The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สงครามและเหตุการณ์ความขัดแย้ง(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wankhana261062, 2021-09-21 06:56:27

สงครามและเหตุการณ์ความขัดแย้ง(1)

สงครามและเหตุการณ์ความขัดแย้ง(1)

สงครามและเหตุการณ
"ความขัดแยง "

คํานํา

E–Book เลมน้เี ปนสว นหนึง่ ของรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมในระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปท ่6ี มีจุดประสงคเพ่อื การศึกษาเรอ่ื งสงครามและเหตุการณค วามขดั แยง
ในE – Book เลมมีเน้อื หาประกอบดว ยเรอ่ื งสงครามและเหตุการณค วามขัดแยง ตา งๆ
E – Book เลม น้เี พ่ือใหบ คุ คลทีส่ นใจไดมาศกึ ษา

ผจู ดั ทําไดเลอื กหัวขอนี้ในการทํา E – Book เปน ส่ิงนา สนใจรวมไปถึงไดร ทู ม่ี าของสงคราม
และเหตกุ ารณความขัดแยง

หวังวา E- Book เลม นจี้ ะสามารถใหค วามรแู ละประโยชนแ กผทู ่อี า นทกุ ๆทา น หากมขี อ
เสนอแนะประการใด ผจู ดั ทาํ ขอรับไวด ว ยขอบพระคณุ อยา งยิ่ง

คณะผูจัดทํา

สารบัญ หนา

เรื่อง 1
2
1.วนั มหาวิปโยค หรือ วนั มหาปต ิ 3
2.เหตุการณพฤษภาทมฬิ 4
3.สงครามเกา ทัพ 5
4.การบกุ ครองไทยของญี่ปนุ 6
5.สงครามอินโดจนี 7
6.สงครามครูเสด 8
7.สงครามโลกครัง้ ท่ีหนงึ่ 9
8.สงครามโลกคร้ังท่สี อง 10
9.สงครามเยน็ 11
10.สงครามเวยี ดนาม 12
11.สงครามคอมมนู ปารีส
12.สงครามอเลปโป-ซเี รีย

วนั มหาวิปโยค หรือ วนั มหาปต ิ 1

เหตกุ ารณ 14 ตุลา (พ.ศ. 2516) หรือ วันมหาวิปโยค

หรอื วนั มหาปต ิ [a] เปน เหตุการณการปราบปราม

ผปู ระทว งบรเิ วณพระบรมมหาราชวงั และถนนราชดาํ เนนิ

อยางรุนแรง คูข ัดแยง

-ศูนยก ลางนิสติ นกั ศึกษาแหงประเทศไทย ผูประทวง

-รฐั บาลจอมพลถนอม กติ ตจิ ร

ผลกระทบ

วนั ที่ 14 ตลุ าคม นกั ศึกษาเคลื่อนขบวนถงึ พระบรมมหาราชวงั และ

พบกบั ผูแทนพระองค ซึ่งถา ยทอดพระราชกระแสขอใหน ักศึกษาสลายตวั ซึ่ง

นักศกึ ษายินยอม ฝา ยรองผบู ัญชาการตาํ รวจสง่ั ใหต งั้ ส่ิงกดี ขวางเพ่อื ให

นกั ศึกษาออกไดทางเดียว 15 ตลุ าคม ไดมีประกาศวาจอมพลถนอม กิตติขจร

จอมพลประภาส จารเุ สถยี ร และพันเอกณรงค กิตติขจร เดนิ ทางออกนอก

ประเทศแลว เหตกุ ารณจึงคอ ยสงบลง

(รูปภาพวันมหาวปิ โยค หรอื วันมหาปต ิ เมื่อ 14 ตลุ า)

เหตกุ ารณพ ฤษภาทมิฬ 2

เหตุการณพฤษภาทมฬิ เปน เหตกุ ารณท ี่ ประชาชน
เคล่ือนไหวประทว งรัฐบาล คร้งั สาํ คญั ครั้งหน่ึงใน
ประวัติศาสตรการเมือง

ผลกระทบ

เหตุการณค รง้ั น้ี เร่มิ ตน มาจากเหตกุ ารณ รัฐประหาร 23

กุมภาพันธ พ.ศ. 2534 หรอื 1 ปก อ นหนาการประทวง ซ่ึง รสช.

