The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 10 รายงานการจัดการความรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พวงทอง เพชรโทน, 2019-12-22 12:00:42

เล่มที่ 10 รายงานการจัดการความรู้

เล่มที่ 10 รายงานการจัดการความรู้

Open House
& Lesson Learned

ก า ร นํา เ ส น อ ผ ล ก า ร ดํา เ นิ น กิ จ ก ร ร ม
แ ล ะ ก า ร ถ อ ด บ ท เ รี ย น

ก า ร อ บ ร ม เ ชิง ป ฏิ บั ติ ก า ร โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด
สาํ ห รั บ ผู้ เ รี ย น ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที 2 1

( ภ า ย ใ ต้ โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ า ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร
เ รีย น รู้ต ล อ ด ชี วิ ต สาํ ห รับ ก า ร เ รีย น รู้ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที 2 1 )

คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี



รายงานการจดั การความรโู้ ครงการพัฒนาทักษะการคิด
สำหรับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
(ภายใต้โครงการบรู ณาการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและ
การเรียนร้ตู ลอดชีวติ สำหรบั การเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21)

จัดทำโดย
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี

คำนำ

รายงานการจัดการความรู้โครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของโครงการ
พฒั นาทกั ษะการคิดสำหรบั ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (ภายใตโ้ ครงการบรู ณาการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการ
เรยี นรู้ตลอดชวี ติ สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21) เล่มนี้จัดทำขึน้ เพ่อื รายงานการจัดการความรู้ดงั กลา่ ว ซ่ึงเป็น
กิจกรรมในโครงการ

คณะทำงาน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้จัดทำรายงานการจัดการความรู้โครงการ
พัฒนาทักษะการคิดสำหรับผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 ฉบับนี้เพ่ือรายงานผลการจัดการความรู้ของกิจกรรมที่ดำเนิน
โครงการเพื่อได้ทราบแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะในการจัดโครงการ ในรายงาน
ศึกษา คณะผจู้ ดั ทำหวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ รายงานฉบบั นจ้ี ะเป็นประโยชนใ์ นการจดั การโครงการอบรมในครง้ั ตอ่ ไป

คณะผ้จู ดั ทำ
โครงการพฒั นาทักษะการคดิ สำหรบั ผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี
สิงหาคม 2562

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ดำเนินการ “รายงานการจัดการความรู้โครงการพัฒนา
ทักษะการคิดสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” (ภายใต้โครงการบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อถอบทเรียนการพัฒนาครูและ
นักเรยี นตามเปา้ หมายและแนวทางของโครงการ

บรบิ ทองค์กร : โรงเรยี นเจ็ดสวี ทิ ยาคาร เปน็ เรยี นมัธยมประจำนวนตำบล เป็นโรงเรยี นขนาดกลาง
จัดการศึกษา 2 ระดับ คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งเป็นพืน้ ท่ีการทำงานภายใต้
โครงการบูรณาการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของ
อาจารย์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

จุดมุ่งหมายการใช้กระบวนการจัดการความรู้ : คือการจัดการการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียน
การสอนของครู และการเรยี นรู้ของนักเรยี นโรงเรยี นเจด็ สีวทิ ยาคาร ประกอบด้วย

เปา้ หมายพฤตกิ รรมครู
1.1 ครูสร้างบรรยากาศของความรัก ความเมตตา ความไว้วางใจ การเข้าใจ และการ

ยอมรบั ให้เกิดขึน้ ในห้องเรียน
1.2 ครเู ปน็ แบบอย่างทีด่ ีในการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมการสอน การปฏิบตั ิตอ่ ศษิ ย์ ด้วย

มมุ มองตอ่ โลกอย่างเข้าใจ
1.3 ครูใชค้ ำถามทม่ี คี ณุ ภาพในการกระตุน้ การคดิ นักเรยี น เพ่ือการเสรมิ สร้างทกั ษะการคดิ

ในศตวรรษท่ี 21
เป้าหมายพฤติกรรมนักเรยี น
1.1 นกั เรยี นมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะการคิดวิเคราะหส์ ถานการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ ใน

ชีวิตได้อย่างเปน็ ระบบ แกป้ ญั หาที่เกิดขึน้ ทั้งในการดำเนนิ ชีวิต การเรยี นได้อย่างคดิ สรา้ งสรรค์
1.2 นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบว่าตนเป็นส่วนหนึง่ ของชมุ ชน
1.3 นักเรียนมีการวางแผนชีวติ ท่ีดีด้วยการทำแผนที่ชีวติ

