The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรรายวิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๒

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรรายวิชา 2/2564

หลักสูตรรายวิชา ภาษาไทย ท๒๑๑๐๒

ครั้งท่ี จานวน ตวั ช้ีวดั / สาระการเรียนร/ู้ ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
ช่วั โมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมสาคญั / ภาระงาน

สรุปเน้ือเพลงวา่ มีคาในภาษาไทยกี่

ชนิด และชนิดใดบา้ ง

ขนั้ สอน

๓. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้น

ความคดิ

๔. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง

ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค จาก

หนงั สือเรยี น และห้องสมุด

๕. นักเรยี นทาใบงาน เรอ่ื ง ชนดิ ของ

คา

ขั้นสรุป

๖. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้

เรือ่ งชนดิ ของคา

ภาระงาน
๑. นกั เรยี นทาใบงาน เร่ือง ชนดิ ของ
คา

๕๓ ๑ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้

(เสยี งใน ท ๔.๑ ม.๑/๓ วเิ คราะหช์ นดิ ชนดิ และหน้าท่ีของคา ๑. หนังสอื เรียน หลกั

ภาษาไทยและ และหน้าท่ีของคาในประโยค กิจกรรมสาคัญ ภาษาและการใชภ้ าษา
การสรา้ งคา) จุดประสงค์ ข้ันนา ม.๑
๑. นักเรยี นสารมารถจาแนก ๑. นักเรียนทบทวนความรเู้ ร่อื ง ชนิด ๒. หอ้ งสมุดและ
ชนิดของคาได้ ของคาในภาษาไทย แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
๒. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์
ชนิดและหนา้ ที่ของคาใน ข้ันสอน
ประโยคได้
๒. ครูให้นักเรียนศกึ ษาและสืบคน้

ความรู้ จากหนังสือเรยี น ห้องสมดุ และ

แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ในประเดน็ ท่ี

กาหนด ดงั นี้

๑) ลักษณะของพยางค์ คา

กลุ่มคา และประโยค

๒) สว่ นประกอบของประโยคใน

การสื่อสาร

๓) ชนดิ ของประโยคในภาษาไทย

(ประโยคความเดียว ประโยคความ

รวม และประโยคความซอ้ น)

ครั้งท่ี จานวน ตัวชีว้ ดั / สาระการเรียนรู/้ ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
ชวั่ โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ กจิ กรรมสาคัญ/ ภาระงาน

๓. ครสู ่มุ นกั เรียน ๕ คน ให้ยกตวั อย่าง

ประโยค คนละ ๑ ประโยค เพื่อให้

เพอ่ื นในชนั้ เรียนร่วมกันวิเคราะห์ชนิด

และหนา้ ท่ีของคาในประโยค โดยเริม่

จากประโยคความเดียว ประโยคความ

รวม และประโยคความซ้อน

ตามลาดบั

ขั้นสรปุ

๔. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้

เรื่องประโยคในภาษาไทย

ภาระงาน
๑. นกั เรียนศึกษาและสืบคน้ ความรู้
จากหนงั สอื เรยี น ห้องสมุดและ
แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ในประเด็นท่ี
ครกู าหนด

๕๔ ๑ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้

(เสียงใน ท ๔.๑ ม.๑/๓ วิเคราะหช์ นิด ชนดิ และหนา้ ท่ขี องคา ๑. หนงั สอื เรยี น หลัก

ภาษาไทยและ และหนา้ ทข่ี องคาในประโยค กิจกรรมสาคญั ภาษาและการใชภ้ าษา
การสร้างคา) จดุ ประสงค์ ขน้ั นา ม.๑
๑. นักเรียนสารมารถจาแนก ๑. นักเรียนอ่านประโยคท่ีครู ๒. หนงั สือพมิ พ์รายวนั
ชนิดของคาได้ กาหนดให้ แลว้ ตอบคาถามว่าเป็น ๓. ใบงาน เรอ่ื ง ลาดบั คา
๒. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ ประโยคชนดิ ใด สร้างประโยค
ชนิดและหนา้ ที่ของคาใน ข้ันสอน
ประโยคได้ ๒. ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารับ

