คู่มือการใช้โปรแกรม Quantum GIS
รวบรวมและจัดทาโดย
สถานภมู ิภาคเทคโนลอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
http://www.cgistln.nu.ac.th/web/
1|Page
สารบญั หนา้
3
บทที่ 1 ร้จู กั โปรแกรม Quantum GIS
การตดิ ต้งั โปรแกรม 4
7
บทที่ 2 การใชโ้ ปรแกรม Quantum GIS เบ้ืองตน้
Graphic User Interface ของโปรแกรม Quantum GIS 7
การนาเขา้ ข้อมลู Shapefile 8
การนาเขา้ ข้อมลู Raster 9
การเปล่ยี นสัญลักษณ์ Symbology 10
การแสดงป้ายขอ้ มลู และการกาหนดขอ้ มลู อักษร (Label Feature) 12
การใหส้ ัญลกั ษณข์ อ้ มลู แผนท่ี (Legend Type) 15
วธิ กี ารใหค้ ่าสัญลักษณ์แบบแยกสีตามคา่ (Unique Value) 16
วิธกี ารไลร่ ะดับสัญลักษณ์ (Graduate Symbol) 17
วธิ กี ารไลร่ ะดบั สี (Continuous Color) 18
20
บทที่ 3 กระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงพนื้ ท่ี
การค้นหาข้อมลู เชงิ พน้ื ท่ี (Spatial Search) 21
การนาเขา้ ขอ้ มลู และการกาหนดค่าพิกัดอา้ งองิ ทางภมู ศิ าสตร์ (Input Data and Georeferencing) 23
ขั้นตอนการนาเข้าข้อมูลจากเคร่อื ง GPS 24
ขั้นตอนการสรา้ งขอ้ มลู Shapefile แบบจดุ (Point) 28
ขั้นตอนการสร้างข้อมูล Shapefile แบบเส้น (Line) 33
ขนั้ ตอนการสรา้ งข้อมูล Shapefile แบบพ้นื ท่ี (Polygon) 35
ขัน้ ตอนในการการกาหนดคา่ พิกัดอา้ งองิ ทางภมู ศิ าสตร์ (Georeferencing) 37
ขน้ั ตอนการ Intersect 46
ขนั้ ตอนการ Union 48
ขั้นตอนการ Clip 49
ขั้นตอนการ Buffer 51
ขนั้ ตอนการทา Dissolve 53
ขัน้ ตอนการเรียกใชบ้ ริการข้อมลู แบบ WMS (Web Map Service) โดยใช้ QGIS 55
ขนั้ ตอนการเรยี กใช้บรกิ ารข้อมลู แบบ WFS (Web Feature Service) โดยใช้ QGIS 59
61
บทท่ี 4 การจัดทาแผนท่ี Layout (Layout Creating)
องคป์ ระกอบพื้นฐานของแผนที่ 61
ขั้นตอนการสร้าง Map Layout 62
2|Page
บทท่ี 1
ร้จู กั โปรแกรม Quantum GIS
Quantum GIS หรือ QGIS เป็นโปรแกรม Desktop GIS ประเภทหน่ึงท่ีมีประสิทธิภาพในการ
นามาใช้จัดการข้อมูลปริภูมิ จัดอยู่ในกลุ่มของซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Free and Open Source Software:
FOSS) ที่ใช้งานง่าย ลักษณะการใช้งานเป็นแบบ Graphic User Interface ซึ่งสะดวกต่อการใช้งาน ไม่
ว่าจะเป็นการเรียกใช้ข้อมูลภาพ ข้อมูลตาราง การแสดงผลตาราง การแสดงผลกราฟ ตลอดจนสามารถ
สืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มลู และนาเสนอขอ้ มูลได้ในรูปแบบแผนทท่ี ส่ี วยงาม
ในปี คศ. 2002 กลุ่มนักพัฒนาจากเยอรมัน ได้พัฒนา Desktop GIS ท่ีช่ือ Quantum GIS ท่ี
สามารถเรียกใช้ข้อมูลเวกเตอร์ ราสเตอร์ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานแพร่หลาย เช่น Shapefile และ
GeoTIFF QGIS สามารถแก้ไข Shapefile Format ได้ซ่ึงเป็นที่ต้องการมากในเวลานี้ QGIS พัฒนาบน
พ้ืนฐานของ Qt ท่ีเป็นไลบรารี่สาหรับ Graphical User Interface (GUI) ที่ใช้งานได้ทั้ง UNIX, Window
และ Mac การพัฒนาใช้ภาษา C++ เป็นหลัก นอกจากน้ัน QGIS ยังสามารถเช่ือมต่อกับ Spatial
RDBMS เช่น PostGIS/PostgreSQL สามารถอ่านและเขียนฟีเจอร์ท่ีเก็บใน PostGIS ได้โดยตรง
สามารถเชื่อมต่อกับ GRASS ได้ทาให้สามารถเรียกดูข้อมูลท่ีจัดเก็บใน GRASS โดยตรง และสามารถ
เรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ ของ GRASS ได้ สนับสนุนการวิเคราะห์เชิงพ้ืนที่ (Spatial Analysis) ในเบื้องต้น
และการแสดงผลข้อมูลเชิงตาแหน่งในรูปแบบของแผนท่ี การสร้างและการแก้ไขข้อมูลเชิงตาแหน่ง
