The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การอ่านวินิจสาร-อ่านตีความ อ่านวิเคราะห์วิจารณ์และประเมินค่า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปัณชนิศา พรมไตร, 2020-05-03 06:27:43

การอ่านวินิจสาร-อ่านตีความ อ่านวิเคราะห์วิจารณ์และประเมินค่า

การอ่านวินิจสาร-อ่านตีความ อ่านวิเคราะห์วิจารณ์และประเมินค่า

กลมุ สาระการเรยี นรูวชิ าภาษาไทย

วชิ าภาษาไทย5 ท23101

จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. วเิ คราะห วจิ ารณแ ละประเมินเรื่องทีอ่ านโดยใชกลวิธีการเปรยี บเทียบเพ่อื ใหผ ูอ า นเขา ใจไดด ขี นึ้
2. ประเมนิ ความถกู ตอ งของขอ มูลท่ใี ชส นับสนุนในเรอ่ื งท่ีอานได
3. วจิ ารณ ความสมเหตุสมผล การลําดบั ความและความเปนไปไดข องเรื่อง
4. วิเคราะหเพื่อแสดงความคดิ เหน็ โตแ ยง เร่ืองทอ่ี านได
5. ตคี วามและประเมนิ คุณคา แนวคดิ ทไี่ ดจากงานเขยี นอยา งหลากหลาย เพอ่ื นําไปใชแกปญหา

ในชีวติ ได

การอานวินิจสาร เปนการอานในระดับสูง เพราะเปนการที่ผูอาน
จะตอ งแยกแยะคุณคาของสารทอ่ี านวาดหี รือไมอยางไร

การอานวินิจสารสามารถจําแนกเปนการอานตีความ การอาน
วิเคราะหวิจารณแสดงความคิดเห็นและประเมินคุณคา เพื่อสามารถ
วิ นิ จ ส า ร ไ ด อ ย า ง ถู ก ต อ ง แ ล ะ ส า ม า ร ถ นํ า ข อ คิ ด ห รื อ แ น ว คิ ด ต า ง ๆ
ไปประยุกตใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั

วิชาภาษาไทย5 ท23101 PP

แนวทางการอา นตีความ การอานตีความ หมายถึง การอานเพื่อพยายามเขาใจ
ความหมาย และถอดความรสู กึ อารมณสะเทือนใจ จากขอความ
ท่ีผูเขียนสื่อใหอาน อาจจะตีความไดตรงกับความมุงหมายหรือ
เจตนาของผเู ขยี นกไ็ ด หรอื บางครง้ั อาจจะเขาใจความหมายตาม
วิ ธี ข องตน เอ ง โ ดยอา ศั ย พื้ น คว ามรู เ ดิ ม คว าม สน ใ จ
ประสบการณ และวัย

อา นอยา งคราวๆ เพอื่ สํารวจงานเขยี นนน้ั ๆ วา เก่ยี วกบั เรื่องใด เปน รอ ยแกวหรอื รอ ยกรอง

อา นอยางละเอียด เพื่อพจิ ารณาวาเน้ือหาใจความสําคัญ

วิเคราะหถ อ ยคําทอ่ี าจมีความหมายเฉพาะ หรือมกี ารเปรียบเทียบดวยการใชโวหารหรอื ภาพพจน

พจิ ารณานา้ํ เสียงของผเู ขยี น วา เปนน้าํ เสยี งเชิงสัง่ สอน ประชดประชันหรือแสดงความรูส ึก

สรุปสารทไี่ ดจ ากการอา นตคี วาม

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

แนวทางการอา นวิเคราะห วิจารณและแสดงความเหน็
อา นสารหรอื เรือ่ งท่ีวจิ ารณอยา งละเอยี ด

ใหรูกย่ี วกบั เร่อื งท่ีอานและมีความรูวาโครงเรือ่ ง ความคดิ ของเรือ่ งเปนอยา งไร

วเิ คราะหส าร

ดว ยการแยกแยะสวนประกอบตางๆ ของเรอื่ งที่อานตามประเภทของงาน

วจิ ารณ

เปนการแสดงความคิดเห็นตอ เรือ่ งท่ีอา นทงั้ ในดานดีและดานทีบ่ กพรอง
การวเิ คราะหแ ละการวจิ ารณแตกตา งกันอยางไร
การวิเคราะห คือ การแยกแยะองคประกอบของ
งานเขียน
การวจิ ารณ คือ การแสดงความคดิ เหน็ ท่ีผอู าน
มตี อ องคประกอบตา งๆของงานเขียน

วิชาภาษาไทย5 ท23101 PP

ข้นั ตอนในการฝก ฝนการวเิ คราะห วจิ ารณและแสดงความเหน็
เลาเรอ่ื ง

บอกประเภทและจุดมุง หมายของเรื่อง
กลาวถงึ บริบทท่เี กยี่ วของกบั เร่ืองราวท่อี า น

วเิ คราะหเน้อื เรอ่ื งในดา นตางๆ
ประเมินคุณคา

วิชาภาษาไทย5 ท23101 PP

การอานประเมินคุณคา คือ การอานเพื่ออธิบายลักษณะของงานเขียนวา
มขี อดี มีคณุ คา หรือมีขอบกพรอ งอยา งไรบา ง ผปู ระเมินจะตองวิจารณงานเขียน
โดยละเอียด หยิบยกแตละประเด็นมาทําความเขาใจ วิเคราะห ตีความหมาย
ท่ซี อนเรน ตลอดจนวินิจฉัยคุณคาท่ีพบในเนื้อหาทั้งดานสังคม และดานอารมณ
ดา นศลิ ปะการประพันธ

แนวทางการอา นประเมนิ คุณคา

พจิ ารณาเน้อื หาและองคป ระกอบของเน้ือหา
พิจารณาคณุ คาดานวรรณศลิ ป
พจิ ารณาแนวคดิ

วิชาภาษาไทย5 ท23101 PP

ตวั อยา งบทความ

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP

ประโยชน์ของการอ่านวเิ คราะห์และวินิจสาร

1. เพือความรู้ เป็ นการอ่านทีตอ้ งพิจารณา ไตร่ตรองอยา่ งละเอียดและ
เลอื กความรทู้ ีเหมาะสมไปใชใ้ นโอกาสทีถูกตอ้ ง
2. เพือแกป้ ัญหา เป็ นการสรา้ งสรรค์สติปัญญา ความคิด ฝึ กการใช้
วิจารณญาณเพอื สามารถตดั สินและแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล
3. เพือพัฒนาบุคลิกภาพ สิงทีไดจ้ ากงานเขียนได้ผ่านกระบวนการ
วิเคราะหเ์ ป็ นความคิดทีพฒั นาจะส่งผลมาถึงบุคลิกภาพทีดี
4. เพือความสนุกสนาน ผูอ้ ่านย่อมไดร้ บั ความสนุกสนานเพือแยกแยะ
และพิจารณาเนือความ
5. เพือเป็ นนักวจิ ารณ์ ตอ้ งอาศยั ความสามารถในการตีความ วิเคราะห์
การแสดงความคิดเห็นตลอดจน
ประเมนิ คา่ งานเขียนได้

วชิ าภาษาไทย5 ท23101 PP


Click to View FlipBook Version