ไดย ดึ อํานาจจากรฐั บาล ซึ่งมี พลเอกชาตชิ าย ชุณหะวณั เปน

นายกรฐั มนตรี โดยใหเ หตุผลหลักวา มีการฉอราษฎรบังหลวง คูข ัดแยง

อยางหนกั ในรฐั บาล และรัฐบาลพยายามทําลายสถาบันทหาร -ผปู ระทวง (รปู ภาพเหตกุ ารณพฤษภาทมฬิ )

โดยหลงั จากยดึ อํานาจ คณะ รสช. ไดเ ลือก นายอานันท ปน -พรรคเทค

ยารชนุ เปน นายกรฐั มนตรี มีการแตงตั้ง สภานติ ิบัญญัตแิ หง -สหพันธนสิ ิตนักศกึ ษาแหง ประเทศไทย

ชาติ ข้นึ หลงั จากรางรฐั ธรรมนูญสาํ เร็จ กไ็ ดมีการจัด การ -คณะรักษาความสงบเรยี บรอ ยแหง รฐั (รสช.)

เลอื กตง้ั ทั่วไป เมอ่ื วนั ท่ี 22 มนี าคม พ.ศ. 2535 -รัฐบาลสุจินดา
-พรรคมาร

สงครามเกาทพั 3

สงครามพมา -สยาม พ.ศ. 2328-2329 รจู ักใน

ประวตั ิศาสตรไทยวา สงครามเกา ทัพ เพราะกองทพั ผลกระทบ

พมาแบงทพั มาเปน เกากอง เปนสงครามครง้ั แรก [3] หลังจากการสถาปนากรุงเทพมหานครเปนราชธานีได

ระหวา ง อาณาจักรพมา กับ อาณาจกั รรัตนโกสนิ ทร เพียงสามป พระเจาปดุงกษัตรยิ แ หง พมา ราชวงศโ กน บองมพี ระ

ราชโองการใหยกทัพเขา โจมตีอาณาจกั รสยามเปนจาํ นวนเกา ทัพ

มาจากหลายทศิ ทาง ฝา ยสยามถงึ แมม กี ําลังพลนอยกวา แต

สามารถตานทานการรกุ รานของพมาไดสําเร็จ ทําใหฝา ยพมา ตอ ง

ปราชัย สงครามเกาทัพเปนการรุกรานของพมาครง้ั แรกในสมยั

รตั นโกสนิ ทร และนาํ ไปสสู งครามทา ดนิ แดงในปตอ มาพ.ศ. 2329

คูข ัดแยง
-ราชวงคโ กน บอง (พมา )
-อาณาจักรรัตนโ กสนิ ทรื (สยาม)
-อาณาจกั รลานนา

(รูปภาพสงครามเกาทพั )

การบุกครองไทยของญีป่ ุน 4
⽇本軍のタイ進駐การบุกครองไทยของญ่ีปุน ( ญป่ี นุ :
โรมาจิ :

Nihongun no Tai shinchū) เกิดข้นึ ในวันที่ 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ตั้งแตเ วลาประมาณ

02.00 น. เม่อื กองทัพญ่ีปุน ยกพลขึน้ บกท่ี จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ , ชุมพร , นครศรีธรรมราช , สงขลา

, สุราษฎรธ านี , ปตตานี และ บางปู สมุทรปราการ และบุกเขา ประเทศไทยทางบกที่ อรัญประเทศ

กองทพั ญีป่ ุนสามารถขึ้นบกไดโ ดยไมไ ดร บั การตอตา นท่ีบางปู สวนทางภาคใตแ ละทางอรญั ประเทศมี

การตอ สูตา นทานอยา งหนกั ของทหารไทย

ผลลพั ธ
-ยุติการสรู บ
-ไทยเปน พันธมิตรกบั ญ่ีปนุ
-ไทยประกาศสงครามกบั ฝา ยสมั พันธมติ ร

คูขัดแยง
-ไทย
-จักรวรรดิญี่ปุน

(รปู ภาพการบกุ ครองไทยของญปี่ นุ )

5

สงครามอนิ โดจนี คูขัดแยง
-ไทย
กรณีพพิ าทอินโดจีน หรือ สงครามอนิ โดจีน ในตา ง -ฝรง่ั เศสเขตวีซี
ประเทศเรยี กวา สงครามฝร่ังเศส-ไทย เปนการสรู บระหวาง -อนิ โดจนี ฝรั่งเศส
ประเทศไทยกับ ฝร่ังเศสเขตวีชี เหนอื ดนิ แดน อนิ โดจีนฝรัง่ เศส