(Spatial Data) และขอ้ มลู ตาราง (Attribute Data) สามารถจัดการข้อมูลได้ง่ายโดยเครื่องมือตาม GUI ท่ี
กาหนดไว้ และนอกจากนี้ยังสามารถเขียนโปรแกรมเพ่ิมเติมด้วย Script ท่ีเป็นภาษา Python ได้อีกด้วย
ซ่งึ ผู้ทสี่ นใจโปรแกรมทางด้าน GIS สามารถ Download โปรแกรมมาใช้ได้ที่ www.qgis.org
3|Page
หนา้ จอการทางานของโปรแกรม Quantum GIS
การติดตัง้ โปรแกรม
1. ทาการดาวน์โหลดโปรแกรม Quantum GIS จาก URL: http://www.qgis.org/wiki/Download
2. เม่ือดาวนโ์ หลดเสร็จแลว้ ใหด้ ับเบิลคลิกไฟล์ QGIS-OSGeo4W-1.5.0-14109-Setup.exe เพ่อื ทาการ
ตดิ ตั้งโปรแกรม จากน้ัน คลกิ Next
4|Page
3. ในสว่ น License Agreement เปน็ การยอมรับลขิ สทิ ธ์ิของโปรแกรม แลว้ คลกิ I Agree
4. จากนน้ั โปรแกรมจะถามวา่ ตอ้ งการท่ีจะติดตั้งไว้ทไี่ หน ในสว่ นน้ีไมต่ ้องทาอะไรใหค้ ลกิ Next
ไปไดเ้ ลย
5|Page
5. ในส่วนน้ีโปรแกรมจะถามว่า คุณต้องการที่จะเลอื กตดิ ตงั้ สว่ นประกอบอะไรบ้าง ในสว่ นนี้ไม่ตอ้ งเลือก
ให้คลิก Install เพื่อเร่มิ ทาการติดต้งั โปรแกรม
6. เม่อื ทาการติดตงั้ โปรแกรมเสร็จแลว้ ให้คลกิ ท่ปี ุม่ Finish
7. ทดลองเปิดโปรแกรม Quantum GIS โดยไปท่ี Start>>All Program >> Quantum GIS Tethys >>
Quantum GIS (1.5.0) หรือดบั เบิลคลกิ ไอคอนท่ี หนา้ จอ Desktop กไ็ ด้ ถา้ ไดด้ ังรูปข้างล่างน้ีกถ็ อื ว่าเป็น
การติดต้งั ทเ่ี สร็จสมบรูณ์แล้ว
6|Page
บทที่ 2
การใชโ้ ปรแกรม Quantum GIS เบ้ืองตน้
Graphic User Interface ของโปรแกรม Quantum GIS
Menu Bar
Tools Bar
Map Display
Layers
Overview
Map Coordinate at mouse curser position Current Map Scale Project Properties
1. Menu Bar คือ แถบเมนูเป็นที่เก็บคาสั่งท้ังหมดของโปรแกรม การเรียกใช้งานแถบเมนูทาได้โดยการ
เลื่อนเมาสม์ าวา่ งทีช่ อ่ื เมนูท่ีต้องการเปิด แล้วเล่ือนเมาส์ไปตามรายการคาส่ัง เมื่อต้องการใช้ คาส่ังใด ๆ
ก็ให้คลิกเมาส์ที่คาสั่งน้ัน โปรแกรมก็จะทาการเรียกใช้งานคาส่ังน้ัน ๆ ถ้าคาส่ังนั้นมีเมนูย่อย ๆ
7|Page
โปรแกรมกจ็ ะแสดงรายการคาสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป ซ่ึงมีคาส่ังทั้งหมดได้แก่ File, Edit, View,
Layer, Settings, Plugins, Vector และ Help
File Manage Layers Plugins Map Navigation
Attributes Digitizing and Advanced Digitizing GRASS
2. Tools Bar คอื แถบเครอื่ งมอื เป็นสัญลกั ษณ์ (Icon) ที่ใช้แทนคาส่งั ตา่ ง ๆ แถบเคร่ืองมอื ทโี่ ปรแกรม
ได้จัดเตรยี มไวใ้ หน้ ้ันมีอยู่มากมายหลายชดุ ดว้ ยกัน แต่แถบเครอ่ื งมือเหลา่ นี้จะไม่ได้ถูกแสดงใหเ้ ห็น
ท้ังหมดในโปรแกรม
3. Layers คอื เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ แต่ละประเภทของช้ันข้อมลู ตามสญั ลักษณ์ ซง่ึ มีลกั ษณะเหมือนกบั
สารบัญบลอ็ ก (Table of Content: TOC) ของ ArcGIS Desktop, ArcView
4. Overview คือ การแสดงภาพรวมท้งั หมดของแผนที่ (Map Display)
5. Map Display คอื การแสดงแผนที่ ทีเ่ ราได้ทาการนาเขา้ ข้อมลู มาในแต่ละประเภท
6. Map Coordinate at mouse curser position คือ แสดงคา่ พิกัดบนแผนที่ เม่ือเราเล่อื นเมาสไ์ ปท่ใี น
บรเิ วณ Map Display ค่าพิกดั กจ็ ะเปลี่ยนไปด้วย
7. Current Map Scale คอื มาตราส่วนแผนที่
8. Project Properties คอื การกาหนดคณุ สมบัติของเส้นโครงแผนท่ี
การนาเข้าข้อมูล Shapefile
คลิกปมุ่ Add Vector Layer บนแถบ Tools Bar เพอ่ื เลอื กช้นั ข้อมลู ที่ต้องการ มาแสดงผลบน Map
8|Page
