The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงประมาณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ซุน โงกุน, 2020-09-02 03:04:58

คู่มือบริหารงประมาณ

คู่มือบริหารงประมาณ

2

การบริหารงบประมาณ

การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนนติ ิบุคคล มวี ัตถุประสงค์เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษาอยา่ งเปน็
อิสระ คล่องตัว สามารถบริหารการจดั การศึกษาได้สะดวด รวดเรว็ มีประสิทธิภาพและมคี วามรบั ผิดชอบ

โรงเรยี นนติ ิบุคคล นอกจากมีอานาจหนา้ ทีต่ ามวตั ถปุ ระสงค์ข้างต้นแล้ว ยังมอี านาจหน้าท่ีตามท่ีกฏระเบยี บ
กระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การและขอบเขตการปฏิบตั หิ น้าที่ของโรงเรยี นขั้นพ้ืนฐานท่เี ปน็ นิติบุคคล
สงั กดั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา พ.ศ. 2546 ลงวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ จึงกาหนดให้
โรงเรียนนติ ิบคุ คลมีอานาจหน้าที่ ดงั นี้

1. ใหผ้ ้อู านวยการโรงเรยี นเป็นผู้แทนนติ ิบคุ คลในกิจการท่วั ไปของโรงเรยี นทเ่ี กย่ี วกบั บุคคลภายนอก
2. ให้โรงเรยี นมอี านาจปกครอง ดูแล บารุง รกั ษา ใชแ้ ละจัดหาผลประโยชนจ์ ากทรัพย์สินทีม่ ผี ู้บรจิ าคให้

เวน้ แต่การจาหน้ายอสังหาริมทรพั ย์ท่ีมผี ้บู รจิ าคให้โรงเรียน ต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรยี น
3. ให้โรงเรยี นจดทะเบียนลิขสทิ ธ์หิ รอื ดาเนนิ การทางทะเบียนทรพั ยส์ นิ ต่างๆ ท่ีมีผู้อทุ ิศให้หรอื โครงการซ้ือ
แลกเปลีย่ นจากรายไดข้ องสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธ์ิของสถานศกึ ษา
4. กรณโี รงเรยี นดาเนินคดีเป็นผ้ฟู อ้ งร้องหรือถูกฟ้องร้อง ผูบ้ ริหารจะต้องดาเนินคดีแทนสถานศกึ ษาหรือถกู
ฟอ้ งร่วมกบั สถานศึกษา ถ้าถูกฟ้องโดยมไิ ดอ้ ยู่ในการปฏิบตั ิราชการ ในกรอบอานาจ ผูบ้ ริหารตอ้ ง
รบั ผดิ ชอบเป็นการเฉพาะตัว
5. โรงเรียนจดั ทางบดลุ ประจาปีและรายงานสาธารณะทุกส้ินปงี บประมาณ

3

งบประมาณท่ีสถานศึกษานามาใชจ้ ่าย

1. แนวคิด
การบริหารงานงบประมาณของสถานศกึ ษามุ่งเน้นความเป็นอสิ ระ ในการบริหารจดั การมคี วามคล่องตวั
โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลักการบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิและบริหารงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงาน ให้มกี ารจัดหา
ผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ ทิ ธิ์ของสถานศกึ ษา รวมทัง้ จดั หารายไดจ้ ากบริการมาใช้บริหารจัดการเพื่อประโยชนท์ าง
การศึกษา สง่ ผลใหเ้ กิดคุณภาพท่ดี ีขึ้นตอ่ ผูเ้ รยี น

2. วตั ถปุ ระสงค์
เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาบรหิ ารงานด้านงบประมาณมีความเป็นอิสระ คล่องตัว โปรง่ ใสตรวจสอบได้
2.1 เพ่อื ให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์เปน็ ไปตามข้อตกลงการให้บริการ
2.2 เพอ่ื ให้สถานศึกษาสามารถบริหารจดั การทรัพยากรที่ได้อย่างเพียงพอและประสทิ ธิภาพ

3. ขอบข่ายภารกจิ
3.1 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่เี ก่ยี วข้อง
1. พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบบั ที่ 2)
2. พระราชบญั ญัติบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
3. ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
5. แนวทางการกระจายอานาจการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาและสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวง กาหนด
หลักเกณฑ์และวธิ ีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550

4

รายจ่ายตามงบประมาณ

จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ

1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ

- งบบุคลากร

- งบดาเนินงาน

- งบลงทนุ

- งบเงนิ อดุ หนนุ

- งบร่ายจ่ายอ่ืน

งบบคุ ลากร หมายถึง รายจา่ ยที่กาหนดให้จา่ ยเพ่ือการบริหารงานบุคคลภาครฐั ไดแ้ ก่รายจ่ายท่จี า่ ยใน

ลกั ษณะเงนิ เดือน ค่าจ้างประจา ค่าจา้ งชัว่ คราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ รายจา่ ยที่กาหนดใหจ้ ่าย

จากงบรายจ่ายอ่ืนใดในลักษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว

งบดาเนนิ งาน หมายถึง รายจ่ายท่กี าหนดใหจ้ ่ายเพื่อการบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายทจ่ี า่ ยใน

ลกั ษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวสั ดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงราจ่ายทีก่ าหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอ่ืนใด

ในลักษณะรายจา่ ยดังกล่าว

งบลงทุน หมายถงึ รายจ่ายทกี่ าหนดใหจ้ า่ ยเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจา่ ยทจี่ ่ายในลักษณะค่าครุภณั ฑ์ คา่

ที่ดนิ และสง่ิ ก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดใหจ้ า่ ยจากงบรายจ่ายอน่ื ใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว

งบดาเนนิ งาน หมายถึง รายจา่ ยท่ีกาหนดใหจ้ ่ายเพื่อการบริหารงานประจา ได้แก่ รายจา่ ยที่จา่ ยใน

ลักษณะคา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถงึ รายจ่ายท่ีกาหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอน่ื ใด

ในลักษณะรายจา่ ยดังกล่าว

งบลงทุน หมายถึง รายจา่ ยท่ีกาหนใหจ้ ่ายเพอ่ื การลงทุน ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายในลกั ษณะค่าครภุ ณั ฑ์ ค่า

ที่ดินและส่ิงก่อนสร้าง รวมถึงรายจ่ายทีก่ าหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอ่นื ใดในลกั ษณะรายจ่ายดังกล่าว

งบเงนิ อุดหนนุ หมายถึง รายจา่ ยทก่ี าหนดให้จา่ ยเป็นคา่ บารงุ หรอื เพื่อชว่ ยเหลอื สนับสนนุ งานของ

หน่วยงานอิสระตามรฐั ธรรมนญู หรือหน่วยงานของรฐั ซ่งึ มิใช่สว่ นกลางตาม พ.ร.บ. ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน

หนว่ ยงานในกากบั ของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ รวมถึงเงินอุดหนุน งบ