หนังสอื พิมพ์รายวัน กลมุ่ ละ ๑ ฉบบั

จากนน้ั ใหส้ มาชกิ กลุม่ แตล่ ะคน

รวบรวมประโยคจากข่าว คนละ ๓

ประโยค

๓. สมาชกิ แต่ละคนในกลุม่ ยกตวั อยา่ ง

ประโยคที่รวบรวมมาเพ่ือใหเ้ พ่อื นใน

กลมุ่ รว่ มกนั วเิ คราะห์สว่ นประกอบของ

ประโยคนั้นๆ พร้อมตรวจสอบความ

ถกู ต้อง

ครัง้ ที่ จานวน ตวั ชว้ี ดั / สาระการเรยี นร/ู้ ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
ชั่วโมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมสาคัญ/ ภาระงาน

๓. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ทา

ใบงาน เรื่อง ลาดบั คาสร้างประโยค

เมือ่ ทาเสรจ็ แล้วครูสุม่ เรียกตวั แทน

กลมุ่ นาเสนอใบงานทีห่ นา้ ชน้ั เรียน

ขั้นสรุป

๔. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุป

โครงสรา้ งของประโยค เพอื่ ให้นกั เรยี น

เข้าใจโครงสรา้ งของประโยคซึ่งสมั พนั ธ์

กบั หน้าท่ี ของคาในประโยค

ภาระงาน
๑. นักเรียนแต่ละคนรวบรวมประโยค
จากขา่ ว คนละ ๓ ประโยค
๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันทา
ใบงาน เรื่อง ลาดับคาสร้างประโยค

๕๕ ๑ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้
(ความ
แตกตา่ งของ ท ๔.๑ ม.๑/๔ วเิ คราะห์ความ ภาษาพดู ๑. หนังสือเรียน หลัก
ภาษา)
แตกตา่ งของภาษาพดู และภาษา กจิ กรรมสาคญั ภาษาและการใช้ภาษา
เขยี น ขนั้ นา ม.๑
จดุ ประสงค์ ๑. นกั เรยี นดูวดี ทิ ศั นก์ ารพูดประกาศ
นักเรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะ ข่าว แล้วแสดงความคดิ เหน็ ๒. ใบงาน เร่อื ง ลกั ษณะ
ของภาษาพูดได้ ขน้ั สอน ของภาษาพดู (๑)
๓. ใบงาน เรอ่ื ง ลกั ษณะ
๒. ครูใหน้ ักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้ ของภาษาพดู (๒) เป็น
รายบคุ คล
เรอ่ื ง ภาษาพูด จากหนังสือเรียน

๓. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ทาใบงาน เรื่อง

ลักษณะของภาษาพูด (๑)

๓. นักเรยี นทาใบงาน เร่อื ง

ลกั ษณะของภาษาพูด (๒) เป็น

รายบคุ คล

๔. ครยู กตวั อยา่ งภาษาเขยี นให้

นกั เรียนตอบเปน็ ภาษาพูดทใี่ ชก้ บั คน

คุ้นเคย และคนไมค่ นุ้ เคย

ข้ันสรปุ

๕. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปลักษณะ

ของภาษาพดู

คร้ังท่ี จานวน ตัวช้วี ัด/ สาระการเรียนร้/ู สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้
ช่ัวโมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมสาคญั / ภาระงาน

๖. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้น

ความคิด

ภาระงาน
๑. นักเรียนทาใบงาน เร่ือง ลกั ษณะ
ของภาษาพดู (๑)
๒. นักเรียนทาใบงาน เรอื่ ง ลกั ษณะ
ของภาษาพูด (๒)