Display ซ่งึ การนาเขา้ ขอ้ มลู มที ั้งหมด 3 แบบ คอื จุด (Point), เส้น (Line), พ้นื ที่ปดิ (Polygon)
การนาเข้าขอ้ มูล Raster
คลกิ ปมุ่ Add Raster Layer บนแถบ Tools Bar เพอื่ เลอื กข้อมลู ทีเ่ ปน็ ภาพถา่ ยดาวเทียม,
ภาพถ่ายทางอากาศ, ข้อมูลจาลองความสูงเชงิ เลข (DEM)
9|Page
การเปลีย่ นสัญลักษณ์ Symbology
การปรับแตง่ สญั ลักษณส์ ามารถทาได้โดย คลิกขวาบนช้ันข้อมูลที่ตอ้ งการปรับเปลี่ยนคณุ สมบัติ แล้ว
เลือกคาสั่ง Properties
10 | P a g e
เลือกแถบคาสงั่ Symbology ให้ Legend type เปน็ Single Symbol จากนั้นก็เลอื กปรับเปลย่ี นสไี ด้
ตามใจชอบ แล้วกดปุม่ OK
** ช้ันข้อมูลประเภท เส้น หรือ พื้นทีป่ ดิ ก็สามารถปรับเปลี่ยนคุณสมบัตใิ นลักษณะเดียวกนั
11 | P a g e
การแสดงป้ายข้อมูลและการกาหนดข้อมูลอักษร (Label Feature)
การแสดงปา้ ยข้อมูลสามารถทาไดโ้ ดย คลกิ ขวาทชี่ น้ั ข้อมลู ท่ตี ้องการ แลว้ เลอื กคาส่งั Properties
จากนน้ั จะปรากฏหน้าตา่ ง Layer properties ขึ้นมา ให้เลือกแถบคาสั่ง Labels จากน้นั ให้ติกกากบากที่
ชอ่ ง Display labels
12 | P a g e
ในส่วนของ Tab : Label Properties จะมกี ารกาหนดค่าอยู่ 5 ส่วน ได้แก่
1. Basic label options
Field containing label: เปน็ Drop-Down list ให้เราเลอื ก Field ท่ีต้องการจะแสดงปา้ ยข้อมูล
Default label: เป็นการกาหนดค่า Default ให้กับ Field ทตี่ อ้ งการจะแสดงป้ายขอ้ มูล
Font size: เปน็ การกาหนดขนาดของตวั อกั ษร
2. Placement เปน็ การกาหนดตาแหน่งของการแสดงป้ายขอ้ มูล
3. Use scale dependent rendering
เป็นการกาหนดใหแ้ สดงป้ายขอ้ มลู ตามค่ามาตราสว่ น (scale) ทก่ี าหนดไว้
4. Buffer label
เปน็ การสร้างพน้ื หลังให้กบั ป้ายข้อมลู
13 | P a g e
5. Offset
เป็นการ Offset ของปา้ ยข้อมูล จะเป็นการขยบั ตัวอักษรเล่อื นออกจากตาแหน่งข้อมูล
หลังจากที่ทาการตง้ั ค่าเสร็จแลว้ กจ็ ะได้ ดงั ภาพขา้ งล่างน้ี
14 | P a g e
การให้สญั ลกั ษณ์ขอ้ มลู แผนที่ (Legend Type)
ช้ันข้อมลู ตา่ งๆ เมอ่ื นาเข้าในช่อง Layers หรือ TOC (Table of Content) จะแสดงเป็นสัญลกั ษณเ์ ดียว
ผู้ใช้สามารถใหส้ ญั ลกั ษณ์กบั ช้นั ข้อมลู ได้ตามลกั ษณะข้อมูลและความเหมาะสม เปลี่ยนสัญลกั ษณ์ไดท้ ่ี
แถบคาส่งั Symbology การใหส้ ญั ลกั ษณะข้อมูลสามารถแบง่ ข้อมลู ได้ 2 ประเภทคือ
1. ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ สญั ลกั ษณท์ ่ใี ห้กับขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพ ได้แก่
- การใหค้ ่าสัญลักษณร์ ูปแบบเดยี ว (Single Symbol) เป็นค่าเริ่มต้น (Default) ของโปรแกรม
- การใหค้ ่าสัญลกั ษณ์แบบแยกสตี ามค่า (Unique Value) เป็นการใหส้ ัญลกั ษณใ์ นแต่ละรูปร่าง
ซ่ึงแสดงออกมาแตกตา่ งกันตามค่าในฟลิ ดใ์ นตารางท่ีใช้กาหนด
2. ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ สัญลักษณ์ทใ่ี หก้ บั ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่
- การไลร่ ะดับสัญลักษณ์ (Graduate Symbol) เป็นการให้ขนาดสัญลักษณ์แกข่ ้อมูลเชิงปริมาณ
ท่ีแบ่งเป็นอันภาคชั้น
15 | P a g e
- การไล่ระดับสี (Continuous Color) เป็นการใหส้ ัญลกั ษณโ์ ดยการใหส้ ไี ลร่ ะดบั ไปตามคา่ ของ
ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณน้ันๆ
วธิ ีการให้คา่ สญั ลักษณแ์ บบแยกสตี ามค่า (Unique Value)
เมือ่ เราได้นาเข้าขอ้ มูลแต่ละประเภทมาแลว้ จากน้ันเรากจ็ ะเปล่ยี นสญั ลกั ษณ์แบบค่าสัญลักษณ์
