The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 3 สรุปการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้เรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พวงทอง เพชรโทน, 2019-12-22 12:13:46

เล่มที่ 3 สรุปการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้เรียน

เล่มที่ 3 สรุปการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผู้เรียน

การอบรมเชิงปฏิ บัติ การ หลักสตู ร
โครงการพัฒนาทั กษะการคิ ด Growth
สาํ หรับผู้เรียน
ในศตวรรษที 21 mindset

(ภายใต้ โครงการบู รณาการยกระดับ ดว้ ยจติ ตปญญา
คุณภาพการศึ กษาและการเรียนรู้ตลอด
ชีวิตสาํ หรับการเรียนรู้ในศตวรรษที 21)

การประชุม หลักสตู รฝกทักษะ
เชิงปฏิบัติการ การวางแผนชวี ติ
พัฒนาหลักสูตร ดว้ ยหลักทรงงาน
พัฒนาผู้เรียน บูรณาการ
กับแผนทีชวี ติ

หลักสตู รค่ายสรา้ งนกั คิด
เชงิ ออกแบบทีเนน้ ชุมชนเปนฐาน

ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ อุ ด ร ธ า นี



รายงานผลการพฒั นาหลกั สูตรพัฒนาผูเรยี น
โครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผูเ รียนในศตวรรษท่ี 21
(ภายใตโครงการบูรณาการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและ
การเรยี นรตู ลอดชีวิตสำหรบั การเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21)

จดั ทำโดย
คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี





คำนำ

รายงานผลการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผูเรียน ของโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผูเรียนใน
ศตวรรษท่ี 21 (ภายใตโ ครงการบูรณาการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตสำหรับการ
เรียนรูในศตวรรษที่ 21) เลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการพัฒนาหลักสูตร“ปลูกศรัทธาครูผูมุงมั่นในการ
สอนคดิ (Growth mindset ดวยจติ ตปญ ญา)”เพ่ือใหไดห ลกั สตู รตามวัตถุประสงคข องโครงการ

คณะทำงาน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ไดจัดทำรายงานสรุปผลการพัฒนา
หลักสูตรพัฒนาผูเรียนโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ฉบับนี้เพื่อเปนการ
ประเมินผลการดำเนินโครงการเพื่อไดทราบแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงาน และขอเสนอแนะใน
การจัดโครงการ ในรายงานศึกษา คณะผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนในการ
จัดการโครงการตอไป

คณะผูจดั ทำ
โครงการพฒั นาทกั ษะการคิดสำหรับผูเ รยี นในศตวรรษท่ี 21

คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
มกราคม 2562



สารบญั

คำนำ.................................................................................................................................................. ก
บทสรุปผูบริหาร ................................................................................................................................. 1
แบบสรปุ ผลโครงการ …………………………………………………………………………………………………………… 2
สว นท่ี 1 บทนำ .................................................................................................................................. 4

1. โครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21................................................... 4

สว นที่ 2 ระเบยี บและวธิ กี ารประเมินผล .......................................................................................... 6
สวนที่ 3 ผลการศึกษา …………………………………………………………..…………..…………………..…………. 7
ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………..………………….………….. 11

1. เอกสารหนังสือตาง ๆ ที่ใชใ นโครงการ .......................................................................... 16
2. ประมวลภาพกจิ กรรม ………………………………………………………………………………………. 20
3. ผรู ับผิดชอบโครงการ ………………………..…………………………………………………………..…. 23

1

บทสรปุ สำหรบั ผบู รหิ าร

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ดำเนินการโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับ
ผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (ภายใตโครงการบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
สำหรับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21) มีวัตถุประสงคดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปญหาและความตองการของครู
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 2) เพ่ือพัฒนา
รูปแบบการสงเสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะ
การคิดในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาครูตามรูปแบบการสงเสริมความสามารถของครู
ในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21

