำ หรับผู้ที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครองตามกฎหมาย 3. สำ หรับผู้ที่มีอายุ21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปต้องไม่เป็นผู้ที่ไม่ไปแสดงตนเพื่อรับหมายเรียกที่อำ เภอท้องที่ซึ่ง เป็นภูมิลำ เนาทหารของตนตามมาตรา25 และ/หรือต้องไม่เป็นผู้ที่ไม่มาให้คณะกรรมการตรวจเลือกทำการตรวจ เลือกทหารกองเกินเข้ารับราชการทหารกองประจำการตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 4. สำ เร็จการศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หรือเทียบเท่าขึ้นไปและมีผลการศึกษาของชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 หรือเทียบเท่าตั้งแต่ 1.0 ขึ้นไป 5.กำลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาที่หน่วยบัญชาการรักษาดินแดนเปิดการฝึกวิชาทหารเว้นแต่ผู้สำ เร็จการ ศึกษาตั้งแต่ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าขึ้นไปหรือสำ เร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงหรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและสำ เร็จการฝึกวิชาทหารไม่ต่ำ ชั้นปีที่5 แล้วและมีอายุไม่เกิน 26 ปีบริบูรณ์ตาม กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารจะรายงานตัวเข้ารับการฝึกวิชาทหารต่อให้จบหลักสูตรการฝึกวิชาทหารตาม ที่กระทรวงกลาโหมกำ หนดได้ 6. ไม่พิการทุพพลภาพหรือมีโรคซึ่งไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการ ทหาร 7. ไม่เป็นบุคคลซึ่งไม่มีคุณวุฒิที่จะเป็นทหารได้เฉพาะบางท้องที่ตามกฎหมายที่ออกตามความในมาตรา 13 (3)แห่งพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 8. มีขนาดรอบตัว น้ ำ หนัก และความสูงตามส่วนสัมพันธ์ดังนี้ คู่มือนักเรียนนักศึกษา ประจ�าปีการศึกษา 2562 วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 178 งำนนักศึกษำวิชำทหำร คุณสมบัติคุณลักษณะของผู้มีสิทธิสมัครเข้ารับการฝึกวิชาทหารดังต่อไปนี้ 1. เป็นชายหรือหญิงและมีสัญชาติใทย 2. มีอายุไม่เกิน 22 ปีบริบูรณ์โดยให้นับอายุตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารส�าหรับผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครองตามกฎหมาย 3.ส�าหรับผู้ที่มีอายุ21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปต้องไม่เป็นผู้ที่ไม่ไปแสดงตนเพื่อรับหมายเรียกที่อ�าเภอท้องที่ซึ่งเป็นภูมิล�าเนา ทหารของตนตามมาตรา 25 และ/หรือต้องไม่เป็นผู้ที่ไม่มาให้คณะกรรมการตรวจเลือกท�าการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ารับ ราชการทหารกองประจ�าการตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 4. ส�าเร็จการศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หรือเทียบเท่าขึ้นใปและมีผลการศีกษาของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือ เทียบเท่าตั้งแต่1.0 ขี้นไป 5. ก�าลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาที่หน่วยบัญชาการรักษาดินแดนเปิดการฝึกวิชาทหารเว้นแต่ผู้ส�าเร็จการศึกษาตั้งแต่ ระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าขึ้นไปหรือส�าเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น สูงและส�าเร็จการฝึกวิชาทหารไม่ต�่าชั้นปีที่ 5 แล้วและมีอายุไม่เกิน 26 ปีบริบูรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารจะ รายงานตัวเข้ารับการฝึกวิชาทหารต่อให้จบหลักสูตรการฝึกวิชาทหารตามที่กระทรวงกลาโหมก�าหนดได้ 6. ไม่พิการทุพพลภาพหรือมีโรคซึ่งไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 7. ไม่เป็นบุคคลซึ่งไม่มีคุณวุฒิที่จะเป็นทหารได้เฉพาะบางท้องที่ตามกฎหมายที่ออกตามความในมาตรา 13 (3) แห่งพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 8. มีขนาดรอบตัว น�้าหนัก และความสูงตามส่วนสัมพันธ์ดังนี้ 4. ส ำเร็จกำรศึกษำตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษำปีที่3 หรือเทียบเท่ำขึ้นใปและมีผลกำรศีกษำของชั้นมัธยมศึกษำ ปีที่3 หรือเทียบเท่ำตั้งแต่1.0ขี้นไป 5. ก ำลังศึกษำอยู่ในสถำนศึกษำที่หน่วยบัญชำกำรรักษำดินแดนเปิดกำรฝึกวิชำทหำรเว้นแต่ผู้ส ำเร็จ กำรศึกษำตั้งแต่ระดับอนุปริญญำหรือเทียบเท่ำขึ้นไปหรือส ำเร็จกำรศึกษำประกำศนียบัตรวิชำกำรศึกษำชั้นสูง หรือประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูงและส ำเร็จกำรฝึกวิชำทหำรไม่ต่ ำชั้นปีที่5แล้วและมีอำยุไม่เกิน 26 ปีบริบูรณ์ ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรรับรำชกำรทหำรจะรำยงำนตัวเข้ำรับกำรฝึกวิชำทหำรต่อให้จบหลักสูตรกำรฝึกวิชำ ทหำรตำมที่กระทรวงกลำโหมก ำหนดได้ 6. ใม่พิกำรทุพพลภำพหรือมีโรคซึ่งไม่สำมำรถจะรับรำชกำรทหำรได้ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรรับ รำชกำรทหำร 7. ไม่เป็นบุคคลซึ่งไม่มีคุณวุฒิที่จะเป็นทหำรได้เฉพำะบำงท้องที่ตำมกฎหมำยที่ออกตำมควำมใน มำตรำ 13 (3) แห่งพระรำชบัญญัติรับรำชกำรทหำร พ.ศ. 2497 8. มีขนำดรอบตัว น้ ำหนักและควำมสูงตำมส่วนสัมพันธ์ดังนี้ อายุ(ปี) บริบูรณ์ ชาย หญิง ความขยายของอก น ้าหนัก ความสูง น ้าหนัก ความสูง หายใจเข้า หายใจออก (กก.) (ซม. ) (กก.) (ซม.) 15 75 72 42 154 41 148 16 76 73 44 156 42 149 17 77 74 46 158 43 150 18 78 75 48 160 44 151 19-22 79 76 49 161 45 152 หลักฐำนกำรสมัครเป็นนักศึกษำวิชำทหำรมีดังนี้ 1. ใบสมัครเป็นนักศึกษำวิชำทหำร (แบบรด.1) ทบ.349 -001 ให้รับจำกสถำนศึกษำวิชำทหำรที่ก ำลัง ศึกษำอยู่ปัจจุบันโดยนักศึกษำที่ยื่นควำมจ ำนงขอสมัครเข้ำเป็นนักศึกษำวิชำทหำรชั้นปีที่1 ต้องกรอกข้อควำม ให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์และลงลำยมือชื่อด้วยตนเอง 2. ในช่องค ำรับรองของสถำนศึกษำวิชำทหำรในใบสมัคร (แบบ รด.1) ต้องให้หัวหน้ำสถำนศึกษำวิชำ ทหำรหรือผู้ที่ได้รับมอบอ ำนำจเป็นผู้ลงนำมรับรองควำมประพฤติโดยรับรองว่ำจะปกครองให้นักศึกษำวิชำ ทหำรอยู่ในระเบียบวินัยอันดีและจะให้มีควำมสะดวกในกำรฝึกวิชำทหำรของผู้สมัครตำมที่กองทัพบกก ำหนด ตลอดจนรับรองกำรกรอกข้อควำมในใบสมัครว่ำเป็นควำมจริงด้วยตนเองและลงลำยมือชื่อพร้อมทั้งประทับตรำ ของสถำนศึกษำวิชำทหำรก ำกับไว้