๕๖ ๑ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้
(ความ
แตกต่างของ ท ๔.๑ ม.๑/๔ วเิ คราะห์ความ ภาษาเขียน ๑. หนังสอื เรยี น หลัก
ภาษา)
แตกต่างของภาษาพดู และภาษา กจิ กรรมสาคญั ภาษาและการใชภ้ าษา
เขียน ขัน้ นา ม.๑
จดุ ประสงค์ ๑. นกั เรยี นอ่านบทความแล้วตอบ
นักเรยี นสามารถอธิบายลกั ษณะ คาถามกระตนุ้ ความคิด ๒. ใบงาน เรือ่ ง ลกั ษณะ
ของภาษาเขียนได้ ขั้นสอน ของภาษาเขียน

๒. นกั เรียนร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง

ภาษาเขยี น จากหนงั สือเรียน

๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทา

ใบงาน เรื่อง ลกั ษณะของภาษาเขียน

ขนั้ สรปุ

๔. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปลักษณะ

ของภาษาเขยี น เพื่อใหน้ ักเรยี นเกิด

ความเขา้ ใจไดด้ ียงิ่ ข้ึน

ภาระงาน
๑. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ทา
ใบงาน เรือ่ ง ลกั ษณะของภาษาเขยี น

๕๗ ๑ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้
(ความ ๑. หนังสือเรยี น หลัก
แตกตา่ งของ ท ๔.๑ ม.๑/๔ วิเคราะห์ความ ๑. ภาษาพูด ภาษาและการใช้ภาษา
ภาษา) ม.๑
แตกตา่ งของภาษาพดู และภาษา ๒. ภาษาเขียน
๒.บทประพันธจ์ าก
เขียน วรรณคดเี ร่ือง ขุนชา้ ง
ขุนแผน

ครั้งที่ จานวน ตวั ชี้วัด/ สาระการเรียนร/ู้ สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
ชัว่ โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมสาคญั / ภาระงาน

จุดประสงค์ กิจกรรมสาคญั
๑. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ ข้นั นา
ความแตกตา่ งของภาษาพดู และ ๑. ครูยกตวั อยา่ งบทประพนั ธ์จาก
ภาษาเขยี นได้ วรรณคดเี รื่อง ขนุ ชา้ งขุนแผน

มาอ่านใหน้ ักเรียนฟัง แลว้ ใหน้ กั เรยี น

แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการใช้

ภาษา

ขั้นสอน

๒. นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันอธบิ าย

ความแตกตา่ งระหว่างภาษาพูด และ

ภาษาเขียน เพอ่ื ให้สมาชิกทุกคนใน

กลุม่ เกดิ ความรู้ความเข้าใจ

๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้น

ความคดิ

ขน้ั สรปุ

๔. นักเรยี นสรปุ ความรทู้ ี่ได้จากการ

เรยี นเร่ืองความแตกต่างของภาษาพูด

และภาษาเขยี น

ภาระงาน
๑. นักเรียนรว่ มกันอธิบายความ
แตกตา่ งระหว่างภาษาพูด และ ภาษา
เขียน

๕๘ ๑ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้
(ความ ท ๔.๑ ม.๑/๔ วิเคราะหค์ วาม ๑. ภาษาพดู ๑. หนงั สือเรียน หลกั
แตกตา่ งของ แตกต่างของภาษาพูดและภาษา ๒. ภาษาเขียน ภาษาและการใช้ภาษา
ภาษา) เขยี น ม.๑
๒. ใบงาน เรื่อง ความ
จดุ ประสงค์ กิจกรรมสาคญั แตกตา่ งระหวา่ งภาษา
พดู กับภาษาเขยี น
นักเรยี นสามารถวิเคราะห์ความ ขัน้ นา

แตกต่างของภาษาพดู และภาษา ๑. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้น