แบบแยกสตี ามค่า โดยคลิกขวาบนช้ันขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการปรบั เปลี่ยนคุณสมบตั ิ แลว้ เลอื กคาส่งั Properties
16 | P a g e
ผลลพั ธ์ท่ไี ดท้ กุ ๆ รฐั มีสที ่ไี ม่ซา้ กัน คือ 1 รัฐ แสดง 1 สี
วธิ ีการไล่ระดบั สญั ลักษณ์ (Graduate Symbol)
17 | P a g e
ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ คือ ขนาดของสัญลกั ษณ์จะมขี นาด แตกตา่ งออกกนั ไป
วธิ ีการไล่ระดบั สี (Continuous Color)
18 | P a g e
ผลลพั ธท์ ไี่ ด้ คอื ในแต่ละเมอื งจะมีการไล่ระดบั สีไปตามค่าของขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ
19 | P a g e
บทท่ี 3
กระบวนการวิเคราะหข์ ้อมลู เชงิ พนื้ ท่ี
ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตรใ์ ชใ้ นการวิเคราะห์ปัญหาต้ังแต่ระดับง่ายไปถึงยาก ซึ่งโดยท่ัวไปเป็น
การแสดงผลระหว่างความสัมพันธ์ของโทโพโลจี (Topology) กับข้อมูลเชิงบรรยาย โดยไม่ต้องผ่าน
ขั้นตอนการทางานท่ียุ่งยาก เช่น การระบุข้อมูลเชิงบรรยายของกราฟิก การวัดระยะทาง การคานวณ
พืน้ ที่ เป็นต้น หรือแม้กระท่ังการวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อน การค้นหาผลการซ้อนทับปัจจัย การวิเคราะ
เส้นทางเข้าถึงท่ีใกล้ท่ีสุด การวิเคราะห์พ้ืนที่เหมาะสมในการสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือการพยากรณ์แนว
โน้นความเปล่ยี นแปลง เปน็ ตน้
ในบทเรียนนี้ ได้นาเสนอฟังก์ชันการทางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เบื้องต้นและ
อยา่ งงา่ ย ตามลกั ษณะการทางานได้ 3 กลมุ่ หลกั คือ
1. การค้นหาข้อมูลเชงิ พื้นที่ (Spatial Search)
- Query
- Identify
2. การนาเขา้ ขอ้ มูลและการกาหนดคา่ พิกดั อ้างอิงทางภมู ศิ าสตร์ (Input Data and
Georeferencing)
- การนาเขา้ ขอ้ มูลจากเครอื่ ง GPS
- การนาเข้าขอ้ มูลปรภิ ูมิ (Digitize)
- การกาหนดค่าพิกดั อ้างองิ ทางภมู ศิ าสตร์
3. การซอ้ นทับเชงิ พ้นื ท่ี (Spatial Overlay)
- Intersect
- Union
- Clip
4. การสรา้ งแนวกันชน (Buffer Operation)
- Buffer
- Dissolve
5. การใช้บริการข้อมลู ผา่ นระบบเครือขา่ ย
20 | P a g e
- การเรียกใชบ้ รกิ ารข้อมูลแบบ WMS (Web Map Service)
- การเรียกใชบ้ รกิ ารขอ้ มลู แบบ WFS (Web Feature Service)
1. การค้นหาขอ้ มูลเชิงพ้ืนที่ (Spatial Search)
1.1. การค้นหาหรือการให้ระบบช่วยสอบถามข้อมูล (Query) คือการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
โดยระบุสง่ิ ท่ีต้องการถามจากลักษณะท่ีผู้ศึกษาทราบ เช่น เราต้องการทราบว่า รัฐโคโลราโด (Colorado
State) อยตู่ รงสว่ นไหนของสหรัฐอเมรกิ า เป็นตน้
ขนั้ ตอนการ Query
1. เม่ือนาเข้าข้อมูล states.shp ขึ้นมาแล้ว อยากต้องการทราบว่ารัฐโคโลราโด อยู่ตรงส่วนไหน
ของสหรัฐอเมรกิ า สามารถทาได้โดย คลกิ ขวาทชี่ ้นั ข้อมูล states แล้วเลือก Query…
2. จากนั้นจะมีหน้าต่าง Query Builder ปรากฎข้ึนมา ในช่อง Field ให้ดับเบิลคลิก
STATE_NAME จากนั้นให้คลิกปุ่มเคร่ืองหมายเท่ากับ (=) แล้วที่ช่อง Value คลิกปุ่ม All จากนั้นให้
ดับเบลิ คลิกทค่ี าว่า Colorado แล้วคลกิ ที่ปุ่ม OK
21 | P a g e
ผลลัพธ์จากการ Query
1.2. การสอบถามข้อมูล (Identify) คือเป็นการค้นหาข้อมูลโดยเลือกจากส่วนท่ีเป็นกราฟิก
เพือ่ แสดงข้อมลู รายละเอยี ดที่ต้องการทราบ
ขน้ั ตอนการ Identify
1. คลิกเลอื กช้นั ข้อมลู states จากน้นั คลกิ ที่ปุ่ม คลกิ บนสว่ นทเ่ี ป็นกราฟกิ ของชั้นข้อมูล
states จะปรากฏหน้าตา่ ง Identify Results แสดงข้อมูลทีอ่ ธิบายรายละเอียด
22 | P a g e