พระมหากษัตรยิ ์ เงนิ อดุ หนุนศาสนา

งบรายจา่ ยอืน่ หมายถึง รายจา่ ยทไ่ี ม่เข้าลกั ษณะประเภทงบรายจา่ ยใดงบรายจา่ ยหนึง่ หรือรายจา่ ยท่ี

สานกั งานงบประมาณกาหนดใหใ้ ชจ้ า่ ยในงบรายจา่ ยน้ี เชน่ เงินราชการลับ เงินค่าปรับ ท่ีจ่ายคืนใหแ้ กผ่ ู้ขายหรือผู้

รับจ้าง ฯลฯ

อัตราเงินอุดหนนุ รายหัวนักเรียนตอ่ ปกี ารศกึ ษา

ระดบั ก่อนประถมศึกษา 1,700 บาท

ระดบั ประถมศึกษา 1,900 บาท

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 3,500 บาท

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท

5

การจดั สรรเงินอดุ หนนุ รายหวั นักเรยี น แบง่ การใชต้ ามสดั ส่วน ด้านวิชาการ : ด้านบริหารทว่ั ไป : สารอง
จ่ายท้งั 2 ดา้ นคอื

1. ด้านวชิ าการ ใหส้ ดั สว่ นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 นาไปใชไ้ ด้ในเร่อื ง
1.1 จัดหาวสั ดแุ ละครุภัณฑ์ท่จี าเป็นต่อการเรียนการสอน
1.2 ซ่อมแซมวสั ดอุ ปุ กรณ์
1.3 การพฒั นาบุคลาการดา้ นการสอน เช่น ส่งครเู ข้าอบรมสัมมนา คา่ จ้างช่วั คราวของครปู ฏิบตั กิ าร
สอน คา่ สอนพิเศษ

2. ดา้ นบริหารทั่วไป ให้สดั ส่วนไมเ่ กินรอ้ ยละ 30 นาไปใชไ้ ด้ในเรื่อง
2.1 ค่าวัสดุ ครภุ ัณฑ์และคา่ ท่ีดนิ สิ่งก่อสร้าง คา่ จา้ งช่วั คราวท่ีไม่ใช่ปฏบิ ตั ิการสอนค่าตอบแทน ค่าใช้
สอย
2.2 สารองจ่ายนอกเหนอื ดา้ นวชิ าการและดา้ นบริหารทวั่ ไป ให้สดั สว่ นไม่เกนิ รอ้ ยละ 20 นาไปใชใ้ น
เรอ่ื งงานตามนโยบาย

เงินอดุ หนุนปัจจัยพน้ื ฐานสาหรบั นกั เรยี นยากจน
1. เป็นเงินทจ่ี ัดสรรให้แกส่ ถานศึกษาที่มีนกั เรยี นยากจน เพ่ือจดั หาปัจจยั พื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ และ
เพ่ิมโอกาสทางการศึกษา เป็นการชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ยี ากจน ชน้ั ป.1 ถึง ม.3 ให้มีโอกาสได้รบั การศกึ ษา
ในระดบั ทส่ี ูงขึน้ (ยกเวน้ สถานศึกษาสังกดั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ)
2. นักเรียนยากจน หมายถึง นกั เรยี นท่ผี ปู้ กครองมีรายได้ตอ่ ครัวเรอื น ไม่เกนิ 40,000 บาท
3. แนวการใช้
ใหใ้ ช้ในลกั ษณะ ถวั จา่ ย ในรายการต่อไปนี้
3.1 คา่ หนังสอื และอุปกรณ์การเรียน(ยืมใช้)
3.2 ค่าเสอ้ื ผ้าและวสั ดเุ คร่ืองแตง่ กายนกั เรียน(แจกจ่าย)
3.3 คา่ อาหารกลางวนั (วตั ถดุ ิบ จ้างเหมา เงนิ สด)
3.4 ค่าพาหนะในการเดนิ ทาง (เงินสด จ้างเหมา)
3.5 กรณีจา่ ยเป็นเงนิ สด โรงเรียนแตง่ ตัง้ กรรมการ 3 คน รว่ มกนั จ่ายเงนิ โดยใช้ใบสาคัญรับเงนิ เปน็
หลักฐาน
3.6 ระดับประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี
3.7 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น คนละ 3,000 บาท/ปี
1.1รายจา่ ยงบกลาง
1. เงนิ สวัสดิการคา่ รักษาพยาบาล/การศกึ ษาบตุ ร/เงนิ ช่วยเหลอื บตุ ร
2. เงนิ เบีย้ หวดั บาเหน็จบานาญ
3. เงนิ สารอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยขา้ ราชการ
4. เงนิ สมทบของลูกจ้างประจา
2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถึง รายจ่ายทต่ี งั้ ไว้เพื่อจดั สรรใหส้ ่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทวั่ ไปใช้จา่ ย
ตามรายการดังตอ่ ไปนี้
1. “เงินเบี้ยหวัดบาเหนจ็ บานาญ” หมายความว่า รายจา่ ยที่ต้ังไวเ้ พ่ือจ่ายเป็นเงนิ บานาญ

6

ข้าราชการ เงินบาเหนจ็ ลกู จ้างประจา เงินทาขวัญขา้ ราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญ เงนิ ค่า
ทดแทนสาหรับผไู้ ดร้ บั อนั ตรายในการรักษาความม่ันคงของประเทศ

เงินช่วยพเิ ศษข้าราชการบานาญเสยี ชวี ิต เงนิ สงเคราะห์ผู้ประสบภยั เนอื่ งจากการช่วยเหลอื
ขา้ ราชการ การปฏบิ ัติงานของชาตหิ รือการปฏบิ ตั ติ ามหน้าท่ีมนุษยธรรม และเงนิ ช่วยค่าครองชีพผู้รับเบย้ี หวดั
บานาญ

2. “เงินชว่ ยเหลือขา้ ราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ” หมายความว่า รายจ่ายทตี่ งั้ ไว้เพ่อื
จ่ายเป็นเงินสวัสดิการชว่ ยเหลอื ในดา้ นต่างๆ ใหแ้ ก่ข้าราชการ ลกู จา้ ง และพนักงานของรฐั ได้แก่ เงนิ ช่วยเหลือ
การศึกษาของบตุ ร เงนิ ชว่ ยเหลอื บตุ ร และเงนิ พเิ ศษในกรณตี ายในระหว่างรับราชการ

3. “เงนิ เลื่อนขั้นเล่อื นอันดบั เงินเดอื นและเงินปรบั วฒุ ขิ า้ ราชการ หมายความว่ารายจา่ ยทตี่ ้ังไว้
เพ่อื จา่ ยเป็นเงนิ เลอ่ื นข้นั เล่ือนอันดับเงนิ เดือนข้าราชการประจาปี เงนิ เล่ือนข้ันเล่ือนอนั ดับเงินเดือนขา้ ราชการท่ีได้รบั
เลอื่ นระดับ และหรอื แต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ระหว่างปีและเงินปรับวฒุ ิข้าราชการ