จากการดำเนนิ โครงการในครั้งน้ี ไดผ ลผลิตในการดำเนินงานครัง้ นเ้ี ปน หลักสตู รการพัฒนาผูเรียน
ประกอบดวย 1) หลกั สูตร Growth mindset ดวยจิตตปญ ญา 2) หลกั สูตรฝก ทักษะการวางแผนชีวติ ดวย
หลักทรงงานบรู ณาการกบั แผนท่ีชวี ิต 3) หลกั สตู รคายสรางนักคิดเชงิ ออกแบบทเ่ี นน ชมุ ชนเปน ฐาน“ปลูก
ศรัทธาครผู มู งุ ม่ันในการสอนคิด (Growth mindset ดว ยจิตตปญ ญา)” เพื่อนำไปใชป ระกอบการฝก อบรม
แกผทู ี่มสี ว นเก่ียวของในโครงการตอ ไป

ปญ หาอุปสรรคในการดำเนินงาน

-

2

แบบสรุปผลโครงการ

1. ชอื่ หนว ยงาน(คณะ/สำนัก) ครศุ าสตร หลักสูตร

2. ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผูเ รียนในศตวรรษท่ี 21 (ภายใตโ ครงการบูรณาการ
ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชวี ิตสำหรบั การเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21): การพัฒนา
หลักสตู รพัฒนาผูเรียน

3. สอดคลอ งแผนยุทธศาสตร( มหาวทิ ยาลัย) ดา น :

ยุทธศาสตรท ่ี 1 : การพัฒนาทอ งถ่ิน

ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 : การผลติ และพัฒนาครู

ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 : การยกระดับคุณภาพการศึกษา

ยทุ ธศาสตรที่ 4 : การพฒั นาระบบบริหารจัดการ

4. ปรากฏในแผนยุทธศาสตร (หนวยงาน) ดา นประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ 1 (ระบุ) การผลิตบัณฑติ ใหเ ปน
บณั ฑิตท่ีพึงประสงค

5. ปรากฏในแผนปฏบิ ัติราชการ(หนว ยงาน) โครงการประชมุ วิชาการผลงานวิจัยฯ

6. เช่ือมโยงการประกนั คณุ ภาพฯ (ตัวบงชี้/เกณฑ)

7. วนั เวลา สถานที่ จัดโครงการ ระหวา งวนั ที่ 19-20 มกราคม 2562

8.  มี  ไมม ี การบรู ณาการกับการเรียนการสอน
 มี  ไมม ี การบูรณาการกับการบริการวิชาการแกสังคม
 มี  ไมม ี การบรู ณาการกบั การทำนุบำรุงศลิ ปวัฒนธรรม
 มี  ไมมี การบูรณาการกบั การวจิ ยั

ถามี (โปรดกรอก) - หลักสูตร/รายวิชา ทกุ รายวิชา

บูรณาการอยางไร (อธิบายโดยยอ) การดำเนินกิจกรรมดำเนินในพื้นที่โรงเรียนและชุมชนในเขตพื้นท่ี
บริการบูรณาการกับการบริการวิชาการแกสังคม และนำเนื้อหาในหลักสูตรมาประยุกตใชในการจัดการ
เรียนการสอนได

9. ผลการดำเนินโครงการ

1.1 เปาหมายโรงเรียนที่รวมโครงการ 1 โรงเรียน
1.2  บรรลุ  ไมบ รรลุ เปา หมายของโครงการ
1.3ผูเขา รว มโครงการ 1 โรงเรยี น ประกอบดว ย อาจารยผรู บั ผดิ ชอบโครงการ 7 คน
1.4 คา ใชจ ายในการจัดโครงการ บาท  เปนไปตามแผน

 ไมเ ปน ไปตามแผน
2. มีการรายงานผลการจดั โครงการตอผบู ริหารและไดนำขอ เสนอแนะไปปรบั ปรุงการจดั โครงการในป
ถัดไปอยางไร จัดทำเลมรายงานสรุปโครงการและมีการนำขอเสนอแนะตาง ๆ เพ่ือปรบั ปรุงการจดั
โครงการในครง้ั ตอ ไป

