The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เบส รอบเดือน ต.ค 64ถึง64-มี.ค.65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หทัยมาศ, 2022-04-23 11:34:34

Best Practice กศน.ตำบลพืชอุดม

เบส รอบเดือน ต.ค 64ถึง64-มี.ค.65

กศน. ตำบลพชื อดุ ม อำเภอลำลกู กำ จงั หวัดปทุมธำนี

นางสาวหทยั มาศ ม่งุ พ่ึงกลาง

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอลาลูกกา
สานกั งาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั ปทุมธานี

คํานํา

กศน.ตาํ บลพืชอุดม ได้จัดทํารายงานผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ี (Best Practice) ชือ่ ผลงาน แหลง่ เรียนรู้วัดพืช
อุดม โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพื่อเปน็ แหลง่ เรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมทศั นศึกษาและเรื่องราวความจรงิ
ของชีวิต คณะทํางานฝ่ายประเมินผล ขอขอบคณุ ผู้บรหิ าร คณะครูที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชน
ตาํ บลพืชอุดมทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนในการดําเนนิ กิจกรรมสาํ เรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่า
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั งิ านที่ดี (Best Practice) ฉบบั นี้ จะสามารถเป็นข้อมลู ในการพัฒนาการจดั

กิจกรรมครั้งต่อไปให้สมบูรณ์ยิง่ ข้ึน

กศน.ตาํ บลพืชอุดม

สารบญั

คานา หนา้
1. ความสอดคล้อง ๑

๒. ความเปน็ มาและความสาคญั ๒

๓. วตั ถปุ ระสงค์ ๓

๔. กลุ่มเป้าหมาย ๔

๕. ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ๔

6. ผลการดาเนนิ งาน ๕

7. บทเรยี นทไ่ี ด้รับ

8. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ

9. ขอ้ เสนอแนะ

10. การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ท่ีไดร้ ับ

11. เอกสารอา้ งองิ

ภาคผนวก
ภาพกิจกรรม

สาเนาโครงการและเอกสารประกอบอ่ืนๆ

รายงานผลการปฏิบตั ิงานทีด่ ี ( Best Practice)
ชือ่ ผลงาน แหล่งเรียนรู้ชมุ ชนวัดพชื อุดม
ผเู้ สนอผลงาน นางสาวหทัยมาศ มุ่งพึ่งกลาง
ตาแหน่ง ครู กศน.ตําบล
สถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอลําลูกกา
สังกดั สํานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดปทมุ ธานี

1. ความสอดคล้อง
ตั้งแต่อดีตโบราณกาล คงไม่มีใครปฏิเสธว่า "วัด" เป็นที่พึ่งของชาวบ้าน เป็นศูนย์รวมของ