แนวคดิ ทนี่ ำมาใช้ในการจัดการความรู้ : ของสำนกั งานคณะกรรมการพฒั นา ระบบราชการ (กพร.)
ประกอบด้วย 6 ขนั้ ตอน คอื การเตรยี มการและปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม การสอื่ สาร กระบวนการและเครือ่ งมอื
การเรียนรู้ การวดั ผล การยกย่องชมเชย และให้รางวลั

กระบวนการจัดการความรู้ : มีข้นั 4 ขั้นตอนคอื การถอดความรู้ (Knowledge Capture) การ

แลกเปลีย่ นเรียนรู้ (Knowledge Share) การนำความรไู้ ปใช้ (Knowledge Reuse) การเกบ็ รักษาความรู้

(Knowledge Maintenance) ซึ่งจัดการความรู้ใน 8 ประเดน็ ทเ่ี กี่ยวกบั การพัฒนาพฤติกรรมครู พฤตกิ รรม

นกั เรียน ดงั นี้

1) พฒั นาครู
ประเด็นความรทู้ ี่ 1 ปลูกศรัทธาครผู ้มู ุ่งมันในการสอนคิด (Growth mindset ดว้ ยจิต

ปัญญา

ประเด็นความรู้ท่ี 2 ทกั ษะการสอนนกั คดิ เชิงออกแบบท่ีเน้นชมุ ชนเป็นฐาน
ประเด็นความรู้ท่ี 3 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทกั ษะการคิด
2) พัฒนานกั เรยี น
ประเดน็ ความรู้ท่ี 1 พฒั นา Growth mindset ดว้ ยจติ ปญั ญา
ประเด็นความรู้ท่ี 2 ทักษะการวางแผนชีวติ ดว้ ยหลกั การทรงงานบรู ณาการกับแผนท่ีชวี ติ
ประเดน็ ความรู้ท่ี 3 ทกั ษะการคดิ เชิงออกแบบ
ผลผลิตของการจัดการความรู้
1) โรงเรยี นได้รปู แบบการจัดกจิ กรรมจิตปญั ญาศึกษาทสี่ อดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรยี น
2) โรงเรียนเกิดการสร้างบรรยากาศท่ีสง่ เสริมการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ระหวา่ งครูกบั ครู
นกั เรียนกบั ครู นำไปสูก่ ารพฒั นาทักษะกาคดิ ในศตวรรษที่ 21
3) โรงรียนการจัดเกบ็ องค์ความรทู้ ี่รวบรวมมาจากคณะครูและนักเรียนอย่างเป็นระบบ เชน่
การจดั ทำฐานขอ้ มลู ชุมชน ประวตั ิปราชญ์ ภูมิปญั ญาชมุ ชน แผนท่ีทอ่ งเท่ียวชุมชน เปน็ ต้น
ผลลพั ธข์ องการจดั การความรู้
1) ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ัติงานสูงขึ้น ทัง้ ครูและนกั เรยี น
2) พฤติกรรมของนกั เรยี นมคี วามเป็นระเบียบวนิ ยั มาขึ้น
3) บรรยากาศระหว่างครแู ละนักเรียนเปน็ ไปในทางบวกเพ่มิ มากข้นึ
4) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั โดยคณะครุศาสตร์ ไดน้ วตั กรรมการจดั การเรียนการสอนทักษะการ
คิดสำหรับ นกั ศึกษาครู และการให้บรกิ ารวชิ าการแก่สังคม

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน
เวลาเป็นอุปสรรคในการนเิ ทศติดตามงาน

สารบญั

คำนำ ............................................................................................................................................... ก
บทสรุปผู้บรหิ าร............................................................................................................................... ข
ส่วนที่ 1 บทนำ ................................................................................................................................ 1

1. กำหนดการโครงการพฒั นาทักษะการคดิ สำหรบั ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21.................................. 1
ส่วนที่ 2 ระเบยี บและวิธกี ารประเมนิ ผล........................................................................................... 6

สว่ นที่ 3 ผลการศกึ ษา …………………………………………………………..…………..……………………………. 9

ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………..………………….………….. 33

1. ประมวลภาพกจิ กรรม ……………………………………………………………………………. 34

1

สว่ นที่ 1
บทนำ

2

สว่ นที่ 2
ระเบยี บและวธิ กี ารประเมินผล

การจัดการความร้โู ครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรับผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 มีขนั้ ตอนการดำเนินงาน
ดงั นี้