เขียนได้ ความคดิ

ขั้นสอน

๒. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันทา

ใบงานเรื่อง ความแตกต่างระหวา่ ง

ภาษาพูดกับภาษาเขียน

ครั้งที่ จานวน ตวั ชว้ี ัด/ สาระการเรยี นร/ู้ สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้
ช่ัวโมง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมสาคญั / ภาระงาน

๓. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันเฉลยคาตอบ

ในใบงาน

ขัน้ สรปุ

๔. นกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความแตกตา่ ง

ระหวา่ งภาษาพูดและภาษาเขียน

พร้อมบอกแนวทางการนาไปใช้ในการ

ส่อื สาร ในชวี ติ ประจาวันอย่างถูกต้อง

และเหมาะสม

ภาระงาน
๑. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันทา
ใบงาน เรอ่ื ง ความแตกตา่ งระหวา่ ง
ภาษาพดู กบั ภาษาเขียน

๕๙ ๑ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้
(สานวนท่ีเปน็ ท ๔.๑ ม.๑/๖ จาแนกและใช้ สานวนทเ่ี ป็นคาพงั เพยและสุภาษติ ๑. หนงั สอื เรยี น หลัก
คาพังเพยและ สานวนที่เปน็ คาพงั เพยและ ภาษาและการใช้ภาษา
สภุ าษิต กิจกรรมสาคญั ม.๑
สุภาษิต) ท ๕.๑ ม.๑/๔ สรุปความรู้และ ขน้ั นา
ข้อคิดจากการอา่ นเพื่อ ๑. ครสู ุ่มเรียกนกั เรียนใหบ้ อกสานวน ๒. เกมใบ้สานวน
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั คาพังเพย หรือสภุ าษติ มา ๑ อยา่ ง
จากน้นั ครูตรวจสอบสานวน คาพงั เพย ๓. ใบงาน เรื่อง สานวน
จดุ ประสงค์ หรือสภุ าษติ ท่ีนักเรยี นบอก คาพังเพย สุภาษิต
๑. นักเรยี นสามารถจาแนกและ ๒. ครใู ห้นกั เรยี นเลน่ เกมใบ้สานวน
ใชส้ านวนที่เป็นคาพงั เพยและ ๓. ครูสนทนากับนกั เรียนเกย่ี วกับ
สภุ าษติ ได้ ความแตกต่างระหวา่ งสานวน คา
๒. นักเรยี นสามารถนาข้อคิดท่ี พังเพย และสภุ าษิต
ได้จากการอา่ นคาพังเพยและ ขั้นสอน
สุภาษิตไปประยุกต์ใชใ้ น ๔. นักเรยี นศกึ ษาความรเู้ รือ่ ง สานวน
ชีวิตประจาวันได้ คาพังเพย และสภุ าษิต จากหนังสอื
เรียน และแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
จุดประสงค์ ๕. นกั เรยี นรวบรวมสานวน คาพงั เพย
และสุภาษติ ท่ีไดจ้ ากการศึกษาให้
ได้มากท่ีสดุ แลว้ เขียนลงในสมุด
๖. นักเรยี นทาใบงาน เรอื่ ง สานวน
คาพงั เพย สภุ าษิต

ครงั้ ท่ี จานวน ตวั ชว้ี ัด/ สาระการเรยี นร้/ู สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมสาคญั / ภาระงาน

ขั้นสรุป
๗. นักเรยี นสรุปความรูเ้ ร่ือง สานวน
คาพังเพย สุภาษติ แลว้ แสดงความ
คดิ เหน็ วา่ จะนาความรไู้ ปใช้ใน
ชีวติ ประจาวันอยา่ งไร

ภาระงาน
๑. นกั เรยี นรวบรวมสานวน คาพงั เพย
และสุภาษติ ที่ได้จากการศึกษาให้
ไดม้ ากท่สี ดุ แล้วเขียนลงในสมุด
๒. นกั เรยี นทาใบงาน เรือ่ ง สานวน
คาพงั เพย สุภาษิต