4. “เงินสารอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีตง้ั ไว้เพือ่
จ่ายเป็นเงนิ สารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยที่รฐั บาลนาส่งเข้ากองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ

5. “เงนิ สมทบของลูกจา้ งประจา” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตัง้ ไวเ้ พ่ือจ่ายเปน็ เงนิ สมทบที่
รฐั บาลนาสง่ เข้ากองทุนสารอง เล้ยี งชีพลูกจา้ งประจา

6. “คา่ ใชจ้ ่ายเก่ยี วกับการเสด็จพระราชดาเนินและต้อนรบั ประมขุ ต่างประเทศ หมายความวา่
รายจา่ ยทีต่ ง้ั ไว้เพื่อเปน็ ค่าใชจ้ ่ายสนับสนนุ พระราชภารกจิ ในการเสด็จพระราชดาเนนิ ภายในประเทศ และหรือ
ตา่ งประเทศ และคา่ ใช้จ่ายในการต้อนรับประมุขต่างประเทศทีม่ ายาเยอื นประเทศไทย

7. “เงนิ สารองจ่ายเพื่อกรณีฉกุ เฉินหรอื จาเปน็ ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ตั้งสารองไวเ้ พอ่ื
จดั สรรเปน็ ค่าใช้จ่ายในกรณฉี ุกเฉนิ หรอื จาเป็น

8. “ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินการรักษาความมัน่ คงของประเทศ” หมายความวา่ รายจา่ ยท่ีตง้ั ไว้
เพื่อเป็นคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนินงานรักษาความมนั่ คงของประเทศ

9. “เงินราชการลับในการรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ต้ังไว้เพ่ือ
เบกิ จ่ายเปน็ เงนิ ราชการลับในการดาเนินงานเพ่ือรกั ษาความม่นั คงของประเทศ

10.“ค่าใชจ้ า่ ยตามโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตัง้ ไวเ้ พื่อ
เปน็ ค่าใช้จ่าในการดาเนินงานตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ

11.“คา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ” หมายความวา่
รายจา่ ยทต่ี ัง้ ไวเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยในการชว่ ยเหลอื คา่ รกั ษาพยาบาลขา้ ราชการ ลูกจ้างประจา และพนักงานของรฐั

7

เงินนอกงบประมาณ

1. เงนิ รายได้สถานศกึ ษา
2. เงนิ ภาษหี กั ณ ทจ่ี า่ ย
3. เงินลกู เสือ เนตรนารี
4. เงนิ ยวุ กาชาด
5. เงนิ ประกนั สัญญา
6. เงนิ บรจิ าคทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค์

เงินรายไดส้ ถานศกึ ษา หมายถงึ เงนิ รายไดต้ ามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.
2542 ซึ่งเกิดจาก
1. ผลประโยชน์จากทรัพย์สนิ ท่เี ปน็ ราชพสั ดุ
2. ค่าบริการและคา่ ธรรมเนยี ม ทไ่ี ม่ขดั หรือแย้งนโยบาย วตั ถปุ ระสงค์และภารกิจหลกั ของสถานศึกษา
3. เบี้ยปรับจากการผดิ สญั ญาลาศกึ ษาต่อและเบย้ี ปรบั การผิดสญั ญาซอื้ ทรัพย์สนิ หรอื จา้ งทาของจากเงิน
งบประมาณ
4. คา่ ขายแบบรปู รายการ เงินอุดหนนุ อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวนั
5. คา่ ขายทรัพยส์ ินที่ได้มาจากเงินงบประมาณ

8

งานพสั ดุ

“การพสั ดุ” หมายความวา่ การจดั ทาเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างทปี่ รึกษา การจา้ งออกแบบและ
ควบคุมงาน การแลกเปลยี่ น การเชา่ การควบคมุ การจาหน่าย และการดาเนนิ การอื่นๆ ทก่ี าหนดไวใ้ นระเบียบน้ี

“พสั ด”ุ หมายความว่า วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ ท่ดี นิ และส่ิงก่อสร้าง ทก่ี าหนดไวใ้ นหนังสอื การจาแนกประเภท
รายจ่ายตามงบประมาณของสานกั งบประมาณ หรือการจาแนกประเภทรายจ่าย ตามสัญญาเงินกจู้ ากต่างประเทศ

“การซือ้ ” หมายความว่า การซอื้ พสั ดุทกุ ชนิดทั้งท่มี ีการติดตัง้ ทดลอง และบริการทเ่ี ก่ียวเนือ่ งอ่นื ๆ แต่
ไมร่ วมถึงการจัดหาพัสดุในลกั ษณะการจา้ ง

“การจ้าง” ให้หมายความรวมถึง การจ้างทาของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ และ
การจ้างเหมาบริการ แตไ่ ม่รวมถงึ การจ้างลกู จ้างของส่วนราชการตามระเบยี บของกระทรวงการคลงั การบั ขนในการ
เดนิ ทางไปราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ การจ้างท่ีปรึกษา การจ้างออกแบบและ
ควบคมุ งาน และการจา้ งแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์

ขอบข่ายภารกจิ
1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง
2. ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพม่ิ เติม
3. ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการพสั ดดุ ้วยวิธกี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
4. แนวทางการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการพัสดดุ ว้ ยวธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ.

2549
หน้าที่และความรบั ผิดชอบ
1. จัดวางระบบและปฏบิ ัติงานเกี่ยวกับจดั หา การซือ้ การจา้ ง การเก็บรักษา และการเบิกพสั ดุ การควบคมุ

และการจาหนา่ ยพสั ดุใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทเี่ ก่ียวข้อง
2. ควบคมุ การเบกิ จ่ายเงนิ ตามประเภทเงิน ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบตั ิราชการรายปี
3. จัดทาทะเบยี นท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสร้างทกุ ประเภทของสถานศึกษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใช้พ้นื ที่ของสถานศึกษา ใหเ้ ป็นไปตามแผนพัฒนาการศึกษา
5. กาหนดหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารและดาเนนิ การเกยี่ วกบั การจดั หาประโยชนท์ ี่ราชพสั ดุการใช้และการขอใช้อาคาร

สถานท่ีของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกยี่ วข้องควบคุมดู ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม
บารงุ รักษาครภุ ณั ฑ์ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยต่อการใช้งานและพฒั นาอาคารสถานที่ การอนรุ กั ษ์พลังงาน
การรกั ษาสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณปู โภคของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ระเบียบและสวยงาม
6. จดั เวรยามดูแลอาคารสถานท่ีของสถานศึกษาให้ปลอดภยั จากโจรภัย อคั คภี ัยและภยั อืน่ ๆ
7. จดั วางระบบและควบคมุ การใช้ยานพาหนะ การเบิกจ่ายน้ามนั เชื้อเพลงิ การบารงุ รักษาและการพัสดุต่างๆ
ที่เก่ียวกบั ยานพาหนะของสถานศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบยี บที่เกย่ี วข้อง
8. ใหค้ าแนะนา ช้แี จง และอานวยความสะดวกแกบ่ คุ ลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับงานในหน้าที่
9. เก็บรักษาเอกสารและหลกั ฐานตา่ งๆ ไวเ้ พื่อการตรวจสอบและดาเนนิ การทาลายเอกสารตามระเบียบท่ี
เกีย่ วขอ้ ง
10.ประสานงานและใหค้ วามรว่ มมือกับหน่วยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
11.เสนอโครงการและรายงานการปฏบิ ตั งิ านในหน้าทีต่ ามลาดับขน้ั
12.ปฏบิ ัตอิ ่นื ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