1. กล่มุ เปา้ หมาย

2. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการพัฒนา
3. แนวคิดและวิธดี ำเนินการจัดการความรู้

กลมุ่ เปา้ หมาย
กลุ่มเปา้ หมายทม่ี สี ่วนรว่ มในการจดั การความรู้ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหาร คณะครู กรรมการสถานศกึ ษา ผูป้ กครอง

นกั เรียน และ นกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นเจ็ดสวี ิทยาคาร อำเภอเซกา จังหวัดบงึ กาฬ
ปรากฏ ดังตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 แสดงจำนวน ครู กรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครองและ นักเรยี น ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ

บคุ ลากร จำนวน (คน) รวม
ชาย หญิง
ผบู้ ริหาร 2- 2
ครผู ้สู อน 10 18 28
กรรมการสถานศกึ ษา 41 5
ผู้ปกครอง 8 13 21
นักเรยี น 41 57 98
ชุมชน 15 15 30
คณะทำงาน -7 7
นักศกึ ษา -- 80
271
รวมท้ังหมด

3

กรอบที่ใชใ้ นการจดั การความรู้

หลักสูตรพฒั นาครู
1. หลักสูตรปลูกศรัทธาครูผู้มุ่งมั่นในการสอนคิด (Growth mindset ด้วยจิตปัญญาพัฒนา

นักเรียน
2. หลักสตู รพฒั นาทักษะการสอนนักคิดเชิงออกแบบที่เนน้ ชุมชนเปน็ ฐาน

หลักสูตรพฒั นานกั เรยี น
1. หลักสูตร Growth mindset ด้วยจิตปญั ญา
2. หลกั สตู รฝกึ ทกั ษะการวางแผนชวี ติ ดว้ ยหลักการทรงงานบรู ณาการกบั แผนท่ชี ีวติ
3. หลักสตู รค่ายสรา้ งนกั คดิ เชงิ ออกแบบทเ่ี น้นชมุ ชนเป็นฐาน

แนวคดิ และวิธดี ำเนนิ การจัดการความรู้
แนวคิดการจดั การความรู้

ปัจจุบันแนวทางการจัดการความรู้ใน ประเทศไทยมีอยู่อย่างหลากหลายขึ้นอยู่กับ บริบท
ลักษณะ และประเภทขององค์กรที่นำมาใช้ คณะทำงานได้พิจารณาแนวคิดการจัดการความรู้ ของสำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (กพร.) ซึ่งเป็นกระบวนการบริหาร จัดการการเปลี่ยนแปลง (Change
Management Process) เป็นรูปแบบที่เหมาะสม เห็นสมควรนำมาใช้เป็นกรอบรูปแบบหนึ่งเพื่อใช้เปน็ เครือ่ งใน
การจัดการองคค์ วามรขู้ องโครงการ ไดม้ ุง่ เนน้ ถงึ ปจั จัยสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน หรือองคก์ รทโ่ี ครงการใช้เป็น
พื้นท่ีร่วมพัฒนา ที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการความรู้ ประกอบดว้ ยกรอบในการจดั การความรู้ 6 องค์ประกอบ
ได้แก่

1. การเตรยี มการและปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม เชน่ กจิ กรรมการมีสว่ นรว่ มและ สนบั สนุนจากผู้
บริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น), โครงสร้างพื้นฐานของโรงเรียน ทีม/ คณะครูที่รับผิดชอบ, มีระบบการติดตามและ
ประเมนิ ผล , กำหนดปัจจัยแหง่ความสำเรจ็ ชดัเจน

2. การสื่อสาร เชน่ กจิ กรรมทท่ี ำให้ ทุกคนเข้าใจถงึ สงิ่ ท่อี งคก์ รจะทำ ประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนกบั
ทุกคน, แต่ละคนจะมีสว่ นรว่ มได้ อย่างไร

3. กระบวนการและเครือ่ งมือ เช่น เครอื่ งมอื ชว่ ยให้การค้นหา เข้าถึง ถ่ายทอด และ แลกเปล่ยี น
ความรู้ สะดวกรวดเร็วขึ้นโดยการเลือกใช้กระบวนการและเคร่ืองมอื ขึ้นกบั ชนิดของความรู้, ลักษณะขององค์กร
(ขนาด, สถานที่ตั้ง ฯลฯ), ลักษณะการทำงาน, วฒั นธรรมองคก์ ร, ทรพั ยากร