2. การนาเข้าข้อมูลและการกาหนดคา่ พิกดั อ้างองิ ทางภมู ศิ าสตร์ (Input Data and
Georeferencing)
การนาเข้าข้อมูล (Input data) เป็นกระบวนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ การสร้าง
ฐานข้อมูลที่ละเอียด ถูกต้อง เป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งในการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซึ่ง
จาเป็นต้องมีการประเมินคุณภาพข้อมูล ท่ีจะนาเข้าสู่ระบบในเร่ืองแหล่งท่ีมาของข้อมูล วิธีการสารวจ
ข้อมูลมาตราส่วนของแผนท่ี ความถูกต้อง ความละเอียด พ้ืนท่ีที่ข้อมูลครอบคลุมถึงและปีท่ีจัดทาข้อมูล
เพือ่ ประเมินคณุ ภาพ และคกั เลือกข้อมลู ทจ่ี ะนาเข้าสรู่ ะบบฐานขอ้ มูล สาหรับขน้ั ตอนการนาเข้าข้อมูลเชิง
พ้ืนท่ีอาจทาได้หลายวิธี แต่ท่ีนิยมทากันในปัจจุบันได้แก่ การดิจิไทซ์ (Digitize) และการกวาดตรวจ
(Scan) ซ่ึงท้ัง 2 วิธีต่างก็มีข้อดี และข้อด้อยต่างกันไปกล่าวคือการนาเข้าข้อมูลโดยวิธีกวาดตรวจจะมี
ความรวดเร็วและ ถูกต้องมากกว่าวิธีการเข้าข้อมูลแผนที่โดยโต๊ะดิจิไทซ์และเหมาะสาหรับงานท่ีมี
ปริมาณมาก แต่การนาเข้าข้อมูลโดยการดิจิไทซ์จะส้นิ เปลืองค่าใช้จ่ายน้อยกว่าและเหมาะสาหรับงานที่มี
ปริมาณนอ้ ย
การใช้เคร่ืองอ่านพิกัด (Digitizer) เป็นการแปลงข้อมูลเข้าสู่ระบบโดยนาแผนท่ีมาตรึงบนโต๊ะ
และกาหนดจดุ อา้ งอิง (control point) อยา่ งน้อยจานวน 4 จุด แลว้ นาตัวช้ีตาแหน่ง (Cursor) ลากไปตาม
เสน้ ของรายละเอียดบนแผนท่ี
การใช้เคร่ืองกวาดภาพ (Scanner) เป็นเครื่องมือท่ีวัดความเข้มของแสงที่สะท้อนจากลายเส้น
บนแผนที่ ผลลัพธ์เป็นข้อมูลในรูปแบบแรสเตอร์ (raster format) ซ่ึงเก็บข้อมูลในรูปของตารางกริด
สี่เหล่ียม (pixel) ค่าความคมชัดหรือความละเอียดมีหน่วยวัดเป็น DPI : dot per inch แล้วทาการแปลง
ข้อมูลแรสเตอร์ เป็นข้อมูลเวกเตอร์ ท่ีเรียกว่า Raster to Vector conversion ด้วยโปรแกรม GEOVEC
for Microstation หรอื R2V
ส่วนการนาข้อมูลเชิงบรรยายที่จาแนกและจัดหมวดหมู่แล้ว นาเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลด้วย
แป้นพิมพ์ (Keyboard) สาหรับโปรแกรม ARC/Info จะจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของ dBase ด้วยคาสั่ง
Tables ส่วนโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลแบบ Relational data base ทั่วๆ ไปบนเครื่อง PC เช่น
FoxPro, Access หรือ Excel จาเป็นต้องแปลงข้อมูลให้เข้าอยู่ในรูปของ DBF file ก่อนการนาเข้าสู่
โปรแกรม ARC/Info
23 | P a g e
2.1 การนาเข้าข้อมูลจากเคร่ือง GPS คือ เป็นการนาเอาค่าพิกัดจากเครื่อง GPS ท่ีทาการวัด
ตาแหน่งของจุดท่ีต้องการสารวจแล้ว เราก็จะนาเอาค่าพิกัดในตาแหน่งต่างๆ มาทาการพิมพ์ใส่ใน
Notepad จากนั้นจะทาการบันทึกเป็น Text file และนาเขา้ ด้วยโปรแกรม QGIS
ขน้ั ตอนการนาเขา้ ขอ้ มลู จากเครอื่ ง GPS
1. ใส่ค่าพิกัดที่ได้จากเครื่อง GPS ในโปรแกรม Notepad โดยจะต้องมีสัญลักษณ์ “,” คั้นไว้ที่
เพอ่ื แทนเปน็ Column จากนั้นก็ Save ไวท้ โ่ี ฟลเ์ ดอรท์ ี่เราตอ้ งการจะเก็บไว้
2. ในส่วนของโปรแกรม QGIS โดยคลิกที่ปุ่ม Add Delimited Text Layer จากน้ันจะมี
หนา้ ต่างใหม่ขึ้นมา
24 | P a g e
3. จากน้ันให้คลิกที่ปุ่ม browse เพ่ือท่ีจะเลือกไฟล์ Text ท่ีได้ทาการบันทึกไว้ ท่ีช่ือว่า GPS.txt
กจ็ ะไดด้ ังภาพขา้ งล่างน้ี
4. ดังนน้ั จะได้ตาแหนง่ ค่าพิกัดจากเคร่อื ง GPS ดังภาพขา้ งล่าง
25 | P a g e
5. เม่ือลองเปิดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณท่ีเก็บค่าพิกัดจากเครื่อง GPS จะเห็นได้ว่า