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 235 หลักฐานการสมัครเป็นนักศึกษาวิชาทหารมีดังนี้ 1. ใบสมัครเป็นนักศึกษาวิชาทหาร (แบบรด.1) ทบ.349 -001 ให้รับจากสถานศึกษาวิชาทหารที่กำลัง ศึกษาอยู่ปัจจุบันโดยนักศึกษาที่ยื่นความจำ นงขอสมัครเข้าเป็นนักศึกษาวิชาทหารชั้นปีที่ 1 ต้องกรอกข้อความ ให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์และลงลายมือชื่อด้วยตนเอง 2. ในช่องคำ รับรองของสถานศึกษาวิชาทหารในใบสมัคร (แบบ รด.1) ต้องให้หัวหน้าสถานศึกษาวิชา ทหารหรือผู้ที่ได้รับมอบอำ นาจเป็นผู้ลงนามรับรองความประพฤติโดยรับรองว่าจะปกครองให้นักศึกษาวิชาทหาร อยู่ในระเบียบวินัยอันดีและจะให้มีความสะดวกในการฝึกวิชาทหารของผู้สมัครตามที่กองทัพบกกำ หนดตลอดจน รับรองการกรอกข้อความในใบสมัครว่าเป็นความจริงด้วยตนเองและลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตราของสถาน ศึกษาวิชาทหารกำกับไว้ 3. บิดามารดาหรือผู้ปกครองตามกฎหมายจะต้องลงนามยินยอมในใบสมัคร (แบบ รด.1) ให้สมัครเข้า ฝึกวิชาทหารได้โดยจะต้องลงนามด้วยตนเองและผู้อื่นจะลงนามแทนมิได้ 4. รูปถ่ายสีขนาด3 x 4 เซนติเมตรแต่งเครื่องแบบนักศึกษาหน้าตรงไม่สวมหมวกไม่สวมแว่นตา จำ นวน 1 รูป 5. หลักฐานแสดงผลการศึกษาสำ เร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หรือเทียบเท่าซึงมีผลการศึกษาไม่ต่ำกว่า ที่ กองทัพบก กำ หนดโดยหัวหน้าสถานศึกษาวิชาทหารหรือผู้ที่ได้รับมอบอำ นาจให้เป็นผู้รับรองคะแนนเฉลี่ยในหลักฐาน 6. สำ เนาทะเบียนบ้านปัจจุบันของผู้สมัครและบิดา - มารดาหรือถ่ายเอกสารจากฉบับเจ้าบ้านคนละ 1 ฉบับโดยมีเจ้าบ้านหรือผู้แทนสถานศึกษาวิชาทหารเป็นผู้รับรองสำ เนาถูกต้อง 7. สำ เนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุล (ถ้ามี) จานวน 1 ฉบับ 8. ใบรับรองแพทย์ที่มีใบอนุญาตประกอบโรคศิลป์รับรองว่ามีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงซึ่งออกให้ไม่เกิน 30 วัน ก่อนวันรับสมัคร 9. ผู้สมัครที่มีอายุตั้งแต่17 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (นับอายุตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร) ต้องนำ สำ เนาใบสำคัญ ทหารกองเกิน (แบบ สด. 9) มาแสดงเป็นหลักฐานประกอบด้วย 10. ผู้สมัครที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ (นับอายุตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร) ต้องนำ สำ เนา หมายเรียกเข้ารับ ราชการทหาร (แบบ สด.35) มาแสดงเป็นหลักฐานประกอบเพิ่มเติมจากข้อ 9 ด้วย 11. ผู้สมัครที่มีอายุตั้งแต่ 21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป (นับอายุตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร) ต้อง นำ สำ เนาใบรับรองผลการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ารับราชการทหารกองประจำการ การพ้นสภาพเป็นนักศึกษาวิชาทหาร การพ้นสภาพเป็นนักศึกษาวิชาทหาร หมายถึงการพ้นจากการฝึกวิชาทหารมีดังนี้ 1. การพ้นสภาพตามปกติโดยอัตโนมัติเนื่องจาก - ตาย - ลาออกจากการเป็นนักศึกษาวิชาทหาร