4. การเรียนรู้ เชน่ กจิ กรรมที่ทำเพอื่ สร้าง ความเขา้ ใจและตระหนักถงึ ความสำคัญและ หลักการ
ของการจัดการความรู้ โดยการเรียนรู้ตอ้ งพจิ ารณาถงึ เน้ือหา, กลมุ่ เป้าหมาย, วธิ ีการ, การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ

5. การวดั ผล เช่น กจิ กรรมเพื่อให้ทราบ ว่าการดำเนินการไดบ้ รรลเุปา้ หมายท่ีต้ังไว้หรือไม่, มีการ
นำผลของการวัดมาใชใ้ นการปรับปรงุ แผน และการดำเนนิ การให้ดีขนึ้ , มีการนำผลการวัดมา ใชใ้ นการสื่อสารกับ

4

บุคลากรในทกุ ระดับให้เห็นประโยชนข์ องการจัดการความรู้ และการวัดผล ต้องพิจารณาด้วยว่าจะวัดผลที่ข้ันตอน
ไหนได้แก่ วดั ระบบ (System), วดั ท่ีผลลัพธ์ (Output) หรอื วัดที่ประโยชน์ที่จะได้รับ (Outcome)

6. การยกย่องชมเชยและให้รางวลั เชน่ กิจกรรมท่ีเปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจให้เกดิ การ ปรบั เปลี่ยน
พฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของ บุคลากรในทุกระดับ โดยข้อควรพิจารณา ได้แก่ ค้นหาความต้องการของ
บคุ ลากร, แรงจูงใจระยะสัน้ และระยะยาว, บรู ณาการกับระบบทมี่ อี ยู่, ปรับเปลี่ยนใหเ้ ข้ากบั กจิ กรรมท่ีทำในแต่ละ
ช่วงเวลา

กระบวนการจดั การความรู้ ทีมงานได้คดั เลือกกระบวนการจดั การความรู้ ของมหาวทิ ยาลัยเกษตร
มาเป็นแนวทางการขับเคลื่อน (2555) ซึ่งประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนดงั นี้

ขน้ั ตอนที่ 1 การถอดความรู้ (Knowledge Capture)
การถอดความรู้ หมายถึง วิธีการในการรวบรวมความรู้ ประสบการณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัตงิ าน

จากผเู้ ช่ยี วชาญในองคก์ ร วธิ ีการคือ
1. การกำหนดความรู้ (Knowledge Identification) หมายถงึ การพิจารณาของ ผู้รับผิดชอบใน

การดำเนนิ งานด้านการจดั การ ความรู้เพื่อระบวุ ่าความรู้อะไรบ้างที่บุคลากรใน องค์กรจำเป็นต้องรู้ โดยพิจารณา
ถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายของหน่วยงาน โดยความรู้ที่ สำคัญต่อองค์กร ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับ นักเรียนที่
ผู้รบั บริการ ความสัมพันธ์กบั ผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสียต่าง ๆ ประสบการณ์ความรู้ด้านกระบวนการเรียนการสอน การ
ทำงาน การพฒั นาผูเ้ รยี น การรู้จักผเู้ รยี น ต่างๆ ทผี่ เ้ ูชยี่ วชาญขององคก์ รส่ังสมมายาวนาน ซงึ่ ความรเู้ หล่าน้จี ะชว่ ย
ทำใหค้ รูผู้สอนสามารถ นำไปใช้ในการพฒั นาตนเอง พัฒนางานให้ สามารถบรรลุเปา้ หมายขององคก์ รได้

2. การจดั ลำดับความสำคญั ของความรู้ (Set Knowledge Priority) หมายถึง การเรียงลำดบั
ความสำคัญว่าความรู้อะไรบ้างที่ จำเป็นมากที่สุดและรองลงไปตามลำดับ ความสำคัญในการปฏิบัติงาน โดย
พจิ ารณาถึง วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ รวมถึงเปา้ หมายตามแผนกลยุทธ์ขององคก์ รเป็นอยา่ งไร จึงทำให้ทราบวา่ ความรู้ใด
ท่บี คุ ลากรจำเปน็ ตอ้ งใช้ประกอบในการ ปฏบิ ัติงานให้สามารถบรรลุตามเป้าหมายได้ ถา้ หากไมม่ ีความรู้เร่ืองนั้น
จะส่งผลให้ประสิทธภิ าพลดลง ถ้าหากองคก์ รสามารถคน้ หาความรู้เรื่องน้ันได้จะทำให้การพัฒนาบคุ ลากร
ตรงตามเปา้ หมายขององค์กรได้