๖๐ ๑ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้
(สานวนที่เปน็ ท ๔.๑ ม.๑/๖ จาแนกและใช้ สานวนทเ่ี ป็นคาพงั เพยและสุภาษติ ๑. หนงั สือทามือ
คาพงั เพยและ สานวนท่ีเป็นคาพงั เพยและ
สภุ าษติ กจิ กรรมสาคัญ
สภุ าษิต) ท ๕.๑ ม.๑/๔ สรปุ ความรู้และ ขัน้ นา
ข้อคิดจากการอา่ นเพื่อ ๑. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายสรปุ
ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน ความรู้เกย่ี วกับความแตกต่างของ
สานวน คาพังเพย และสุภาษิต
จุดประสงค์ ขน้ั สอน
๑. นกั เรยี นสามารถจาแนกและ ๒. ครูมอบหมายให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม
ใชส้ านวนที่เป็นคาพังเพยและ จดั ทาหนงั สือทามือ เรอ่ื ง คาพังเพย
สภุ าษิตได้ และสุภาษติ โดยให้ครอบคลุมประเดน็
๒. นักเรยี นสามารถนาข้อคดิ ท่ี ตามทีก่ าหนด
ได้จากการอ่านคาพงั เพยและ ๓. ครูตรวจผลงานหนงั สอื ทามือ
สุภาษติ ไปประยุกต์ใชใ้ น เก่ยี วกับคาพังเพย หรือสุภาษิต แล้ว
ชวี ิตประจาวันได้ คัดเลอื กผลงานดเี ดน่ ๓ ผลงาน จดั
แสดงหนา้ ช้ันเรยี นในคาบเรียนถดั ไป
จดุ ประสงค์ ขั้นสรปุ
๔. นกั เรียนสรุปความรูท้ ี่ได้จากการ
เรยี น เร่อื ง สานวน คาพังเพย สุภาษิต
แล้วแสดงความคิดเห็นว่าจะนาความรู้
ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันอยา่ งไร

ภาระงาน
๑. นักเรียนแต่ละกลมุ่ จดั ทาหนงั สือ
ทามือ เรื่อง คาพงั เพยและสภุ าษิต

๑๔. แผนการประเมนิ ผลการเรียน

๑. อตั ราส่วนคะแนนระหวา่ งภาค :คะแนนปลายภาค = ๗๐ : ๓๐

๒. อตั ราส่วนคะแนน K : P : A = ๖๔ : ๒๑ : ๑๕

โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

ที่ วธิ กี ารประเมนิ ผลนกั เรียน ตวั ช้ีวดั /ผลการ ชว่ งเวลา คะแนน
เรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี) (รอ้ ยละ)

๑ เก็บคะแนน อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองฯ (งานเด่ียว) ท ๑.๑ ม.๑/๑ ๑ ๒

๒ เก็บคะแนน จับใจความสาคัญจากเรือ่ งที่อ่าน (งานเดย่ี ว) ท ๑.๑ ม.๑/๒ ๒ ๑

๓ เกบ็ คะแนน ระบุและอธิบายคาเปรยี บเทยี บและคาท่ีมีหลากหลาย ท ๑.๑ ม.๑/๔ ๒ ๒

ความหมาย (งานเด่ียว) ๑

๔ เกบ็ คะแนน วิเคราะห์คณุ ค่าที่ไดร้ บั จากการอา่ นงานเขยี น (งานกลมุ่ ) ท ๑.๑ ม.๑/๘ ๓ ๒

๕ เกบ็ คะแนน มมี ารยาทในการอ่าน (งานเดยี่ ว) ท ๑.๑ ม.๑/๙ ๓ ๒

๖ เก็บคะแนน มมี ารยาทในการเขียน (งานเด่ยี ว) ท ๒.๑ ม.๑/๙ ๔ ๒

๗ เกบ็ คะแนน วเิ คราะหช์ นิดและหน้าท่ขี องคาในประโยค (งานกล่มุ ) ท ๔.๑ ม.๑/๓ ๕ ๒๐