ผลกระทบ

สถานการณใ นประเทศไทยเริ่มขึ้นในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483

เมื่อคณะนสิ ติ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั และนักศกึ ษา

มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตรแ ละการเมอื ง รวมท้งั ประชาชนรว มกันเดนิ

ขบวนเรียกรอ งรฐั บาลเรยี กเอาดินแดนคนื จากฝรงั่ เศสจาก วิกฤตการณ

ร.ศ. 112 ดา นอินโดจนี ฝร่งั เศสไดมกี ารเคล่อื นไหวอยางคึกคกั ในการเตรี

ยมกาํ ลงั รบ ซ่งึ แสดงใหเ หน็ อยา งเดน ชดั วาฝรั่งเศสเตรียมการรบกบั ไทย

17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489 หรอื ทีร่ ูจกั ในชื่อ ความตกลงวอชงิ ตนั มผี ล

ใหอนุสัญญาดังกลาวถกู ยกเลิกไป กลับไปสสู ถานะเดิม โดยไทยตองคืน

ดินแดน อินโดจีนท่ีไดม าท้งั หมดใหก ับประเทศฝรง่ั เศส

(รูปภาพสงครามดนิ โดจนิ )

6

สงครามครเู สด

เปน ชดุ สงครามรบนอกประเทศทาง ศาสนา ที่ถกู ทําให

ศกั ดสิ์ ิทธโิ์ ดยสมเด็จพระสนั ตะปาปาเออรบันท่ี 2 และศาสนจกั ร

คาทอลิก มเี ปาหมายท่แี ถลงไวเพอ่ื ฟนฟูการเขา ถึงที่ ศักด์ิสทิ ธ์ิใน

และใกลเ ยรซู าเล็มของคริสเตยี น

สาเหตุ

สงครามครเู สดมสี าเหตุหลักมาจากความแตกตางทาง

ความเชอ่ื ในศาสนาแตล ะศาสนา จนทาํ ใหไมเ ขา ใจซง่ึ กันและกนั

ผลกระทบ

สงครามครเู สดสงผลกระทบใหญหลวงทางการเมือง

เศรษฐกจิ และสังคมตอยโุ รปตะวนั ตก มนั สงผลใหจ ักรวรรดิไบ

แซนไทนท่ี นับถอื คริสตออนแอลงมาก และเสียใหแ กเ ติรกมสุ ลิมใน

อีกหลายศตวรรษตอ มา เรกองกสิ ตา

(รปู ภาพสงครามครเู สด)

สงครามโลกครัง้ ท่ีหน่งึ 7

สงครามโลกครั้งทหี่ นงึ่ (อังกฤษ: World War I หรือ First World War)

ยงั เปน ที่รจู ักกนั คอื "สงครามโลกครั้งแรก" หรอื "มหาสงคราม" (Great War) เปน

สงครามทั่วโลกที่กินเวลาจากวันท่ี 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถงึ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918

โดยถูกอธบิ ายอยา งใครครวญวาเปน "สงครามเพ่อื ยุติสงครามทั้งหมด"
สาเหตุ

สาเหตขุ องสงครามโลกคร้ังทห่ี นึง่ ก็คอื การลอบปลงพระชนมอ าร

คดยุ ค ฟรานซ เฟอรด นิ านด รชั ทายาทของบัลลังกจักรวรรดอิ อสเตรีย-

ฮงั การี โดยกัฟรโี ล ปรนิ ซีป ชาวเซริ บ บอสเนยี ซง่ึ เปน สมาชิกของแกงมอื มืด และ

การแกแ คน ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮงั การตี อ ราชอาณาจกั รเซอรเ บียกท็ าํ ให

เกิดปฏิกิรยิ าลกู โซก อ ใหเ กิดสงครามคร้ังใหญปะทขุ นึ้ ในทวปี ยโุ รป

ผลกระทบ

-จกั รวรรดิออสเตรยี -ฮังการีแตกออกเปนประเทศใหม ไดแ ก ออสเตรีย

ฮงั การี เซโกสโลวาเกียยโู กสลาเวยี

-จกั รวรรดิออตโตมานลมสลายไปแผนดนิ เดมิ ของจกั รวรรดิบางสว น (รูปภาพสงครามโลกครงั้ ทหี่ นงึ่ )
ถูกแบงใหก ลายเปน อาณานิคมของผูช นะสงครามทั้งหลาย