9

สวัสดกิ ารและสิทธปิ ระโยชน์

1. ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ
1.1กฎหมายและระเบยี บทีเ่ กี่ยวข้อง
1.2พระราชกฤษฎกี าคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม
1.3ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550

2. คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ
การอนมุ ัตเิ ดนิ ทางไปราชการ ผู้มีอานาจอนุมัตใิ หเ้ ดนิ ทางไปราชการ อนุมัตริ ะยะเวลาในการเดินทาง
ลว่ งหน้า หรอื ระยะเวลาหลงั เสร็จสน้ิ การปฏบิ ตั ิราชการได้ตามความจาเป็น

3. การนับเวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบี้ยเลย้ี ง กรณีพกั ค้าง
3.1ใหน้ ับ 24 ช่วั โมงเป็น 1 วนั
3.2ถา้ ไม่ถงึ 24 ช่วั โมงหรอื เกิน 24 ชวั่ โมง และส่วนที่ไม่ถึงหรอื เกิน 24 ช่วั โมง นับไดเ้ กนิ 12 ช่ัว
โง ใหถ้ อื เปน็ 1 วัน

4. การนบั เวลาเดนิ ทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบี้ยเลี้ยงเดินทาง กรณไี ม่พักคา้ ง
4.1หากนบั ได้ไม่ถึง 24 ช่วั โมงและส่วนท่ไี ม่ถงึ นับได้เกนิ 12 ช่ัวโมง ให้ถือเปน็ 1วนั
4.2หากนับได้ไม่เกนิ 12 ชว่ั โมง แต่เกิน 6 ชวั่ โมงขนึ้ ไป ใหถ้ ือเป็นครึ่งวัน

5. การนบั เวลาเดนิ ทางไปราชการเพอ่ื คานวณเบย้ี เลย้ี งเดินทาง
6. กรณลี ากจิ หรือลาพักผ่อนก่อนปฏบิ ัติราชการ ให้นับเวลาตง้ั แต่เร่มิ ปฏิบตั ริ าชการเปน็ ต้นไป
7. กรณีลากจิ หรือลาพักผ่อนหลังเสร็จสิน้ การปฏบิ ัตริ าชการ ให้ถอื ว่าสทิ ธใิ นการเบกิ จ่ายเบี้ยเลยี้ งเดินทางสิน้ สดุ

ลงเมอื่ สน้ิ สุดเวลาการปฏบิ ตั ริ าชการ
8. หลกั เกณฑ์การเบิกค่าเชา่ ทพ่ี ักในประเทศ

การเบกิ ค่าพาหนะ

1. โดยปกติให้ใชย้ านพาหนะประจาทางและใหเ้ บิกค่าพาหนะโดยประหยดั
2. กรณีไมม่ ียานพาหนะประจาทาง หรือมีแต่ต้องการความรวดเรว็ เพอื่ ประโยชน์แก่ทางราชการ ให้
ใช้ยานพาหนะอ่นื ได้ แตต่ อ้ งชีแ้ จงเหตผุ ลและความจาเป็นไว้ในหลักฐานขอเบิกคา่ พาหนะนนั้
3. ขา้ ราชการระดับ 6 ขึ้นไป เบิกคา่ พาหนะรับจ้างได้ ในกรณตี ่อไปน้ี

3.1การเดินทางไป-กลบั ระหว่างสถานท่ีอยู่ ท่ีพกั หรอื สถานท่ีปฏิบตั ริ าชการกับสถานี
ยานพาหนะประจาทาง หรือสถานท่จี ัดพาหนะท่ีใช้เดินทางภายในเขตจังหวัดเดียวกนั
3.2การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา่ งสถานท่ีอยู่ ที่พัก กบั สถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวดั
เดียวกัน วนั ละไมเ่ กิน 2 เท่ียว
3.3การเดนิ ทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีเปน็ การเดนิ ทางข้ามเขตจังหวดั ให้เบิก

10

ตามอัตราทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด คอื ให้เบิกตามทจ่ี า่ ยจรงิ ดงั นี้ ระหวา่ งกรุงเทพมหานครกับเขต
จงั หวดั ตดิ ต่อกรงุ เทพมหานคร ไมเ่ กนิ เทย่ี วล่ะ 400 บาท เดนิ ทางข้ามเขตจงั หวัดอ่ืนนอกเหนือกรณี
ดังกลา่ วขา้ งตน้ ไม่เกนิ เท่ยี วละ 300 บาท
3.4ผไู้ มม่ สี ิทธิเบิก ถ้าต้องนาสมั ภาระในการเดนิ ทาง หรอื ส่ิงของเคร่อื งใชข้ องทางราชการไปด้วย
และเป็นเหตุให้ไม่สะดวกทจ่ี ะเดนิ ทางโดยยานพาหนะประจาทาง ใหเ้ บกิ คา่ พาหนะรบั จา้ งได้(โดยแสดง
เหตผุ ลและความจาเป็นไวใ้ นรายงานเดินทาง)
3.5การเดนิ ทางลว่ งหน้า หรือไม่สามารถกลับเม่ือเสร็จสน้ิ การปฏิบัติราชการเพราะมเี หตสุ ว่ นตัว
(ลากจิ - ลาพกั ผอ่ นไว้) ใหเ้ บกิ ค่าพาหนะเทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ ตามเสน้ ทางที่ได้รับคาสั่งใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ
กรณมี ีการเดนิ ทางนอกเส้นทางในระหวา่ งการลานั้น ให้เบิกค่าพาหนะไดเ้ ท่าทจ่ี า่ ยจรงิ โดยไมเ่ กินอัตราตาม
เสน้ ทางท่ไี ดร้ บั คาส่งั ใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ
3.6การใช้ยานพาหนะส่วนตวั (ใหข้ ออนุญาตและไดร้ บั อนุญาตแลว้ ) ให้ได้รับเงนิ ชดเชย คือ
รถยนต์กโิ ลเมตรละ 4 บาท

คา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรม

การฝกึ อบรม หมายถึง การอบรม ประชมุ /สมั มนา (วิชาการเชิงปฏิบัตกิ าร) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน
ดูงาน การฝกึ อบรม ประกอบด้วย

1. หลกั การและเหตผุ ล
2. โครงการ/หลกั สูตร
3. ระยะเวลาจัดท่ีแนน่ อน
4. เพอื่ พฒั นาหรือเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติงาน

ค่ารักษาพยาบาล

คา่ รกั ษาพยาบาล หมายถงึ เงินทส่ี ถานพยาบาลเรียกเกบ็ ในการรกั ษาพยาบาลเพ่ือใหร้ ่างกายกลบั ส่สู ภาวะ
ปกติ (ไม่ใชเ่ ป็นการป้องกันหรอื เพื่อความสวยงาม)

1. ระเบยี บและกฎหมายที่เกีย่ วข้อง
1.1พระราชกฤษฎกี าเงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ( 8 ฉบับ)
1.2ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบกิ จา่ ยเงินสวสั ดิการเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545

2. ผทู้ ่ีมีสิทธิรบั เงนิ ค่ารักษาพยาบาล คือ ผู้มสี ิทธิและบุคคลในครอบครวั
2.1บิดา
2.2มารดา
2.3ค่สู มรสทีช่ อบด้วยกฎหมาย

11

2.4บุตรทชี่ อบด้วยกฎหมาย ซ่ึงยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ หรอื บรรลุนิตภิ าวะแล้ว แตเ่ ป็นคนไร้ความสามารถ
หรือเสมือนคนไร้ความสามารถ(ศาลส่ัง) ไม่รวมบตุ รบญุ ธรรมหรือบุตรซึ่งได้ยกเปน็ บุตรบุญธรรมบคุ คล
อื่นแลว้

3. ผ้มู ีสิทธิ หมายถึง ข้าราชการ ลกู จ้างประจา ผู้รับเบ้ียหวัดบานาญ และลูกจ้างชาวตา่ งประเทศซงึ่ ไดร้ บั
ค่าจ้างจากเงินงบประมาณ
คา่ รกั ษาพยาบาล แบง่ เปน็ 2 ประเภท
ประเภทไข้นอก หมายถึง เข้ารับการรกั ษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไม่ได้นอนพัก

รักษาตัว นาใบเสรจ็ รบั เงินมาเบิกจ่าย ไม่เกิน 1 ปี นบั จากวนั ทีจ่ า่ ยเงิน
ประเภทไขใ้ น หมายถึง เข้ารบั การรกั ษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรือสถานพยาบาลของทาง

ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใช้ใบเสรจ็ รบั เงินนามาเบิกจ่ายเงิน พร้อมให้แพทย์รบั รอง “หากผปู้ ว่ ยมิไดเ้ จ้ารบั
การรักษาพยาบาลในทันทีทันใด อาจเป็นอันตรายถึงชวี ิต” และสถานพยาบาลทางราชการ ใช้หนงั สอื รบั รองสิทธิ
กรณียงั ไม่ได้เบิกจ่ายตรง

การศกึ ษาบตุ ร

คา่ การศึกษาของบตุ ร หมายความวา่ เงินบารงุ การศึกษา หรอื เงนิ คา่ เลา่ เรยี น หรอื เงินอืน่ ใดทส่ี ถานศึกษา
เรียกเก็บและรฐั ออกให้เป็นสวัสดิการกับข้าราชการผมู้ สี ิทธิ

1. ระเบียบและกฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง
1.1 พระราชราชกฤษฎกี าเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจา่ ยเงนิ สวสั ดกิ ารเกยี่ วกับการศกึ ษาของบุตร พ.ศ. 2547
1.3 หนังสือเวียนกรมบัญชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 เรื่อง
ประเภทและอัตราเงนิ บารงุ การศกึ ษาในสถานศึกษาของทางราชการ และค่าเล่าเรียนในสถานศึกษาของ
เอกชน และกรมบญั ชีกลาง ท่ี กค 0422.3/ว 226 ลงวันที่ 30 มถิ ุนายน 2552 เรือ่ งการ
เบกิ งนิ สวสั ดกิ ารเก่ียวกับการศึกษาของบตุ ร

2. ผทู้ ่ีมสี ทิ ธิรบั เงินคา่ การศึกษาของบุตร
2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายไุ มเ่ กิน 25 ปบี ริบูรณ์ ในวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี ไมร่ วมบตุ รบุญ
ธรรม หรือบตุ รซง่ึ ได้ยกใหเ้ ป็นบตุ รบญุ ธรรมคนอืน่ แลว้
2.2 ใช้สิทธเิ บกิ ได้ 3 คน เวน้ แต่บตุ รคนท่ี 3 เปน็ ฝาแฝดสามารถนามาเบิกได้ 4 คน
2.3 เบิกเงนิ สวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั ศึกษาบุตรภายใน 1 ปี นับต้งั แต่วนั เปดิ ภาคเรยี นของแต่ละภาค
จานวนเงนิ ทเี่ บิกได้
1. ระดบั อนบุ าลหรือเทียบเทา่ เบิกได้ปลี ะไม่เกิน 4,650 บาท
2. ระดับประถมศึกษาหรอื เทยี บเท่า เบิกไดป้ ีละไมเ่ กนิ 3,200 บาท
3. ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ /มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.) หรอื
เทยี บเทา่ เบกิ ได้ปีละไม่เกิน 3,900 บาท
4. ระดบั อนปุ ริญญาหรือเทยี บเท่า เบกิ ไดป้ ลี ะไมเ่ กนิ 11,000 บาท

12

คา่ เช่าบ้าน

1. ระเบียบและกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎกี าค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบกิ จ่ายเงินคา่ เชา่ บา้ น พ.ศ. 2549

2. สิทธกิ ารเบิกเงินค่าเช่าบา้ น
2.1 ได้รบั คาส่งั ให้เดินทางไปประจาสานักงานใหม่ในต่างท้องที่ เวน้ แต่
2.1.1 ทางราชการไดจ้ ดั ท่ีพกั อาศยั ใหอ้ ยแู่ ลว้
2.1.2 มีเคหสถานเป็นของตนเองหรือคูส่ มรส
2.1.3 ได้รบั คาสั่งให้เดนิ ทางไปประจาสานักงานใหม่ในต่างท้องท่ตี ามคาร้องขอของตนเอง
2.2 ข้าราชการผูไ้ ดร้ บั คาสงั่ ใหเ้ ดินทางไปประจาสานักงานในท้องทท่ี ่รี บั ราชการครง้ั แรกหรือท้องที่ที่กลับเขา้
รบั ราชการใหม่ ให้มีสิทธิได้รับเงนิ คา่ เช้าบา้ น (พระราชกฤษฎกี าเช่าบา้ น 2550 (ฉบบั ท่ี 2) มาตรา
7)
2.3 ข้าราชการมสี ิทธิได้รับเงินคา่ เชา่ บา้ นตงั้ แตว่ ันทเ่ี ชา่ อยู่จริง แต่ไม่กอ่ นวันทรี่ ายงานตัวเพ่ือเข้ารับหน้าท่ี
(พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ บ้าน 2547 มาตรา 14)
2.4 ขา้ ราชการซ่ึงมสี ทิ ธไิ ด้รับเงนิ ค่าเช่าบ้านได้เช่าซื้อหรอื ผ่อนชาระเงินกเู้ พื่อชาระราคาบา้ นที่คา้ งชาระอยู่
ในทอ้ งที่ที่ไปประจาสานักงานใหม่ มสี ิทธินาหลักฐานการชาระคา่ เช่าซื้อหรือคา่ ผอ่ นชาระเงนิ กฯู้ มา
เบิกได้ (พระราชกฤษฎีกาค่าเชา่ บ้าน 2547 มาตรา 17)

กองทุนบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ (กบข.)

1. กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง
1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัติน้ี (ส่วนทีเ่ กี่ยวขอ้ ง)
บานาญ หมายความวา่ เงนิ ทจี่ ่ายใหแ้ ก่สมาชกิ เป็นรายเดือนเม่ือสมาชิกภาพของสมาชิกสิน้ สุดลง
บาเหน็จตกทอด หมายความวา่ เงนิ ทีจ่ า่ ยให้แกส่ มาชิก โดยจา่ ยให้ครง้ั เดียวเมื่อสมาชกิ ภาพ

ของสมาชิกส้ินสุดลง
บาเหน็จตกทอด หมายความว่า เงนิ ทีจ่ า่ ยใหแ้ ก่ทายาทโดยจา่ ยให้คร้ังเดียวในกรณที สี่ มาชิก

หรอื ผูร้ บั บานาญถงึ แก่ความตาย
1.2 พ.ร.บ.กองทนุ บาเหน็จบานาญขา้ ราชการ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2542

2. ขา้ ราชการทุกประเภท (ยกเว้นราชการทางการเมือง) มีสิทธิสมัครเป็นสมาชกิ กบข. ได้แก่ ขา้ ราชการครู
ข้าราชการใหม่ ไดแ้ ก่ ผูซ้ ึง่ เขา้ รบั ราชการหรือโอนมาเป็นราชการต้ังแต่วันที่ 27 มนี าคม 2540 เปน็ ตน้ จะตอ้ ง
เป็นสมาชิก กบข. และสะสมเงนิ เข้ากองทุน สมาชิกทจี่ ่ายสะสมเขา้ กองทุนในอตั รารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเปน็
ประจาทกุ เดอื น รฐั บาลจะจา่ ยเงินสมทบใหก้ ับสมาชกิ ในอัตรารอ้ ยละ 3 ของเงินเดือนเป็นประจาทุกเดอื น
เช่นเดียวกัน และจะนาเงินดังกล่าวไปลงทนุ หาผลประโยชน์เพือ่ จ่ายให้กับสมาชิกเม่ือกอกจากราชการ

13

ระเบียบสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมสวสั ดิการและสวสั ดภิ าพครูและบคุ ลากรทางการศึกษาวา่
ดว้ ยการฌาปนกิจสงเคราะห์เพอื่ นครูและบคุ ลากรทางการศึกษา(ช.พ.ค.)

ในระเบียบน้ี ช.พ.ค. หมายความว่า การฌาปนกิจสงเคราะห์ช่วยเพือ่ นครแู ละบุคลากรทางการศึกษาการ
จดั ต้ัง ช.พ.ค. มคี วามม่งุ หมายเพื่อเป็นการกุศลและมีวัตถุประสงค์ใหส้ มาชิกได้ทาการสงเคราะห์ซ่ึงกันและกันในการ
จัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. ทีถ่ ึงแก่กรรมหลกั เกณฑ์และวิธีการจา่ ยเงินค่าจัดการศพและ
เงนิ สงเคราะห์ครอบครัวให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการ ช.พ.ค. กาหนด

ครอบครัวของสมาชิก ช.พ.ค หมายถึง บคุ คลตามลาดบั ดงั น้ี
1. คู่สมรสท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย บุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย บตุ รบญุ ธรรม บตุ รนอกสมรสที่บิดารับรองแลว้
และบิดามารดาของสมาชิก ช.พ.ค.
2. ผอู้ ยูใ่ นอปุ การะอย่างบุตรของสมาชกิ ช.พ.ค.
3. ผู้อุปการะสมาชกิ ช.พ.ค.
ผู้มีสทิ ธิไดร้ ับการสงเคราะห์ตามวรรคหนง่ึ ยงั มชี วี ิตอยู่ หรือมีผรู้ บั มรดกยังไม่ขาดสายแล้วแต่กรณีใน
ลาดับหน่ึงๆ บคุ คลท่ีอยู่ในลาดบั ถัดไปไม่มสี ทิ ธไิ ดร้ บั เงินสงเคราะห์ครอบครวั ระเบยี บนี้
การสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. สาหรบั บตุ รใหพ้ ิจารณาให้บุตรสมาชกิ ช.พ.ค. ไดร้ ับ
ความช่วยเหลอื เปน็ เงินทุนสาหรับการศกึ ษาเลา่ เรียนเปน็ ลาดบั แรก
สมาชิก ช.พ.ค. ต้องระบบุ ุคคลใดบุคคลหน่ึงหรือหลายคน เป็นผมู้ สี ิทธิรบั เงินสงเคราะห์
สมาชิก ช.พ.ค. มีหนา้ ทด่ี ังต่อไปน้ี
1. ตอ้ งปฏิบัติตามระเบยี บน้ี
2. สง่ เงินสงเคราะห์รายศพ เม่ือสมาชิก ช.พ.ค. อนื่ ถงึ แก่กรรมศพละหนึง่ บาทภายใตเ้ ง่ือนไขดังต่อไปนี้
3. สมาชิก ช.พ.ค. ที่เป็นขา้ ราชการประจา ขา้ ราชการบานาญและผ้ทู ี่มเี งนิ เดือนหรือรายได้ รายเดอื น ต้อง

ยนิ ยอมใหเ้ จา้ หน้าท่ีผู้จา่ ยเงนิ เดือนหรือเงินบานาญเป็นผูห้ ักเงนิ เพื่อชาระเงินสงเคราะหร์ ายศพ ณ ท่จี ่าย
ตามประกาศรายช่ือสมาชกิ ช.พ.ค. ทีถ่ ึงแก่กรรม

คาจากดั ความ

แผนการปฏบิ ัติงาน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ หมายถงึ แผนแสดงรายละเอียดการปฏบิ ตั งิ าน และ
แสดงรายละเอยี ดการใช้จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยตามแผนการปฏบิ ัติงานของโรงเรียนบา้ นห้วงปลาไหล “สิงหะวทิ ยา”
ในรอบปีงบประมาณ

การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะ
วทิ ยา” เพอ่ื ดาเนนิ ตามแผนการปฏิบตั ิงานในรอบปี

การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหน้ีผูกพัน ทั้งนี้ อาจ
ดาเนนิ การโดยใช้การอนุมตั เิ งินประจางวดหรือโดยวธิ กี ารอนื่ ใดตามท่สี านักงบประมาณกาหนด

14

เป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ที่การใช้จ่ายงบประมาณต้องการจะให้เกิดต่อนักเรียน บุคลากร
โรงเรยี นบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา”

แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” ในรอบ
ปงี บประมาณ

แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสาหรับ
โรงเรียนบ้านหว้ งปลาไหล “สิงหะวิทยา” เพือ่ ดาเนนิ งานตามแผนการปฏบิ ัติงานในรอบปงี บประมาณ

โครงการ หมายถงึ โครงการท่ีกาหนดขน้ึ เพ่ือใช้จา่ ยเงินเปน็ ไปตามในระหว่างปงี บประมาณ
งบรายจา่ ย หมายถึง กล่มุ วัตถุประสงค์ของรายจา่ ย ทีก่ าหนดให้จา่ ยตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณ
จาแนกงบรายจา่ ยตามหลกั จาแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจ่าย ดงั นี้
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ
เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบ
รายจ่ายอืน่ ในลักษณะดงั กล่าว
งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานประจา ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย คา่ วัสดุ ค่าสาธารณูปโภค
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน
และสิ่งก่อสร้าง
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุง หรือเพ่ือช่วยเหลือสนับสนุนการดาเนินงาน
ของหนว่ ยงานองค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือหน่วยงานของรัฐซงึ่ มิใชส่ ว่ นราชการสว่ นกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการแผ่นดิน หนว่ ยงานในกากบั ของรัฐองค์การมหาชน รัฐวิสาหกจิ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น สภาตาบล
องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบ
พระมหากษัตรยิ ์ เงนิ อุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายทสี่ านกั งบประมาณกาหนดใหจ้ ่ายในงบรายจ่ายน้ี
งบรายจ่ายอ่ืน หมายถึง รายจ่ายท่ีไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายท่ี
สานักงบประมาณกาหนดใหใ้ ช้จา่ ยในงบรายจ่ายน้ี เช่น
(1) เงนิ ราชการลับ
(2) เงินคา่ ปรบั ทีจ่ ่ายคนื ให้แกผ่ ู้ขายหรอื ผูร้ ับจ้าง
(3) ค่าจ้างท่ีปรึกษาเพ่ือศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆซ่ึงมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง

ครภุ ัณฑท์ ่ดี ินหรอื สง่ิ กอ่ สร้าง
(4) ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราว
(5) คา่ ใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานองคก์ รตามรัฐธรรมนญู (สว่ นราชการ)
(6) ค่าใชจ้ ่ายเพือ่ ชาระหนีเ้ งินกู้
(7) คา่ ใชจ้ า่ ยสาหรบั กองทุน หรือเงินทนุ หมุนเวียน

15

หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ

กลุม่ การบริหารงบประมาณ
นางก่ิงแก้ว ทองเฟ่ือง ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ มีหน้าท่ีดูแล กากับติดตาม กลั่นกรอง

อานวยความสะดวก ให้คาแนะนาปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มบริหารงบประมาณ ตาม
ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กรการประสานงาน
และให้บรกิ ารสนบั สนนุ สง่ เสริมให้ฝา่ ยบริหารงบประมาณตา่ งๆ ในโรงเรยี นสามารถบรหิ ารจัดการและดาเนนิ การตาม
บทบาทภารกิจ อานาจหน้าทด่ี ว้ ยความเรยี บร้อยตลอดจนสนบั สนนุ และให้บรกิ ารข้อมลู ข่าวสาร เอกสาร สอ่ื อปุ กรณ์
ทางการศึกษาและทรัพยากรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีของแต่ละฝ่ายงานเพื่อให้ฝ่ายงานบริหารจัดการได้
อยา่ งสะดวกคลอ่ งตวั มีคณุ ภาพและเกิดประสิทธิผล
ขอบขา่ ยกลมุ่ การบริหารงบประมาณ มีดงั นี้
1. การจดั ทาแผนงบประมาณและคาขอตงั้ งบประมาณเพอื่ เสนอต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

หน้าท่รี บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) จัดทาข้อมูลสารสนเทศทางการเงินของสถานศึกษา ได้แก่ แผนช้ันเรียน ข้อมูลครูนักเรียน และ
ส่ิงอานวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
2) จดั ทากรอบงบประมาณรายจา่ ยลว่ งหนา้ และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อใช้เป็นคา
ขอต้งั งบประมาณต่อสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
2. การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารใช้จา่ ยเงนิ ตามท่ีไดร้ ับจดั สรรงบประมาณจากสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานโดยตรง
หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านและผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ ดังนี้
1) จัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปแี ละแผนการใช้จา่ ยงบประมาณภายใต้ความรว่ มมือของสานักงาน
เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน
3. การอนุมตั กิ ารใชจ้ ่ายงบประมาณท่ไี ด้รับจดั สรร
หน้าท่รี บั ผดิ ชอบเสนอโครงการดังนี้
- ผู้อานวยการสถานศึกษาอนุมัติการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามงาน/โครงการที่กาหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิ
การประจาปี และแผนการใชจ้ า่ ยเงินภายใตค้ วามรว่ มมอื ของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
4. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จาเป็นต้องขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับ
สถานศึกษาประเภทท่ี 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วเสนอ ขอโอนหรือ
เปลีย่ นแปลงรายการงบประมาณต่อสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา เพือ่ ดาเนินการต่อไป

16

5. การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ
หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) รายงานผลการดาเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาปี ไปยังสานักงานเขต

พ้ืนที่การศึกษา
6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใชง้ บประมาณ

หน้าท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) จดั การให้มีการตรวจสอบและตดิ ตามให้ กลมุ่ ฝ่ายงาน ในสถานศึกษา รายงานผลการปฏิบัตงิ าน
และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบที่สานัก
งบประมาณกาหนด และจัดส่งไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาท่ีสานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษากาหนด
2) จัดทารายงานประจาปีที่แสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดส่งให้สานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาภายในระยะเวลาทส่ี านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากาหนด
7. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชผ้ ลผลิตจากงบประมาณ
หนา้ ทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้
1) ประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ตั งิ านตามที่ได้รับมอบหมาย
2) วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
3) วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรของ
หนว่ ยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพอื่ การศกึ ษา
หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) วางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุนเพ่ือการพัฒนาการศึกษาให้ดาเนินงาน
ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล คุม้ คา่ และมีความโปร่งใส
2) จัดทาข้อมูลสารสนเทศ และระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและเพื่อการพัฒนาการศึกษาให้
ดาเนนิ งานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล คุ้มค่า และมีความโปรง่ ใส
3) สรุป รายงาน เผยแพร่ และเชิดชูเกียรติผู้สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา
สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

9. การบริหารจัดการทรัพยากรเพ่ือการศึกษา
หน้าทร่ี ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) จดั ทารายการทรพั ยากรเพ่อื เป็นสารสนเทศไดแ้ กแ่ หล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา แหลง่ เรยี นรูใ้ น

ท้องถิ่นท้ังท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานประกอบการ เพื่อการรับรู้ของ
บุคลากรในสถานศกึ ษา นกั เรยี นและบุคคลท่ัวไปจาไดเ้ กิดการใชท้ รพั ยากรรว่ มกันในการจดั การศึกษา