ลงชอื่ )
( )
ผรู ับผดิ ชอบโครงการ

ลงชอ่ื
(
ผบู ังคับบัญชา

4

สว นท่ี 1
บทนำ
โครงการพัฒนาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21

1. หลกั การและเหตผุ ล
การยกระดบั คุณภาพความสามารถในออกแบบการสอนใหแกครูจงึ เปนส่ิงจำเปนและเพ่ือสอดคลอ งกับ

ครูยคุ ใหมใ นยคุ ศตวรรษที่ 21 ทีม่ งุ เนนพฒั นาผเู รียนใหมีทักษะกระบวนการเรยี นรู โดยเฉพาะทกั ษะกระบวนการ
คิดระดับสูง มารซาโน (Marzano, 2001) ไดกลาววา การคิดเปนสิ่งท่ีเรียนรูและสามารถพัฒนาได โดยอาศัย
การพัฒนาทักษะพื้นฐานการคิดไดแก ทักษะการจำแนกการจัดหมวดหมู การสรุป การประยุกตใช และการ
คาดการณ ซึ่งเปนองคประกอบสำคัญของการคิดระดับสูง การพัฒนาครูใหเปนผูมีความรูความเขาใจในการ
ออกแบบกิจกรรมในจัดประสบการณแ ละสรางบรรยากาศในการกระตนุ และพฒั นาผูเรยี นใหเ กิดทักษะการคิดขั้น
สงู ดังกลาว จะสง ผลตอ ดกี ารเปนครทู ด่ี มี คี ุณภาพตอ การพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21

จากเหตผุ ลขางตน จึงมคี วามจำเปน ท่ีจะพัฒนาทักษะการสอนคิดใหแกครโู ดยเฉพาะครูผปู ฏบิ ัตกิ ารสอน
ในระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ซึ่งถือวาเปนการเตรียมครมู ืออาชีพสูส ำหรบั การพัฒนาผูเรียนในยุคศตวรรษที่ 21
(วจิ ารณ พานิช, 2556) เพอ่ื พฒั นาใหครมู ีความรูความเขาใจในหลักและ วธิ ีการทีถ่ ูกตอ งในการพัฒนาทักษะการ
คิดในศตวรรษที่ 21 ดวยคาดหวังวาครูสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท ี่มุงเนนพัฒนาทักษะกระบวนการ
คิดระดับสงู แกนักเรยี นได อันจะสง ผลตอการยกระดบั คุณภาพการคิดของนักเรยี น

จากขอ มลู ดังกลาวขางตนคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี เปน หนวยงานตนทางในการผลิต
ครู เมื่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วโดยเฉพาะการเจริญกาวหนาในศาสตร
หลายแขนงรวมถึงการวิธีการสอนมีการปรับเปลี่ยนไปเพื่อใหส อดคลองกับววิ ัฒนาการของการเรียนรูของผูคนใน
โลกที่เรียนกวายุคดิจิทัล บทบาทหนาที่วิธีการถายทอดความรูจากครูสูผูเรียนก็ตองปรับเปลี่ยนไปเพื่อให
สนองตอบตอ ผเู รียน การสง เสรมิ และพัฒนาครปู ระจำการใหมีความรูความเขาใจตอสภาพ การปรบั เปลย่ี นไป จึง
ถอื วาเปน ภาระหนาทคี่ วามรับผดิ ชอบตอผลผลติ ที่สง ออกไปสูสถานศึกษาของคณะครศุ าสตรเ ชน กัน

2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อศึกษาสภาพปญหาและความตองการของครูเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน

การพฒั นาทักษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21
2.2 เพื่อพัฒนารูปแบบการสง เสริมความสามารถของครูในการออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เนน การ