๘ เก็บคะแนน แตง่ บทรอ้ ยกรอง (งานกลมุ่ ) ท ๔.๑ ม.๑/๕ ๖ ๔

๙ เกบ็ คะแนน สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น (งานกลุม่ ) ท ๕.๑ ม.๑/๑ ๗ ๓

๑๐ เกบ็ คะแนน วิเคราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่าน (งานกลมุ่ ) ท ๕.๑ ม.๑/๒ ๗

๑๑ เก็บคะแนน อธิบายคณุ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน (งานกลุ่ม) ท ๕.๑ ม.๑/๓ ๘ ๑

๑๒ เกบ็ คะแนน สรปุ ความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยกุ ตใ์ ช้ใน ท ๕.๑ ม.๑/๔ ๙

ชีวิตประจาวัน (งานเดยี่ ว)

๑๓ ทดสอบกลางภาค ๑๐

๑๔ เก็บคะแนน เก็บคะแนนการเขยี นบรรยายประสบการณ์ (งานเดย่ี ว) ท ๒.๑ ม.๑/๓ ๑๑

๑๕ เกบ็ คะแนน เขยี นเรยี งความ (งานเด่ียว) ท ๒.๑ ม.๑/๔ ๑๒

๑๖ เกบ็ คะแนน เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน (งานกลุ่ม) ท ๒.๑ ม.๑/๘ ๑๓

๑๗ เกบ็ คะแนนการพดู สรปุ ใจความสาคัญจากเร่ืองทีอ่ ่าน (งานกลุ่ม) ท ๓.๑ ม.๑/๑ ๑๔

๑๘ เกบ็ คะแนน ประเมนิ ค่าความน่าเช่อื ถอื ของสอ่ื ที่มีเน้ือหาโน้มนา้ วใจ ท ๓.๑ ม.๑/๔ ๑๕

(งานกลมุ่ )

๑๙ เก็บคะแนน พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ทีฟ่ ังและดู (งานกลุ่ม) ท ๓.๑ ม.๑/๕ ๑๖

๒๐ เก็บคะแนน มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู (งานเดี่ยว) ท ๓.๑ ม.๑/๖ ๑๗

๒๑ วเิ คราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขยี น (งานกล่มุ ) ท ๔.๑ ม.๑/๔ ๑๘ ๒
๒๒ เก็บคะแนน ท่องจาบทอาขยาน (งานเด่ียว) ท ๕.๑ ม.๑/๕ ๑๙ ๒
๒๓ ทดสอบปลายภาค ๒๐ ๓๐
๑๐๐
รวม

๑๕. รายละเอียดภาระงาน
ในการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาภาษาไทย กาหนดใหน้ ักเรียนทากจิ กรรม / ปฏบิ ัตงิ าน (ช้ินงาน)

จานวน ๙ ช้ิน ดังน้ี

ที่ ช่อื งาน ตวั ชี้วัด/ผลการ คะแนน ลกั ษณะ กาหนดสง่
เรียนรู้ ข้อที่ งาน วัน/เดือน/ปี
๑ บันทึกการอ่าน-หนงั สอื นอกเวลา ๒
๒ แตง่ บทร้อยกรอง-กาพย์ยานี ๑๑ ท ๑.๑ ม.๑/๒ ๒ เด่ยี ว สัปดาหท์ ี่ ๒
๓ หนังสือทามือ-คาพังเพยและสุภาษิต ท ๔.๑ ม.๑/๕ ๒ กลุ่ม สัปดาห์ที่ ๖
๔ แผนผังบทร้อยกรอง ท ๕.๑ ม.๑/๒ ๒ กลุ่ม สปั ดาห์ท่ี ๗
๕ หนงั สอื เล่มเล็ก-นทิ านพืน้ บ้าน ท ๕.๑ ม.๑/๔ ๔ กลุ่ม สปั ดาห์ท่ี ๙
๖ เขียนเรียงความ ท ๒.๑ ม.๑/๓ ๔ เด่ียว สัปดาหท์ ่ี ๑๑
๗ เขียนโครงงาน ท ๒.๑ ม.๑/๔ ๖ เดี่ยว สัปดาหท์ ่ี ๑๒
๘ สมดุ ภาพ-เคร่ืองคาวหวาน ท ๒.๑ ม.๑/๘ ๓ กลุ่ม สปั ดาห์ท่ี ๑๓
๙ เขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้า ท ๓.๑ ม.๑/๑ ๓ กล่มุ สัปดาห์ที่ ๑๔
ท ๓.๑ ม.๑/๕ ๒๘ เดี่ยว สัปดาหท์ ่ี ๑๖
รวมคะแนน