236 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี - สำ เร็จการฝึกวิชาทหารชั้นสูงสุดตามหลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมกำ หนด - พ้นหรือออกจากสถานศึกษาวิชาทหารที่กำลังศึกษาอยู่ - ไม่มารายงานตัวเข้าฝึกวิชาทหารเลื่อนชั้น ซ้ำ ชั้นหรือไม่ขอรอรับสิทธิตามวาระที่ศูนย์การกำลัง สำ รองมณฑลทหารบกและจังหวัดทหารบกกำ หนด - อายุเกิน 26 ปีบริบูรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 2. การพ้นสภาพโดยถูกถอนสภาพเนื่องจาก -อยู่ในระหว่างการฝึกวิชาทหารแต่ปรากฏภายหลังว่าข้อความในใบสมัครหรือหลักฐานประกอบ การสมัคร และการรายงานตัวไม่เป็นความจริงหรือขาดคุณสมบัติตามที่กำ หนดหรือการสมัครและการรายงานตัว มิได้เป็นไปตามที่กำ หนด ให้ถอนสภาพตั้งแต่วันที่ประกาศการเป็นนักศึกษาวิชาทหาร - มีความผิดถูกสถานศึกษาวิชาทหารไล่ออกหรือต้องคำ พิพากษาของศาลให้จำคุก - ไม่ได้เลื่อนชั้นการฝึกวิชาทหารในชั้นเดียวกัน 2 ปีการศึกษาติดต่อกันเนื่องจากสอบตกหรือ ไม่มีสิทธิสอบ - ถูกตัดคะแนนความประพฤติประจำ ปี100 คะแนน - ไม่ได้รับการฝึกวิชาทหารไม่ว่ากรณีใดก็ตามเป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน 3. การพ้นสภาพตามที่ปรากฏในข้อ 4 ผู้พ้นสภาพมีสิทธิที่จะรายงานตัวเข้าฝึกวิชาทหารต่อไปได้อีกโดย ต้องปฏิบัติตามระเบียบฯ ในการรายงานตัวเข้าฝึกวิชาทหารยังสถานศึกษาวิชาทหารที่ตนศึกษาอยู่ใหม่ตามที่ กำ หนดในข้อ 8


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 237 ตอนที่ 6 ประมวลภาพกิจกรรม


238 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 239


240 คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี


คู่มือนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา 2566 / วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี 241


Click to View FlipBook Version