พฒั นาทกั ษะการคิดในศตวรรษที่ 21
2.3 เพื่อศึกษาผลการพัฒนาครูตามรูปแบบการสงเสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการ

เรียนการสอนที่เนน การพัฒนาทักษะการคดิ ในศตวรรษท่ี 21

3. วัน-เวลาดำเนินโครงการ: การศกึ ษาขอ มูลพนื้ ฐาน ระหวา งวนั ท่ี 5 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม 2561

4. สถานท่ีดำเนนิ โครงการ คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี จังหวดั หนองคาย
และจังหวดั บึงกาฬ

5

5. ผลลพั ธ/ ผลทีค่ าดวาจะไดรับ
5.1 ไดรปู แบบท่ีใชเ ปนแนวทางในการพฒั นาทักษะการออกแบบการเรยี นการสอนของครูซ่ึงเปนการเตรียม

ครมู อื อาชีพสหู องเรียนสำหรับรบั มือกับการพัฒนาผเู รียนในยุคปจจุบนั และในศตวรรษที่ 21
5.2 ไดแนวทางเพื่อชว ยใหอาจารยไ ดแสวงหาวิธปี ฏบิ ตั ิการแกปญ หาการจดั การเรยี นการสอนอยา งเปนระบบ

สำหรับการพัฒนานักศกึ ษาครูในระดบั อดุ มศึกษา
5.3 ไดแนวทางในการวิจัยและพฒั นากระบวนการเรยี นรูส ำหรบั นักศกึ ษาครู
5.4 ไดแนวทางในการสรางเครอื ขายการวจิ ัยสำหรบั พฒั นาคณุ ภาพศกึ ษาระหวางหนว ยงานผผู ลติ ครแู ละผใู ช

ครู

6. หนวยงานท่ีรับผิดชอบ คณะครุศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

สวนที่ 2
ระเบยี บและวิธกี ารประเมินผล

การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผูเรียน จากโครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21
ระหวา งวนั ที่ 19-20 มกราคม 2562 กำหนดระเบียบและวธิ ีการประเมินผล ดงั นี้

วตั ถปุ ระสงคของการประเมินผล

เพอื่ การพฒั นาหลักสตู รพัฒนาผเู รยี น เพื่อกำหนดกรอบกิจกรรมการเรียนการสอนทเ่ี นน การพฒั นาทักษะ
การคิดในศตวรรษที่ 21

ขอบเขตของการประเมินผล

ขอบเขตดา นประชากร
การเก็บรวบรวมขอมลู จากแบบบันทึกประเดน็ การศึกษาขอมูล
กลุมเปา หมาย คือ คณะผดู ำเนนิ โครงการจำนวน 7 คน
ขอบเขตดา นเน้ือหา ประกอบดวย

1) หลักสูตร Growth mindset ดว ยจิตตปญ ญา
2) หลกั สูตรฝก ทักษะการวางแผนชีวิตดวยหลกั ทรงงานบูรณาการกบั แผนทชี่ วี ติ
3) หลกั สตู รคายสรา งนักคดิ เชิงออกแบบที่เนนชมุ ชนเปน ฐาน

สว นท่ี 3

ผลการศึกษา

รายงานผลการพัฒนาหลักสตู รพัฒนาผูเรียน โครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรบั ผูเรียนในศตวรรษท่ี
21 วันที่ 19-20 มกราคม 2562 ณ หองประชุม 1221 อาคาร 12 คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุดรธานี ประกอบดวย 1) หลักสูตร Growth mindset ดวยจิตตปญญา 2) หลักสูตรฝกทักษะการวางแผน
ชีวติ ดว ยหลักทรงงานบูรณาการกบั แผนทช่ี วี ิต 3) หลกั สตู รคายสรางนักคิดเชงิ ออกแบบท่เี นน ชุมชนเปนฐาน