ตาแหนง่ ค่าพกิ ัดตรงกับข้อมูลภาพถา่ ยดาวเทียม
6. จากนั้นทาการ Save ข้อมูลให้เป็นข้อมูลแบบ Shapefile โดยทาการคลิกขวาท่ีช้ันข้อมูล GPS >>
Save as… ดงั ภาพด้านล่าง
26 | P a g e
คลกิ ขวาทชี่ ้ันขอ้ มูล GPS
7. จากน้ันจะมีหน้าต่าง Save vector layer as… ปรากฏขึ้นมา ในช่อง Format: ให้เลือกเป็น
แบบ ESRI Shapefile ในช่อง Save as: ให้เลือกที่เก็บไฟล์เม่ือทาการบันทึกข้อมูลโดยคลิกที่ปุ่ม
Browse จากน้ันจะมีหน้าต่างใหม่ข้ึนมาแล้วทาการตั้งช่ือไฟล์จากนั้นคลิกท่ีปุ่ม Save gliH0แล้วก็คลิกท่ี
ปุ่ม OK ดังนัน้ เรากจ็ ะไดข้ อ้ มลู ที่เป็น Shapefile
8. จากนั้นลองทาการเปิดขอ้ มูลท่เี ราได้บันทกึ เป็บแบบ Shapefile ท่ชี อ่ื ว่า PointGPS.shp
27 | P a g e
2.2 การนาเข้าข้อมูลปริภูมิ (Digitize) จะเป็นการสร้างข้อมูล Shapefile ข้ึนมาใหม่แล้วจะทา
การดิจิไทซ์ (Digitize) ข้อมูล ซึ่งจะยกตัวอย่างในการสร้างข้อมูล ได้แก่ จุด (Point), เส้น (Line), พื้นที่
(Polygon)
ขัน้ ตอนการสรา้ งขอ้ มูล Shapefile แบบจุด (Point)
1. เร่มิ จากการสร้างข้อมูล Shapefile โดยไปที่เมนู Layer >> New >> New Shapefile Layer…
หรือจะใชว้ ธิ ลี ดั ท่แี ป้นพิมพ์คอื Ctrl+Shift+N ดังรปู
2. จากนนั้ จะปรากฏหนา้ ต่าง New Vector Layer ในสว่ นของ Type: ให้เลอื กแบบ Point
ประเภทของช้ันข้อมลู
กาหนดระบบพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์
การสร้างข้อมลู เชิงบรรยาย
รายการของขอ้ มลู เชิงบรรยาย
28 | P a g e
3. ส่วนในช่อง CRS ID ให้คลิกที่ปุ่ม Specify CRS เพ่ือท่ีจะกาหนดระบบพิกัดอ้างอิงทาง
ภูมิศาสตร์โดยกาหนดให้เป็น WGS84 UTM Zone 47N แล้วคลิก OK
4. สรา้ งข้อมูลเชิงบรรยายในสว่ น New Attribute หรือการสร้าง Filed (Column) ยกตัวอย่างเช่น
ใหส้ ร้างขึ้นมา 2 Field คอื ID และ Name ซ่งึ คา่ ทก่ี าหนดอยตู่ ารางด้านลา่ ง
Name Type Width Precision
ID Whole number 5 0
Name Text data 255 0
29 | P a g e
5. จากน้ันกก็ าหนดใสค่ า่ ขอ้ มูลเชงิ บรรยายตามที่กาหนดในตาราง ตามด้านลา่ งนี้
6. จากนน้ั ก็จะทาการตั้งช่อื ไฟล์ และทาการบนั ทึกในโฟล์เดอรท์ ่ีตอ้ งการ
30 | P a g e
7. จากนั้นก็จะได้ชน้ั ข้อมูล Shapefile แบบจุด (Point) ขึ้นมาใหม่ ดังภาพ
8. ได้ชั้นข้อมลู Shapefile แล้วจากนั้นกจ็ ะทาการ Digitize โดยคลิกท่ปี ุม่ Toggle editing
จากน้นั ก็จะสามารถเริ่มทาการนาเข้าขอ้ มูล (Digitize) ได้
31 | P a g e
9. เรม่ิ ทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) โดยใชป้ ุ่ม Capture Point แล้วคลกิ ไปยงั ตาแหน่ง
สถานที่ทตี่ ้องการได้ จากน้ันก็จะมหี น้าตา่ งให้ใส่ขอ้ มูล Attribute แลว้ ก็คลิก OK
32 | P a g e
10. ภาพการนาเข้าข้อมูลแบบจุด (Point) ทัง้ หมด
ขั้นตอนการสร้างขอ้ มลู Shapefile แบบเส้น (Line)
1. ในการสร้างข้อมลู Shapefie แบบเสน้ (Line) น้ีซ่งึ ขน้ั ตอนการสร้างช้ันขอ้ มูลใหม่ขึน้ มานั้นก็
เหมอื นกับการสร้างสรา้ งขอ้ มลู Shapefie แบบจดุ (Point) เพยี งแต่เปล่ียนประเภท (Type) เป็นแบบเสน้
ซงึ่ ในขั้นตอนตอ่ ไปนก้ี ็จะอธบิ ายแตใ่ นขน้ั ตอนการนาเข้าข้อมูล (Digitize) โดยคลิกท่ีป่มุ Toggle
editing จากนนั้ ก็จะสามารถเร่มิ ทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) ได้ โดยสามารถเลือกใช้เครื่องมอื ได้ตาม
ข่างลา่ งน้ี
Toggle editing Delete Selected
Save edit Cut Features
Capture Line Copy Features
Move Features
Node Tool 33 | P a g e