หากนักเรียนขาดส่งงาน ๔ ชิน้ และมคี ะแนนตลอดภาคเรียนไมถ่ งึ ๔๐ คะแนนจะได้รับผลการเรยี น
“ร” ในรายวิชานี้ (การกาหนดนา้ หนกั คะแนนต่อภาระหรอื ชนิ้ งาน ไม่ควรกาหนดเกนิ ช้ินละ ๕ คะแนน
สาหรบั งานเดี่ยวและ ๑๐ คะแนนสาหรบั งานกลมุ่ )

๑๗. วธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน (ระบไุ ด้มากกวา่ ๑ วิธ)ี [ ] แบบกรณีศึกษา
[ ]แบบทดลองในห้องปฏิบตั ิการ [ /] แบบ Brain Base Learning
[/] แบบ Problem Based Learning [ /] แบบ Brainstorming Group
[/] แบบสาธิต [ /] แบบอน่ื ๆ (ระบุ) Active Learning
[/] แบบบรรยาย

๑๘. สอ่ื / แหล่งเรียนรู้
๑. หนงั สือเรยี นภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๑
๒. หนังสอื เรยี นภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.๑
๓. วีดีทัศน์ วีซีดี
๔. แหล่งขอ้ มูลบนเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
๕. หอ้ งสมดุ
๖. แผนผัง
๗. แอปพลิเคชัน Kahoot
๘. แอปพลเิ คชนั Plicker
๙. บตั รคา
๑๐. ใบงาน

๑๙. รายชอื่ หนงั สืออา่ นประกอบ
๑. หนังสืออ่านนอกเวลา เรื่อง ขนมแมเ่ อ๊ย
๒. หนงั สือนิทานพืน้ บา้ นเรื่อง สงั ขท์ อง

๒๐. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด(ผลการเรยี นรู้) รายวิชา ภาษาไทย ๒
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง จับใจความสาคัญจากเร่ืองท่ีอ่าน ระบุ

และอธบิ ายคาเปรียบเทียบและคาทีม่ ีหลายความหมายในบรบิ ทตา่ ง ๆ จากการอ่าน ตีความคายากในเอกสาร
วิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท วิเคราะห์คุณค่าท่ีได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อนาไปใช้
แก้ปญั หาในชีวิต มีมารยาทในการอ่าน

ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง
ท ๑.๑ ม.๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเร่ืองที่อ่าน
ท ๑.๑ ม.๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทียบและคาหลายความหมายในบรบิ ทต่าง ๆ

จากการอา่ น
ท ๑.๑ ม.๑/๕ ตีความคายากในเอกสารวชิ าการ โดยพจิ ารณาจากบรบิ ท
ท ๑.๑ ม.๑/๘ วิเคราะห์คุณค่าที่ไดร้ บั จากการอา่ นงานเขยี นอยา่ งหลากหลายเพอื่ นาไปใช้

แก้ปญั หาในชวี ติ
ท ๑.๑ ม.๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ เขยี นบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุสาระสาคัญและรายละเอยี ดสนบั สนุน