สรรพสง่ิ หลากหลายกิจกรรมอยู่ที่วัด แม้แต่เรื่องของการศึกษาเล่าเรียน จนเป็นที่มาของคําว่า บวชเรียน
แตใ่ นปัจจุบันดูเหมือนว่า "วัด" กลับมีบทบาทต่อชมุ ชนลดน้อยลง เหลอื เพียงแค่ภาพของการเป็นสถานที่จัด
พิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นงานบวช งานศพ หรืองานในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา
สว่ นภาพในบทบาทอื่นๆ ดูจะเลือนรางและนึกยากขึ้นทุกที่ ในอดีต ชาวบ้านมีความใกล้ชิดกับพระและวัด
ทาํ ให้ไดม้ ีโอกาสซึมซับหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา และได้รับการอบรมส่ังสอนจากพระผู้ทรงศีล แต่ใน
สังคมปัจจุบัน ด้วยข้อจํากัดหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการจราจรที่แออัด ช่วงเวลาที่ไม่เอื้ออํานวย ฯลฯ
ทาํ ให้การเข้าวัดของคนไทย กลายเป็นเรื่องยาก บางคร้ังการเข้าวัดแต่ละคร้ัง ต้องมีการวางแผน ใช่ว่านึก
อยากจะเข้าก็เดนิ เข้าไปได้ทนั ทีเหมือนก่อน แม้บางวัดพยายามรณรงค์ให้คนเข้าวัด ถึงกบั มีการเปิดให้เข้าไป
ทํากิจกรรมต่างๆ ในวัดช่วงเยน็ หรือคํา่ หลงั เลกิ งาน แตค่ นส่วนหนึง่ ก็ยังลําบากที่จะเข้าวัดอยู่ คนไทยเข้าวัด
น้อยลง โดยร้อยละ 66 เข้าวัดแค่ปีละ 1-2 ครั้ง, ร้อยละ 18 เข้าวัดในวันสําคัญทางศาสนา และมี
เพียงร้อยละ 2 ที่เข้าวัดทกุ วนั จึงไม่น่าแปลกใจทีน่ ิด้าโพลเคยสํารวจไว้เมื่อปี 2543 พบว่า คนไทยร้อยละ
79 ห่างไกลธรรมะ แตท่ ี่น่าตกใจยิง่ กว่ากค็ ือ ร้อยละ 44 ไมค่ ิดเข้าร่วมกิจกรรมในวันวิสาขบูชา หากไม่รีบ
หยุดย้ังความคิดแบบนี้ ในอนาคตจํานวนคนไทย ที่ไม่คิดร่วมกิจกรรมในวันสําคัญทางศาสนา ก็จะมีเพิ่ม
มากขึน้ ซึ่งเปน็ สถานการณ์ทีน่ ่าเปน็ ห่วงอย่างยิ่ง ท้ังที่วดั เป็นศูนย์กลางของศาสนา และประเทศไทยก็เป็น
เมืองพุทธ ทีส่ ําคัญของโลกด้วย"

2. ความเปน็ มาและความสาคญั
วัดพืชอุดม ตั้งอยู่เลขที่ 25 หมู่ 9 ตําบลพืชอุดม อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี

วดั พืชอดุ มสร้างข้ึนเมือ่ ราวปี พ.ศ. 2417 เดิมชื่อ “วัดราษฎร์ศรัทธาราม” เกิดขึ้นจากศรัทธาของสาธุชน
ในท้องถิ่นโดยมีนายแสง เอีย๋ ววัฒนะ อุทิศที่ดินเพื่อสร้างวดั จาํ นวน 12 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา และมีเถ้า
แก่เฮง เอีย๋ ว วัฒนะ นางแจ่ม เกสรบัว นายยศ นางเที่ยง ยอดเพช็ ร ร่วมบริจาคเงินอุปถมั ภ์กอ่ สร้างอุโบสถ
ไมเ้ นอื้ แข้งหลังแรก ตอ่ มาในสมยั พระอธิการช่วง พระธมมฺ โชติ เปน็ เจ้าอาวาสได้เปล่ียนชื่อมาเป็น “วัดพืช
อุดม” เนื่องจากบริเวณวัดและพื้นที่ใกล้เคียงกับวัดอุดมสมบูรณ์ด้วยไม้ผล ไม้ดอก และพืชพรรณ
ธญั ญาหารต่าง ๆ วดั พืชอดุ มมพี ระอาจารย์แดงเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมาวัดได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมทางทิศ
อีกจํานวน 7 ไร่ 1 งาน 83 ตารางวา ซึง่ ปจั จุบันเป็นที่ตั้งของพระอโุ บสถสถจตุรมุขหลงั ใหม่ รวมพ้ืนที่ของ
วดั ท้ังหมด 20 ไร่ ในปัจจุบันวัดพืชอุดมจัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมทัศนศึกษาทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้

เรือ่ งราวความจริง ของชีวิตที่มีชื่อเสยี งของจังหวัดปทมุ ธานี ได้สร้างวิหารพระเจ้าเปิดโลก ทีแ่ สดงเรือ่ งราว
ของสวรรค์ – นรก 31 ภมู ิ ไว้ให้ผู้สนใจได้เข้าชมศึกษา จัดภูมิทัศน์ให้ร่มรื่น สวยงาม เงียบสงบ เป็นที่พึ่ง
ทางจิตใจแด่สาธุชน