Paste Features
2. เรมิ่ ทาการนาเข้าขอ้ มลู (Digitize) โดยคลกิ ท่ปี ุ่ม Capture Line แล้วใชเ้ มาส์ทาการ
Digitize ไปตามเส้นถนน ทางรถไฟ แม่น้า หรือลักษณะทเ่ี ป็นแบบเส้น จากน้ันก็ใสข่ ้อมูล Attribure ใน
ช่องว่าง แล้วคลิกปมุ่ OK ตามดังรูปขา้ งล่าง
3. ภาพการนาเข้าขอ้ มลู แบบเส้น (Line) ทง้ั หมด
34 | P a g e
ขน้ั ตอนการสร้างข้อมูล Shapefile แบบพน้ื ที่ (Polygon)
1. ในการสร้างขอ้ มูล Shapefie แบบพนื้ ที่ (Polygon) นซ้ี ง่ึ ข้นั ตอนการสร้างชัน้ ขอ้ มูลใหมข่ น้ึ มา
นั้นก็เหมอื นกับการสรา้ งสร้างข้อมลู Shapefie แบบจุด (Point) เพียงแตเ่ ปลย่ี นประเภท (Type) เปน็
แบบพื้นที่ (Polygon) ซงึ่ ในขั้นตอนตอ่ ไปนกี้ ็จะอธบิ ายแตใ่ นขนั้ ตอนการนาเข้าข้อมูล (Digitize) โดยคลกิ
ท่ีปุม่ Toggle editing จากนัน้ ก็จะสามารถเร่ิมทาการนาเข้าขอ้ มูล (Digitize) ได้ โดยสามารถ
เลอื กใช้เคร่อื งมือไดต้ ามข่างลา่ งนี้
Toggle editing Delete Selected
Save edit Cut Features
Capture Polygon Copy Features
Move Features
Node Tool Paste Features
2. เร่ิมทาการนาเข้าข้อมูล (Digitize) โดยคลกิ ทป่ี ุ่ม Capture Line แล้วใชเ้ มาสท์ าการ
Digitize ไปตามรปู อาคาร ตึก สิ่งก่อสร้าง หรอื ลักษณะที่เปน็ แบบพ้ืนที่ จากนัน้ กใ็ ส่ข้อมลู Attribure ใน
ช่องว่าง แล้วคลกิ ปุ่ม OK ตามดังรปู ข้างล่าง
35 | P a g e
3. ภาพการนาเขา้ ขอ้ มูลแบบเสน้ (Line) ท้งั หมด
4. แสดงภาพรวมการนาเข้าขอ้ มลู ทงั้ หมด 3 แบบ คือ จุด (Point), เส้น (Line) และพนื้ ที่
(Polygon)
36 | P a g e
2.3 การกาหนดค่าพิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Georeferencing) เป็นการกาหนดจุดบังคับ
ภาคพื้นดิน (Ground Control Point: GCP) ให้กับข้อมูลที่ยังไม่มีค่าพิกัดนั้นและแปลงเป็นข้อมูลท่ีมีค่า
พิกัดอ้างอิงทางภูมิศาสตร์ เช่น ข้อมูลท่ีได้จากการกวาดภาพ (Scan) ภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial
Photo) ภาพถ่ายดาวเทียม (Image Satellite) และภาพท่ีจะการ Capture จากโปรแกรม Google Earth
ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ีถ้าไม่ค่าพิกัดอ้างอิงก็เป็นเพียงภาพกราฟิกธรรมดา นอกจากน้ีการปฏิบัติงานทางด้าน
ภูมิสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจระยะไกลน้ัน จะต้องดาเนินงานบนพื้นฐานของ
ขอ้ มูลที่คา่ พิกัดอ้างองิ เทา่ น้นั
ขน้ั ตอนในการการกาหนดคา่ พิกัดอ้างองิ ทางภูมิศาสตร์ (Georeferencing)
37 | P a g e
1. เมอื่ เปดิ โปรแกรม QGIS ขึ้นมาแลว้ จากน้ันกเ็ ปิดข้อมูลภาพท่ไี ด้จากการ Capture จาก
โปรแกรม Google Earth ทยี่ ังไม่มีค่าพกิ ัด ข้ึนมาดังภาพ
2. จากน้ันเร่ิมทาการการกาหนดค่าพกิ ดั อา้ งองิ ทางภูมิศาสตร์ โดยคลิกทปี่ ุ่ม
Georeferencer จะปรากฏหน้าตา่ งให้ข้นึ มา ดังภาพด้านล่าง
38 | P a g e
ชดุ เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการกาหนดคา่ พกิ ัดอา้ งอิงทางภมู ศิ าสตร์ มดี งั นี้
39 | P a g e
3. ทาการเปิดข้อมลู ภาพข้ึนโดยคลกิ ท่ีปุ่ม Open Raster ดังภาพข้างล่างน้ี
4. เน่อื งจากเราได้เตรียมคา่ ตาแหน่งจดุ บังคบั ภาคพื้นดิน: GCP ไว้ให้ทั้งหมด 4 จดุ ซึ่งเกณฑ์
การกาหนดจดุ บงั คับภาคพื้นดิน: GCP จะต้องอย่างนอ้ ย 4 จุด
40 | P a g e
5. จากนนั้ ก็คลกิ ที่ป่มุ Add Point เพอ่ื ทจี่ ะใส่ค่าพกิ ัดอ้างองิ เขา้ ไปยงั ตาแหน่งจดุ บังคบั
ภาคพ้ืนดิน: GCP ของทงั้ 4 จุด
Zoom In เข้าไปยัง
ตาแหนง่ จดุ บังคบั
ภาคพ้นื ดนิ : GCP
ท่ตี อ้ งการจะใส่คา่