สงครามโลกคร้งั ทสี่ อง 8

สงครามโลกครงั้ ที่สอง (อังกฤษ: World War II หรอื Second World
War; มักยอเปน WWII หรอื WW2) เปน สงครามทั่วโลกกินเวลาตงั้ แตป  1939 ถงึ
1945 ประเทศสว นใหญในโลกมสี วนเกยี่ วขอ ง รวมทง้ั รฐั มหาอาํ นาจทง้ั หมด แบง
เปนพนั ธมิตรทางทหารคูสงครามสองฝาย คือ ฝายสัมพันธมิตรและฝายอกั ษะ

สาเหตุ
สาเหตเุ บอ้ื งตน ของสงครามโลกคร้ังที่สอง คอื ความ
ตึงเครียดเก่ียวกบั ชาตนิ ิยม ประเดน็ ปญหาท่ีไมไดร บั การแกไ ข
และความไมพ อใจอันเปน ผลสบื เน่ืองมาจากสงครามโลกครง้ั ท่ี
หนึ่ง

(รปู ภาพสงครามโลกครั้งที่สอง) ผลกระทบ
-การกอตงั้ องคการสหประชาชาติ
-การเกดิ ประเทศเอกราชใหมๆ และบางประเทศถกู แบง ออกเปน 2 สว น เชน
เยอรมนี เกาหลี เวยี ดนาม
-สภาพเสรษฐกจิ ตกตา่ํ

สงครามเย็น 9

สงครามเยน็ (อังกฤษ: Cold War) เปน ชว งเวลาแหง

ความตึงเครยี ดทางดา นภูมิศาสตรระหวา งสหภาพโซเวยี ตและ

สหรัฐอเมริกาและประเทศพันธมิตรจากทัง้ กลุม ตะวันออกและ

กลมุ ตะวนั ตก สาเหตุ

สงครามเย็นมสี าเหตมุ าจากความขัดแยง ทางดา น

อดุ มการณท างการเมืองของ ประเทศมหาอาํ นาจทัง้ สอง ที่
ยึดถอื เปนแนวทางในการดาํ เนนิ นโยบายตางประเทศ และความ

ขดั แยง ทางดานผลประโยชนและเขตอทิ ธพิ ล
ผลกระทบ

-นอกจากทวปี ยุโวปแลว สองอภมิ หาอาํ นาจยงั แขง ขันกันในภมู ิภาคตางๆสงผล

ใหสงครามเย็นเพิม่ ความดงึ เครียด ทวีปเอเซยี เปน อกี เวทีหนึง่ ของสงครามเยน็

-ความขดั แยง ของสงครามเย็นสงผลใหป ระเทศเกาหลกี ูกแบงออกเปน

2 ประเทศ

(รปู ภาพสงครามเยน็ ) -การขยายตัวของลกั ธคิ อมมิวนิสตเขา มาในอินโดจนี ทาํ ใหสหรัฐอเมริกานําน
โนบายลอ มกรอบการขยายตวั ของลักธิคอมมิวนสิ ตมาใชใ นเอเซียดว ย

สงครามเวยี ดนาม 10

สงครามเวยี ดนาม หรอื อีกชือ่ หนึ่งวา สงครามอนิ โดจนี คร้ังที่สอง และในเวยี ดนามเรยี ก

สงครามตอตานอเมริกา หรือเรยี กงา ย ๆ วา สงครามอเมริกา เปนความขดั แยง ในเวยี ดนาม ลาว

และกมั พูชา ตงั้ แตวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2498 จนกรุงไซงอ นถกู ยดึ เม่อื วันที่ 30 เมษายน 2518 เปน

สงครามอินโดจนี ครัง้ ทส่ี องและเปน การตอ สรู ะหวา งเวียดนามเหนือและเวยี ดนามใตอยางเปน

สาเหตุ ทางการ ผลกระทบ

ป 1885 เวียดนามตกเปนอาณานิคมของฝรั่งเศส สงครามเวยี ดนามกอใหเกดิ ผลกระทบอยา งมากกบั อเมรกิ าในชว งเวลา 12 ป