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตําบลพืชอุดม ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใน วัดพืช
อุดมมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมสําหรับคนทุกเพศทุกวัย การฟื้นฟูบทบาทของวัดให้เป็นศูนย์กลาง
ของชุมชนยงั มีส่วนสาํ คัญที่ช่วยพฒั นาเศรษฐกิจในท้องถิน่ ได้อีกด้วย เชื่อว่า หลายคนอาจคิดนึกทบทวนขึ้น
มาแลว้ ว่า ตนเองกําลังเหินห่างจากวัดอยหู่ รือไม่ อย่าให้ความเหินห่างกลายเป็นความเคยชิน ในขณะที่วัด
หลายๆ แห่ง ก็ไดท้ าํ หน้าทีเ่ ปน็ เสาหลักให้แก่ชุมชนในท้องถิ่นของตน ที่จะมาช่วยกันฟื้นฟูบทบาทของวัด
ให้กลบั มาเปน็ แหลง่ เรียนรู้ของชุมชนได้อยา่ งแท้จริง
3. วัตถุประสงค์

เพื่อเปน็ แหลง่ เรียนรู้สถานทีท่ ่องเทีย่ วเชิงธรรมทัศนศึกษาและเรื่องราวความจริงของชวี ิต
4. เป้าหมาย

เชิงปริมาณ ประชาชน ในตําบลพืชอุดม จาํ นวน 100 คน
เชิงคณุ ภาพ ประชาชน ในตําบลพืชอุดม สามารถเรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมทัศนศึกษาและ
เรือ่ งราวความจริงของชวี ิต
5. ขั้นตอนการดาเนนิ งาน

แนวปฏิบัติที่ดีด้าน แหล่งเรียนรู้วัดพืชอุดม ศึกษาเรียนรู้สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมทัศน
ศึกษาและเรือ่ งราวความจริงของชวี ิต มีขน้ั ตอนการดําเนนิ การดังนี้

1. สาํ รวจสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชน กลุ่มเป้าหมายประชาชนท้ังในตําบล
พืชอุดมและพนื้ ทีใ่ กล้เคียง ในเรือ่ งของสถานทีท่ ่องเทีย่ วเชิงธรรมทศั นศึกษาและเรอ่ื งราวความจริงของชีวิต
และความต้องการเรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิตจากแหลง่ เรียนรู้วดั พืชอดุ ม.ในดา้ นต่างๆ

2. ประชุม คณะครู กศน. คณะกรรมการชมรม เพื่อวิเคราะห์ วางแผน การดําเนินการจัด
กิจกรรม

3. ออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย
4. ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเรียนรู้จาดแล่งเรียนรู้วัดพืชอุดม ตามความเหมาะสม
ของแตล่ ะวัย
5. ประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย โดยการชุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามแหล่งเรียนรู้
วัดพืชอุดม
6. สรปุ ผลตวั อย่างตอบแบบสอบถามแหล่งเรียนรู้วัดพืชอุดม เพื่อนําผลที่ได้ไปพัฒนาปรับปรุง
การจดั กิจกรรมในครง้ั ต่อๆไป

P (Plan)
สํารวจสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชน กลุ่มเป้าหมายกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสม
สาํ หรบั คนทกุ เพศทกุ วยั

D (Do)
ครปู ระสานงานกับเครอื ข่าย กลุ่มเป้าหมาย ดําเนนิ การจดั กิจกรรม
- แหล่งเรียนรู้วัดพืชอุดม ซึ่งมีวิหารพระเจ้าเปิดโลก ที่แสดงเรื่องราวของสวรรค์ – นรก 31 ภูมิ
ไว้ให้ผู้สนใจได้เข้าชมศึกษา จัดภมู ิทศั น์ให้ร่มรื่น สวยงาม เงียบสงบ เปน็ ทีพ่ ึ่งทางจิตใจแด่สาธุชน

C (Check)
- ครูให้กลุ่มเป้าหมายทําแบบประเมินความพึงพอใจ ประเมินผลการจัดกิจกรรม แต่ละกิจกรรมของ
กลุ่มเป้าหมาย หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม

A (Action)
นําผลการประเมินจากกลุ่มเป้าหมายมาใช้ เพื่อพัฒนากิจกรรมเพื่อให้เหมาะสมและตรงกับ

ความตอ้ งการในการแก้ปญั หาของกลุ่มเป้าหมายในครงั้ ต่อๆไป
6. ผลการดาเนนิ งาน

ผลการดําเนินงานการจัดการศึกษาตามความต้องการของประชาชน กลุ่มเป้าหมายที่
หลากหลายเหมาะสมสําหรับคนทุกเพศทุกวัย

ประโยชน์ทีเ่ กิดกบั ผ้เู รยี น
ประชาชน กลุ่มเป้าหมายประชาชนตําบลพืชอุดมและพื้นที่ใกล้เคียงได้เรียนรู้เรื่องของสถานที่

ท่องเที่ยวเชิงธรรมทัศนศึกษาและเรื่องราวความจริงของชีวิตและความต้องการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตจาก
แหลง่ เรียนรู้วัดพืชอุดมในดา้ นต่างๆ
ประโยชนท์ ีเ่ กิดกับสถานศกึ ษา

แหล่งเรียนรู้วัดพืชอุดม ซึ่งมีวิหารพระเจ้าเปิดโลก ที่แสดงเรื่องราวของสวรรค์ – นรก 31 ภูมิ
ไว้ให้ผู้สนใจได้เข้าชมศึกษา จดั ภมู ิทศั น์ให้ร่มรืน่ สวยงาม เงียบสงบ เปน็ ที่พึ่งทางจิตใจแด่สาธุชน
ประโยชนท์ ีเ่ กิดกับเครือขา่ ย

สถานศึกษา มีเครือข่าย สังคม และชุมชน ได้ทําหน้าทีใ่ ห้แก่ชุมชนในท้องถิ่นของตน ฟื้นฟูบทบาท
ของวัดให้กลับมาเปน็ แหลง่ เรียนรู้ของชุมชนได้อยา่ งแท้จริง
7. บทเรยี นที่ได้รบั

ในการดาํ เนนิ การ ให้บรรลเุ ป้าหมายตามวตั ถปุ ระสงค์ทีว่ างไว้จะประสบความสําเร็จได้น้ัน ไม่ได้
เกิดขึ้นเพียงเพราะผู้หนึ่งผู้ใด หากแต่เกิดขึ้นจากการประสานความร่วมมือ ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐเอกชน ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่ให้ความสนใจร่วมกิจกรรม ต่างๆ ต้ังแต่การวางแผนการ
ดาํ เนนิ การ การประเมินผลการ และการนาํ ผลการมาใช้ในการพัฒนาในการจดั กิจกรรมในครง้ั ต่อๆ ไป
ซึง่ เห็นได้จาก ทุกภาคส่วนล้วนมีความสําคัญ ที่ต้องทําด้วยความพร้อมเพียงกัน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ของงานที่ไดม้ ีการพฒั นาและตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนอย่างแท้จริง

8. ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็
- ได้รับความร่วมมือ เครือข่าย ผู้นําชุมชน อบต.ตําบลพืชอุดม กลุ่มเป้าหมายประชาชน

ตาํ บลพืชอดุ มและพนื้ ที่ใกล้เคียงในการเข้าร่วมกิจกรรม
9. ข้อเสนอนะ

- ควรมีการการฟืน้ ฟูบทบาทของวัดให้เปน็ ศนู ย์กลางแหลง่ เรียนรู้ของชมุ ชนให้มีมีส่วนสําคัญที่
ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจในท้องถิ่นได้
10. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ/รางวลั ทีไ่ ดร้ ับ

ชาวบ้านมีความใกล้ชิดกับพระและวัด ทําให้ได้มีโอกาสซึมซับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
และได้รบั การอบรมส่งั สอนจากพระผู้ทรงศีล ในสังคมปจั จบุ ันได้เรียนรู้เรื่องของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรม
ทัศนศึกษาและเรื่องราวความจริงของชีวิตและความต้องการเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตจากแหล่งเรียนรู้วัดพืช
อดุ ม ในดา้ นต่างๆ โดยผ่านส่ือโชเชียลมีเดีย ทางไลน์ในการติดต่อส่ือสารกัน ทําให้แสดงออกซึ่งพลังการ
เรียนรู้ในรูปแบบของการศึกษา ให้กับหน่วยงาน องค์กรอื่นๆ ที่เดนิ ทางมาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง
11. เอกสารอ้างอิง

https://web.facebook.com/pages/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E
%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A1/1895
78674413223