เขียนเรยี งความ เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน มมี ารยาทในการเขยี น
ตวั ชี้วัด ท ๒.๑ ม.๑/๓ บรรยายประสบการณโ์ ดยระบุสาระสาคญั และรายละเอียดสนับสนุน
ท ๒.๑ ม.๑/๔ เขยี นเรยี งความ
ท ๒.๑ ม.๑/๘ เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ และโครงงาน
ท ๒.๑ ม.๑/๙ มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ พดู สรุปใจความสาคัญของเร่ืองที่ฟงั และดู ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถอื ของสอ่ื ท่มี ี
เนือ้ หาโนม้ น้าวใจ พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศกึ ษาค้นควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา มีมารยาทใน
การฟงั การดู และการพูด
ตวั ช้วี ัด ท ๓.๑ ม.๑/๑ พูดสรุปใจความสาคญั ของเรื่องท่ีฟังและดู

ท ๓.๑ ม.๑/๔ ประเมนิ ค่าความน่าเช่ือถือของสื่อทมี่ ีเน้ือหาโนม้ น้าวใจ
ท ๓.๑ ม.๑/๕ พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเด็นท่ีศกึ ษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ
สนทนา
ท ๓.๑ ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู

สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา
มาตรฐาน ท ๔.๑ วิเคราะหช์ นิดและหน้าท่ขี องคาในประโยค วิเคราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพดู
และภาษาเขียน แต่งบทร้อยกรอง
ตัวชว้ี ดั ท ๔.๑ ม.๑/๓ วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ีของคาในประโยค

ท ๔.๑ ม.๑/๔ วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน
ท ๔.๑ ม.๑/๕ แต่งบทร้อยกรอง

สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่
อ่านพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน สรุปความรู้และข้อคิดจากการ
อา่ นเพอื่ ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณคา่ ตามความสนใจ
ตวั ชี้วดั ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน

ท ๕.๑ ม.๑/๒ วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
ท ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ น
ท ๕.๑ ม.๑/๔ สรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอา่ นเพ่ือประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ
ท ๕.๑ ม.๑/๕ ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่กี าหนดและบทรอ้ ยกรองทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ

๒๑. ขอ้ ตกลงในการเรยี นรายวิชา ภาษาไทย ๒
๑..เขา้ ห้องเรียนตรงเวลา
๒. ตอ้ งมหี นงั สือเรียน สมดุ และอปุ กรณ์ประกอบการเรียนพร้อมทกุ ครงั้ ที่เข้าเรียน
๓. เข้าเรยี นอย่างนอ้ ยร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด
๔. สง่ งานตรงเวลาทคี่ รูกาหนด
๕. รว่ มมือรว่ มใจกันรักษาความสะอาดของหอ้ งเรยี น

๖. หา้ มส่งเสยี งดังรบกวนเพ่ือนร่วมชัน้ เรียน
๗. ห้ามนาอาหาร ลกู อม ขนมขบเคีย้ วเขา้ มารบั ประทานในหอ้ งเรียน
๘. แต่งกายใหเ้ รียบรอ้ ยถกู ระเบียบ
๙. รู้รัก สามคั คีมีน้าใจ ใสใ่ จส่วนรวม และเออื้ เฟ้ือเผอ่ื แผ่ซ่ึงกนั และกัน
๑๐. พดู จาไพเราะ
๑๑. ถอดรองเท้าก่อนเขา้ ห้องเรียน
๑๒. ชือ่ ครูผู้สอน นางสาวอรอมุ า พดั ทอง เบอรโ์ ทรศัพท์ ๐๙๔-๔๗๐๖๖๘๓
E-mail : [email protected]

ลงชือ่ ....................................................ครูประจาวชิ า
(นางสาวอรอุมา พัดทอง)


Click to View FlipBook Version