เพ่ือความงายในการปกครองทาํ ใหฝ ร่งั เศสแบง ยาวนานกวา 2 ชั้นเรยี นทอี่ เมริกาเคยเขารว มทาํ ใหค นอเมรกิ นั กวา 58,000 ตอ ง

การปกครองเวียดนามเปน 3 แควน คือ สูญเสียชวี ิตและเงนิ กวาพันลา นเหรยี ญสหรัฐสงครามกอใหเกดิ ภาวะเงนิ เฟอ

แควนตังเก่ียอยทู างตอนเหนอื แควนอนั นมั อยู และทาํ ลายเศรษฐกจิ ของอเมริกาในชว งทศวรรษ 1970

ทางตอนกลาง และควนโคซินไซนาอยูทาง

ตอนใต ฝรงั่ เศสไดเ ปล่ยี นแปลงระบบการศึกษา

วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณขี องเวยด

นามเดิมใหเ ปนแบบฝร่ังเศสเปนสวนใหญ ป 1941

ขณะเกดิ สงครามเวียดมินหข ้ึน เพอื่ ขบั ไลฝ ร่ังเศส

โดยมีผนู ํา คือ โฮจมิ นิ ห

(รปู ภาพสงครามเวียมนาม)

สงครามคอมมนู ปารสี 11

คอมมูนปารีส ( ฝรั่งเศส : Commune de Paris ) เปนคณะปกครองกรุงปารีสในชวง การปฏิวัติฝร่งั เศส

ระหวา งปค.ศ. 1789 ถงึ 1795 กอ ต้งั ขน้ึ ที่ ออแตลเดอวลี ภายหลัง การทลายคกุ บัสตยี  คอมมนู ปารสี ประกอบดวย

ผแู ทน 144 คนจาก 48 แขวงของกรงุ ปารสี คอมมูนปารสี กลายเปนฝา ยขบถในกลางป 1792 จากการที่ปฏิเสธจะ

เชอื่ ฟงรัฐบาลกลางฝรั่งเศส นายกเทศมนตรีคอมมนู ปารีสคนแรกคอื ฌอ็ ง ซลี แวง็ บายี

สาเหตุ

คณะรัฐบาลทบี่ ริหารโครงการทช่ี อบเขาต้ังแตว นั ท่ี 18 มนี าคม

นดั อยางเปนทางการ 18 มีนาคมไปจนถงึ 28 พฤษภาคม1871 ดาํ รง

อยูกอ นจะเกดิ ความขดั แยงระหวา งบรรดาอนาธิปไตยและชาวลทั ธิ

มารก ซึง่ และทง้ั สองกลมุ ทีม่ ีความคดิ ไมเหมือนกัน

(รปู ภาพสงครมคอมมนู ปารีส) ผลกระทบ
ผลของสงครามฝรงั่ เศสปรัสเซียนนํามาสกู ารลม สลายของ
จักรพรรดิฝร่ังเศสที่ 2 และเปนจดุ เรมิ่ ตนของสาธารณรฐั ท่ี 3 ในวัน
ท่ี 4 กันยายน 1870ในชวงสงครามนนั้ กรุงปารสี ถกู กองทัพฝา ย
เยอรมนั ลอ มอยู 4 เดือน

สงครามอเลปโป-ซเี รยี 12

สงครามกลางเมืองซเี รยี เมือ่ ป 2011 อาหรับสปริ งเบง
บานไปในหลายประเทศทั่วภูมภิ าคตะวันออกกลาง เมอื่
ประชาชนพากันลกุ ขนึ้ มาตอ สกู บั ผูนาํ เผด็จการการ
ประทวงรฐั บาลในซเี รยี นําไปสสู งครามกลางเมือง