หลักสตู รพฒั นานกั เรียน 8

จิตปญ ญา เพื่อพฒั นา แผนทชี่ วี ิต ออกแบบผลติ ภัณฑ
Growth Mindset เข็มทิศสูความสำเร็จ ออกแบบบริการ

ออกแบบ
กระบวนการ
พฒั นาชมุ ชน/ทองถ่ิน
VS พัฒนาการใชช วี ิต

พฤติกรรมที่ KCDT Model
คาดหวงั พัฒนาทกั ษะการคิดในศตวรรษที่ 21

การคดิ แกป ญหา การคดิ ริเริม่ สรา งสรรค การคิดเชงิ ออกแบบ
(Problem Solving Thinking) (Creativity Thinking)
(Design Thinking)

Creativity and Innovation (สรางสรรคและนวัตกรรม)

Communication KCDT กบั พัฒนาทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 Collaboration
(การส่ือสาร) “4Cs Skill” “Super Skills” (การทำงานรว มกนั )

สำหรับผเู รยี น

Critical Thinking and Problem Solving (คิดอยางมวี จิ ารณญาณ และแกป ญหา)

9

การพฒั นาทกั ษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21
ดวยหลกั การทรงงานบูรณาการกระบวนการคดิ เชิงออกแบบที่เนนชุมชนเปน ฐาน สำหรับเยาวชน

วัตถุประสงค 1. เพอ่ื ทกั ษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 : การคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) และ
การคิดผลติ ภาพ (Productive think)

2. เพ่ือเสรมิ สรา งความเปนพลเมืองใสใจสังคม
แนวคดิ ของรปู แบบ

1. ใชการพัฒนานักเรียนไดโดยตรงในลักษณะการจัดกิจกรรม ทงั้ ในและนอกเวลาเรยี น
2. เปนรปู แบบกจิ กรรมทเ่ี นน ใหผเู รยี นไดเ รียนรผู า น กจิ กรรม สถานการณ ปญ หาท่เี กิดข้ึนในชมุ ชน
อันเปน วถิ ชี วี ติ ของเขาเองเปนบทเรยี น (เนน ลงภาคสนาม โดยลงชุมชน)
3. เปนรูปแบบกิจกรรมท่เี นน ใหผเู รยี นการใช Design Thinking ในการแกป ญหา การการออกแบบ
นวตั กรรม ผา นการเขาใจปญ หาใหถ กู ตอ ง, การคดิ แบบไมมีกรอบ และ การเรยี นรผู า นการทดลองลงมือทำ
โดยใชห ลักการทรงงานเปน ตัวกำกบั การเรยี นรู การทำงาน ใช Thinking Tools ในการชนี้ ำการคิด
เน้อื หา : โครงสรา งเน้อื หาหลักสูตร

เนื้อหา เวลา(ช่วั โมง)

หนวยที่ 1 : เครื่องมอื ช้นี ำการคิด Thinking Tools 3
1.1 เครื่องมอื ชี้นำการคิดของ De Bono (AGO, CAP, APC, PMI, OPV, C&S ,FIP)
1.2 เทคนคิ การใชคำถาม DEAL , CPFM และ OEPC 3

หนว ยท่ี 2 : 23 หลักการทรงงาน 3
2.1 ความหมายและความสำคัญหลักการทรงงาน 9
2.2 หลักการทรงงาน “เข็มทิศ”ในการเรยี นรู การใชช ีวิต 18
หลกั คิด : ภมู ิสังคม องคร วม ยดึ ประโยชนสว นรวม มีสวนรว ม เขา ใจความ

ตองการ รบั ฟง ความคิดเห็น เคารพความคิดที่แตกตา ง ฯ
หลักวชิ า : ทำงานอยา งผูรูจ ริง ไมต ิดตำรา ใชธ รรมชาตชิ วยธรรมชาติ และใช

อธรรมปราบอธรรม ฯ
หลกั ปฏบิ ตั ิ : เขา ใจ เขาถึง พัฒนา ประหยดั ไดป ระโยชนสงู สดุ ฯ