ภาพประกอบแหลง่ เรียนร้วู ดั พชื อดุ ม

ภาพประกอบแหลง่ เรียนร้วู ดั พชื อดุ ม

ภาพประกอบแหลง่ เรียนรู้วดั พืชอดุ ม
ภาพประกอบแหล่งเรียนร้วู ัดพชื อดุ ม

อ.มังกร พนั เศียร เดนิ ทางมาร่วมจุดเทยี นบชู าพระราหู และเมตตาได้นาสวดขอพร และวธิ ีขอพร
ให้ไดด้ ง่ั ใจหวงั กบั ญาตโิ ยมทีม่ าปฏิบตั ธิ รรมรักษาศีลทว่ี ัดพืชอุดม กราบอนุโมทนากับอาจารยม์ ังกร ทบ่ี ันทึกเทป
เพอ่ื เผยแพร่บอกเล่าวิธีการบูชาเทียนโชคลาภพระราหู

ภาพประกอบแหลง่ เรยี นรู้วัดพชื อดุ ม



นายวีรยทุ ธ์ แสงสริ ิวฒั น์ ผ้เู ขยี น

ผ้อู านวยการ กศน. อาเภอเมืองปทมุ ธานี รกั ษาการในตาแหน่ง
ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอลาลกู กา

นางอนตุ รา อัครอารีสุข บรรณารกั ษช์ านาญการ
นางสาววาสนา ริดเอยี่ ม ครูผชู้ ว่ ย
นางนภารัตน์ จงั คลา้ ยกลาง ครู อาสาสมคั ร กศน.
นางสาวสุภาวดี เสมอใจ ครู อาสาสมัคร กศน.
นางสาวนภิ าพร ใจปทมุ ครู อาสาสมคั ร กศน.
นายบันดาล พาละฤทธ์ิ ครู กศน.ตาบล
นางสาวชนกพร มนัส ครู กศน.ตาบล
นางสาวสิริรตั น์ มีภาคสม ครู กศน.ตาบล
นายประพนธ์ อุนานุยา ครู กศน.ตาบล
นางสาวพชิ ามญชุ์ นวลเปยี น ครู กศน.ตาบล
นางสุพรรณี วงษ์สดุ ครู กศน.ตาบล
นายพรชัย พราหมวงษ์ ครู กศน.ตาบล
นางสาวหทัยมาศ มุ่งพึ่งกลาง ครู กศน.ตาบล
นางสาวจุฑามาศ เรอื งศิริ ครู ศรช.
นางสาวณัฐธยา อินสูง ครู ศรช.
นางสาวประภาพร ยิ้มใย ครู ศรช.
นางสาวดวงกมล กองธรรม ครู ศรช.
นายศกั ด์ชิ ยั คาสีเขยี ว ครู ศรช.
นางสาวจิราภรณ์ ราหุละ บรรณารกั ษอ์ ตั ราจ้าง
นางสาวกญั ชพร ย้มิ ใย เจ้าหนา้ ที่บนั ทึกข้อมลู

ผูส้ นบั สนุนและตรวจสอบ ผ้อู านวยการ กศน. อาเภอเมืองปทมุ ธานี รักษาการในตาแหน่ง
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอลาลูกกา
นายวีรยทุ ธ์ แสงสิรวิ ฒั น์ บรรณารกั ษช์ านาญการ
ครผู ู้ช่วย
นางอนตุ รา อคั รอารีสุข
นางสาววาสนา รดิ เอย่ี ม ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอเมืองปทุมธานี รักษาการในตาแหนง่
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอลาลูกกา
บรรณาธกิ าร

นายวรี ยทุ ธ์ แสงสิริวฒั น์


Click to View FlipBook Version