สาเหตุ (รปู ภาพสงครามอเลปโป-ซีเรยี )
การประทว งดงั กลาวมสี าเหตุจากการท่ี ผลกระทบ
รฐั บาลจับกุมเดก็ ชายกับเพอื่ นฐานเขยี นการฟต ี นอกจากผเู สียชีวิตหลายแสนแลว สงครามทาํ ใหค น 1.5 ลานกลายเปน คน
"ประชาชนตองการใหรฐั บาลลม สลาย" ในนครดรั อา พิการ ในจาํ นวนนี้ 8,600 คนตองเสยี แขนขา มชี าวซีเรยี อยางนอย 6.1 ลา น
(Daraa)เด็กชายผนู ัน้ ชอื่ ฮัมชา อัลคาตปี (Hamza คนท่ตี อ งโยกยายถน่ิ ฐานไปเมอื งอน่ื และอกี 5.6 ลา นคนที่ตองอพยพไป
al-Khateeb) วัย 13 ปถกู ทรมานและฆา วนั ที่ 20 ตางตางประเทศซ่ึง 92 เปอรเ ซ็นตของคนเหลานี้ อยใู นประเทศเพือ่ นบาร
มีนาคม ผปู ระทวงเผาสํานักงานใหญพรรคบะอษั และ คือ เลบานอน จอแดนและตรุ กี
"อาคารอนื่ " เหตปุ ะทะใหหลงั นัน้ ทาํ ใหตรวจเสียชีวติ เจด็
นาย และผปู ระทว งเสียชีวิตเจ็ดนาย 15 คน สิบวันถัดมา
ประธานาธิบดีบชั ชาร อัลอะซัดกลา วสนุ ทรพจนโทษ
"ผสู มคบตางดา ว"ทีผ่ ลกั ดดั โฆษณาชวนเช่อื อสิ ราเอล
ใหเกิดการประทว ง

13

อา งองิ

สงครามอเลปโป-ซีเรยี . (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขา ถงึ ไดจาก:https://www.khaosod.co.th/.
(วันที่สบื คนขอ มูล 1 สิงหาคม 2564).
สงครามคอมมนู ปารีส. (ม.ป.ป.).(ออนไลน) .เขา ถงึ ไดจาก:https://th.wikipedia.org/.
(วันที่สืบคนขอมูล 1 สงิ หาคม 2564).
สงครามเวียดนาม. (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขาถงึ ไดจาก:https://th.wikipedia.org//.
(วนั ทสี่ ืบคนขอมลู 1 สงิ หาคม 2564).
สงครามเย็น. (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขาถงึ ไดจ าก:https://th.wikipedia.org//.
(วันที่สบื คนขอ มูล 1 สงิ หาคม 2564).
สงครามโลกคร้งั ทสี่ อง. (ม.ป.ป.).(ออนไลน) .เขาถงึ ไดจาก:https://th.wikipedia.org//.
(วนั ทส่ี บื คน ขอ มลู 1 สิงหาคม 2564).

สงครามโลกครงั้ ทห่ี นึ่ง. (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขา ถงึ ไดจ าก:https://th.wikipedia.org//. 14
(วนั ทส่ี บื คนขอมูล 1 สงิ หาคม 2564).
สงครามครูเสด. (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขา ถึงไดจ าก:https://th.wikipedia.org//.
(วันทสี่ บื คน ขอ มูล 1 สิงหาคม 2564).
สงครามอินโดจนี . (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขาถึงไดจาก:https://th.wikipedia.org//.
(วนั ที่สืบคน ขอมลู 1 สิงหาคม 2564).
การบุกครองไทยของญ่ีปุน. (ม.ป.ป.).(ออนไลน) .เขาถงึ ไดจ าก:https://th.wikipedia.org//.
(วนั ที่สืบคนขอ มลู 1 สงิ หาคม 2564).
สงครามเกา ทัพ. (ม.ป.ป.).(ออนไลน) .เขาถึงไดจ าก:https://th.wikipedia.org//.
(วันทส่ี ืบคนขอ มลู 1 สงิ หาคม 2564).
เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ . (ม.ป.ป.).(ออนไลน).เขา ถึงไดจาก:https://th.wikipedia.org//.
(วนั ทส่ี บื คนขอมลู 1 สงิ หาคม 2564).
วนั มหาวปิ โยค. (ม.ป.ป.).(ออนไลน) .เขา ถึงไดจ าก:https://th.wikipedia.org//.
(วันทส่ี บื คนขอมลู 1 สงิ หาคม 2564).

15

ช่ือสมาชิก

นางสาวกฤติยา คงกษัตรยิ  เลขท่ี15
นางสาวรงุ นภา ศรีสุข เลขท่ี18
นางสาวเสาวลกั ษ อุนทรัพย เลขท2่ี 0
นางสาวสุมติ รา จอมพงร่นื เลขท่ี21
นางสาวกนกวรรณ แกวฉํา่ เลขที3่ 8

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 6/3


Click to View FlipBook Version