หนว ยที่ 3 : Design Thinking กระบวนการสรา งสรรคน วัตกรรม

หนว ยท่ี 4 : ปฏบิ ัติการใชก ระบวนการ Design Thinking (ลงพืน้ ท่ี /ชมุ ชน/ร.ร.)
“ออกแบบชีวิต” “ออกแบบชุมชน” “ออกแบบผลติ ภัณฑ”

รวม

Model 2: พฒั นาทักษะการคดิ เชิงออกแบบ (Design thinking) และ กา

หลกั คิด -สัมภาษณ –สอบถาม
- สังเกตการณ - มสี วนรวม
- ไมตัดสนิ -ต้งั คำถามท่ถี ูกตอง

EMPATHIZE DEFINE
เขา ใจปญหา ระบคุ วามตอ งการ
เขาถงึ ผคู นและ
หลักคิด
พ้ืนท่ี

- กำหนดกรอบปญ หาสำคญั
– กำหนกลุมเปาหมาย
- มองเหน็ ความสมั พันธ
- ระบุความตอ งการ

หล

ารคิดผลติ ภาพ (Productive think) ดว ย DT by King’s work principle.

หลกั วิชา -แลกเปล่ียนแนวคิด -
–ทกุ แนวคิดมคี า
IDEATE - คิดตา ง คดิ เหมือน -สรา งแบบจำลอง หลกั ปฏบิ ตั ิ
หาแนวทาง -คดิ ตา งจากแนวคิดเดมิ – เรยี บงาย
แกป ญ หา - ประหยดั
หลักวิชา - ทำไดจ รงิ

PROTOTYPE
พัฒนาตนแบบ

- เขาใจการนำไปใช TEST
– งานอะไรบา ง ทดสอบ
- ปรบั แกท นั ที
ลักปฏบิ ตั ิ - ระบคุ วามตอ งการ
- สอบถามกลมุ เปาหมาย

10

ตอนท่ี 4 รายช่ือผูเ ขา รว มการออกสำรวจขอ มลู พื้นฐานโครงการพฒั นาทกั ษะการคดิ
สำหรบั ผเู รยี นในศตวรรษ ที่ 21

1. นางสาวรุงทวิ า จนั ทนว ฒั นวงษ
2. ผชู วยศาสตราจารยพ วงทอง เพชรโทน
3. ผูชวยศาสตราจารยส ุนิสา วงศอารีย
4. นางภวิศา พงษเล็ก
5. นางสาวพรพิสทุ ธิ์ ดวงเงนิ
6. นางสาวทรรศนยี  วันชาดี
7. นางสาวชาครยิ า พันธท อง

11

ภาคผนวก

 เอกสารหนังสือตาง ๆ ทีจ่ ำเปนสำหรบั การจดั โครงการ
 ประมวลภาพกจิ กรรมการพฒั นาหลกั สตู รพัฒนาผูเรยี น

12

เอกสารหนงั สอื ตา ง ๆ ท่จี ำเปน สำหรบั การจดั โครงการ

13

14

15

16

17

18

19

20

ประมวลภาพกจิ กรรม

21
คณะทำงานรว่ มประชมุ พัฒนาหลกั สตู ร

22

คณะทำงานรว่ มประชมุ พัฒนาหลกั สตู ร

23

ผูร ับผดิ ชอบโครงการ

1. นางสาวรุงทิวา จันทนว ัฒนวงษ หวั หนาโครงการ
2. ผูชวยศาสตราจารยพ วงทอง เพชรโทน กรรมการ
3. ผชู วยศาสตราจารยสุนิสา วงศอารยี  กรรมการ
4. นางภวศิ า พงษเล็ก กรรมการ
5. นางสาวพรพิสุทธิ์ ดวงเงิน กรรมการ
6. นางสาวทรรศนยี  วันชาดี กรรมการ
7. นางสาวชาครยิ า พันธทอง กรรมการ




Click to View FlipBook Version