พิกัด
ตาแหน่งท่ี 1
จากนั้นคลิกปุ่ม Add
Point แล้วคลกิ ไปยัง
ตาแหนง่ จดุ บงั คับ
ภาคพนื้ ดิน : GCP
จะปรากฏหน้าต่างให้
ใส่คา่ พิกดั X, Y แล้ว
คลกิ OK
41 | P a g e
ตาแหน่งท่ี 2
ตาแหนง่ ท่ี 3
42 | P a g e
ตาแหนง่ ท่ี 4
6. เมอ่ื ทาการใส่คา่ พกิ ัดครบทัง้ 4 จดุ แล้วก็จะไดด้ ังภาพข้างลา่ งนี้
43 | P a g e
7. ไปที่เมนู Setting >> Transformation setting จากนั้นจะปรากฏหน้าใหม่ขึ้นมา
Transformation type : ใหเ้ ลือกเปน็ แบบ Polynomial 1
Resampling method : ให้เลอื กเปน็ แบบ Nearest neighbour
Compression : ให้เลอื กเปน็ แบบ NONE
Output raster : เป็น path ที่เราเลือกเก็บขอ้ มลู ภาพว่าจะเกบ็ ไวท้ ีไ่ หน
Target SRS : ให้คลกิ ท่ีปมุ่ เพื่อทีจ่ ะเขา้
ไปเลือก Projection (เส้นโครงแผนท่ี) เปน็ แบบ
WGS 84 / UTM Zone 47N ดงั ภาพข้างลา่ ง
แลว้ คลกิ ปมุ่ OK
44 | P a g e
8. เมอื่ ทาการตง้ั ค่าเสร็จแลว้ ให้คลกิ ทป่ี มุ่ Start Georeferencing จากน้ันก็การ
ประมวลผลสักครู่ ดังภาพขา้ งล่าง
9. เมอื่ ทาการประมวลผลเสรจ็ แลว้ ก็ใหป้ ดิ หน้าต่างการทา Georeferencer น้ีเลย จากน้ันก็ให้
ลองเปดิ ภาพท่เี ราทาการใส่คา่ พกิ ดั ขน้ึ มาแลว้ ลองสงั เกตที่ Map Coordinate at mouse curser position
ซึ่งเหน็ ได้ว่าจะมคี ่าพกิ ัดอ้างอิงทีถ่ กู ตอ้ งแล้ว
45 | P a g e
10. จากนั้นเราลองเปดิ ช้ันข้อมูล Vector (Shapefile) ของบริเวณพื้นท่ีน้นั มาซ้อนทับดวู า่ จะ
ซอ้ นทบั กันหรือไม่ เพอ่ื เปน็ การทดสอบความถูกต้องไปในตัวด้วย
46 | P a g e
3. การซ้อนทับเชิงพน้ื ที่ (Spatial Overlay)
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นท่ีส่วนใหญ่ ผู้ศึกษาจาเป็นต้องวิเคราะห์ความสัมพัน์ระหว่างปัจจัย
มากกว่า 1 ปจั จัย วิธกี ารท่นี ิยมใช้ตอบโจทย์ปัญหาเชิงพ้นื ที่ลักษณะดังกล่าว คือ “การซ้อนทับชั้นข้อมูล”
ซึ่งเป็นการกระทาระหวา่ งช้ันข้อมูลมากกวา่ กรือเท่ากบั 2 ชัน้ ข้อมลู ขนึ้ ไป
3.1. Intersect คอื เปน็ การซ้อนทับ (Overlay) ข้อมูลระหว่าง 2 ช้ันข้อมูล โดยชั้นข้อมูลผลลัพธ์
(Output) จะเป็นข้อมูลที่อยู่ท้ังขอบเขตพื้นที่ของทั้ง 2 ช้ันข้อมูล ซ่ึงจะไม่มีขอบเขตเกินจากข้อมูล
ท้ัง 2 ชน้ั ข้อมลู
ขั้นตอนการ Intersect
1. เปิดช้ันข้อมูลท่ีชื่อว่า lakes และ counties ขึ้นมา จากนั้นให้ไปที่เมนู Vector >>
Geoprocessing Tools >> Intersect
47 | P a g e
2. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง Intersect ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น lakes ส่วน
Intersect layer เลือกเป็น counties จากนน้ั กเ็ ลอื กท่ีเก็บ Output shapefile แล้วกค็ ลกิ OK
ผลลัพธ์ของการ Intersect
48 | P a g e
3.2. Union คือ เปน็ ฟงั กช์ นั ทางคณิตศาสตร์ท่เี กดิ จากการสนใจพน้ื ทีข่ องวตั ถุท่ีซ้อนกันมากกว่า
2 พ้นื ที่ โดยรวมคุณลกั ษณะทัง้ หมดของช้นั ข้อมูลนาเข้าทัง้ สองไว้ด้วยกัน และสร้างเป็นข้อมูลใหม่ ซ่ึงข้อ
มุลทั้งหมดจะต้องเป็น Polygon เท่านั้น ท้ังนี้การเลือกข้อมูลนาเข้าหรือช้ันข้อมูล ที่ใช้ซ้อนทับสามารถ
สลับกันได้ โดยไมม่ ผี ลตอ่ ผลลัพธ์
ขั้นตอนการ Union
1. เปิดชั้นขอ้ มลู states และ counties ขึน้ มา จากนั้นให้ไปท่ีเมนู Vector >> Geoprocessing
Tools >> Union
2. จากน้ันจะปรากฏหน้าต่าง Union ขึ้นมา เลือก Input vector layer เป็น lakes ส่วน Union layer
เลอื กเป็น states จากนนั้ ก็เลอื กท่ีเกบ็ Output shapefile แลว้ ก็คลกิ OK
49 | P a g e
ผลลัพธ์ของการ Union
50 | P a g e