2) วางระบบหรือกาหนดแนวปฏิบัติการใช้ทรัพยากรร่วมกันกบั บุคคล หนว่ ยงานรัฐบาลและเอกชน
เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด

3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมทั้งให้บริการการใช้
ทรพั ยากรภายในเพือ่ ประโยชนต์ ่อการเรยี นร้แู ละสง่ เสริมการศึกษาในชมุ ชน

4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้าง
ทรัพยากรบุคคลที่มศี กั ยภาพให้การสนบั สนุนการจดั การศึกษา

17

5) ดาเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีสนับสนุนการใช้ทรัพยากร
ร่วมกนั เพ่ือการศึกษาของสถานศึกษา
10. การวางแผนพัสดุ

ผู้รับผดิ ชอบ นางสภุ าวรรณ อดุ รรัตน์ หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้
1) การวางแผนพัสดุล่วงหน้า 3 ปี ใหด้ าเนินการตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ
2) การจัดทาแผนการจัดหาพัสดุให้ฝ่ายที่ทาหน้าที่จัดซ้ือจัดจ้างเป็นผู้ดาเนินการ โดยให้ฝ่าย
ที่ต้องการใช้พัสดุ จัดทารายละเอียดพัสดุท่ีต้องการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ
แบบรปู รายการและระยะเวลาท่ีต้องการนี้ต้องเป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจาปี (แผนปฏิบัติงาน) และตามท่ีระบุไว้
ในเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปี ส่งให้ฝ่ายท่ีทาหน้าท่ีจัดซื้อจดั จา้ งเพ่ือจัดทาแผนการ
จดั หาพัสดุ
3) ฝา่ ยทีจ่ ดั ทาแผนการจดั หาพัสดุทาการรวบรวมข้อมลู รายละเอียดจากฝ่ายท่ีต้องการใช้พสั ดุโดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และความ
เหมาะสมของวิธีการจัดหาว่าควรเป็นการซื้อ การเช่าหรือการจัดทาเองแล้วจานาข้อมูลที่สอบทานแล้วมาจัดทา
แผนการจดั หาพสั ดุในภาพรวมของสถานศกึ ษา
11. การกาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์หรือส่ิงก่อสร้างที่ใช้เงินงบประมาณเพ่ือ
สนองต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผูร้ ับผดิ ชอบ นางสภุ าวรรณ อดุ รรตั น์ หนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ ส่งให้
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
2) กรณีท่ีเป็นการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณให้กาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ
ได้โดยให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อนหากไม่เหมาะสมก็ให้กาหนดตามความต้องการโดยยึดหลักความโปร่งใส
เป็นธรรมและเป็นประโยชน์กบั ทางราชการ
12. การจดั หาพสั ดุ
ผู้รับผดิ ชอบ วา่ ท่รี ้อยตรีหญิง พรทพิ ย์ ภูงามตา หน้าท่รี ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) การจัดหาพัสดถุ ือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของส่วนราชการและคาสัง่ มอบอานาจของ
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
2) การจัดทาพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการให้สถานศึกษารับจัดทารับ
บรกิ าร

13. การควบคมุ ดแู ล บารงุ รักษาและจาหนา่ ยพสั ดุ
ผรู้ บั ผิดชอบ นางสุภาวรรณ อดุ รรัตน์ หนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังน้ี
1) จดั ทาทะเบยี นคุมทรัพยส์ ินและบัญชวี ัสดุไมว่ า่ จะได้มาด้วยการจดั หาหรือการรับบริจาค
2) ควบคมุ พสั ดุให้อยูใ่ นสภาพพรอ้ มการใช้งาน
3) ตรวจสอบพัสดุประจาปี และให้มีการจาหน่ายพัสดุท่ีชารุด เสื่อมสภาพหรือไม่ใช้ในราชการอีก

ต่อไป
4) พสั ดุทเี่ ปน็ ท่ดี นิ หรือส่ิงก่อสรา้ ง กรณีทไ่ี ด้มาด้วยเงนิ งบประมาณให้ดาเนินการขึ้นทะเบียน เปน็

ราชพสั ดุ กรณที ไ่ี ด้มาจากการรบั บริจาคหรือจากเงนิ รายได้สถานศกึ ษาให้ข้นึ ทะเบียนเปน็ กรรมสิทธ์ิของสถานศึกษา

14. การรับเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการจ่ายเงิน

18

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางกง่ิ แก้ว ทองเฟอ่ื ง หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี
1) การปฏิบตั เิ กีย่ วกับการรบั เงิน และการจ่ายเงนิ ให้ปฏบิ ัติตามระเบยี บที่กระทรวงการคลังกาหนด
คอื ระเบยี บการเก็บรกั ษาเงินและการนาเงนิ สง่ คลังในหน้าท่ีของอาเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศกึ ษาสามารถกาหนด
วธิ ีปฏิบตั เิ พ่ิมเตมิ ได้ตามความเหมาะสมแต่ต้องไม่ขดั หรือแยง้ กับระเบียบดังกล่าว
2) การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกาหนด
คอื ระเบยี บการเก็บรักษาเงินและการนาเงนิ ส่งคลังในสว่ นของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนุโลม
15. การนาเงินสง่ คลงั
ผู้รับผิดชอบ นางอโนทัย ภโู ปร่ง หนา้ ท่ีรับผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) การนาเงินส่งคลังให้นาส่งต่อสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ตาม
ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าท่ีของอาเภอพ.ศ. 2520 หากนาส่งเป็นเงินสดให้ต้ัง
คณะกรรมการนาส่งเงินด้วย

16. การจดั ทาบัญชีการเงิน
ผูร้ ับผดิ ชอบ นางอโนทัย ภูโปรง่ หน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้
1) ให้จัดทาบัญชีการเงินตามระบบที่เคยจัดทาอยู่เดิม คือ ตามระบบท่ีกาหนดไว้ในคู่มือการบัญชี

หน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544 แลว้ แตก่ รณี
17. การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงิน

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางอโนทยั ภูโปรง่ หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) จัดทารายงานตามทกี่ าหนดในคู่มือการบัญชีสาหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบ
การควบคุมการเงนิ ของหนว่ ยงานยอ่ ยพ.ศ. 2515 แลว้ แต่กรณี
2) จัดทารายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานกาหนด คือ ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการนา
เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลรายได้สถานศึกษาไป
จ่ายเปน็ คา่ ใช้จ่ายในการจัดการของสถานศึกษาท่เี ป็นนิตบิ ุคคลในสังกดั เขตพื้นทก่ี ารศึกษา

18. การจดั ทาและจดั หาแบบพิมพบ์ ัญชี ทะเบียนและรายงาน
ผู้รบั ผดิ ชอบ นางอโนทยั ภโู ปรง่ หนา้ ท่รี ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) แบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและแบบรายงานให้จัดทาตามแบบที่กาหนดในคู่มือการบัญชีสาหรับ

หน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคุมการเงนิ ของหน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2544


Click to View FlipBook Version