3. การแสวงหาความรู้ (Knowledge Acquisition) หมายถงึ การค้นหาจากแหล่งความรทู้ จ่ี ำเป็น
สำหรับการปฏิบัติงาน โดยดำเนินการวิเคราะห์ถงึ แหลง่ ความร้ทู ีอ่ งค์กรจำเป็นตอ้ งมี และความรู้ที่มอี ย่เู หลา่ น้ัน
จะมาจากที่ใดบ้าง เช่น ผู้เชี่ยวชาญท้ังภายในและภายนอก องค์กร ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุด งานวิจัย
เอกสาร ตำรา จุลสาร วารสาร เป็นต้น ยกตัวอย่าง เช่น การจัดทำทำเนียบผู้เช่ียวชาญขององค์กร โดยการระบุ
รายชื่อของผู้รู้และ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรว่ามีใครบ้าง ซึ่งอาจจะมาจากทงั้ภายในและภายนอก
องคก์ ร เพราะการมีรายชอ่ื และเบอรโ์ ทรศัพท์ท่ีสามารถติดตอ่ ทง้ั น้ีเพ่ือให้บุคลากรภายในองคก์ รสามารถ ติดต่อ
สอบถาม หรือปรกึ ษาปัญหาการทำงานได้อย่างสะดวก เพราะการปฏิบัตงิ านทม่ี ีประสิทธิผล คอื การลดค่าใช้จ่าย
การลดเวลา การทำงานให้น้อยลง ดงั นั้นเมอ่ื ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ประสบปญั หาที่ไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ แต่ม่ีรายชือ่ ผู้รู้ และ
ผเู้ ชี่ยวชาญในเรื่องดงั กลา่ วกจ็ ะทำให้การทำงานเกดิ ความสะดวกและรวดเรว็ มากขึน้ เช่น รายช่อื ผู้เชี่ยวชาญด้าน
วิจยั เชงิ คณุ ภาพของ มหาวิทยาลยั มีใครบ้าง เบอรโ์ ทรศพั ทท์ ่ีสามารถ ติดต่อไดส้ ะดวก และช่องทางในการติดต่อที่
สามารถส่อื สารระหวา่ งกันตามความเหมาะสม ขององค์กร อาจจะเป็นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Mail) เป็นต้น

5

4. การสกัดความรู้ (Knowledge Codification) หมายถึง การสรปุ การประมวล และการ
กลั่นกรองจากการถอดองค์ความรู้ บทเรียนจากการเรียนรู้ (Lesson Learned) และ ประสบการณ์จากผู้
เชี่ยวชาญหรือเจ้าของ องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานใน องค์กร โดยสามารถใช้วิธีเรียนรู้ได้
หลากหลาย รูปแบบ เช่น การสัมภาษณ์ (Interview) การสังเกต (Observe) การสนทนา (Dialogue) การ
ประชุม (Meeting) การอภิปราย (Discussion) การบรรยาย (Lecture) การ สังเคราะห์เอกสาร (Synthesis
Document) เปน็ ตน้ หลังจากนนั้น องค์ความรทู้ ไี่ ดม้ าสรุปในลักษณะ ของแผนผงั ความคดิ (Mind Map) แผนผัง
กระบวนการ (Flow Chart) ขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน (Workflow) ฯลฯ ทั้งนี้โดยคำนงึ ถึง ความสะดวกของผู้นำ
ความรูด้ งั กล่าวไปใชง้ านเป็นหลัก

5. การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง (Knowledge Validation) หมายถึง วิธีการ ประเมินความ
ถูกต้อง ความเหมาะสม และความสมบูรณ์ของสารสนเทศ และความรู้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งหลักสำคัญของการ
ถอดความรู้ คอื ความรู้ท่ีได้ต้องสามารถช่วยในการป้องกนั และ ลดปญั หาในการทำงานต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะถือได้ว่า
เป็นความรู้ทีม่ คี ณุ คา่ ตอ่ การพัฒนางาน และ พัฒนาองค์กร

ขน้ั ตอนท่ี 2 การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (Knowledge Share)
การแลกเปล่ียนเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการหรือกิจกรรมที่สร้างให้เกิด ความสัมพันธ์อัน

กอ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ระหวา่ งผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมในการเรยี นรู้โดย กระบวนการแลกเปลยี่ นเรียนรู้มหี ลกั การ
ที่สำคัญ คือ การให้ความรู้ที่เหมาะสมกับคนและเวลา สำหรับ ประเภทของการถ่ายทอดความรู้ มี 5 ประเภท
ได้แก่

1) การถ่ายทอดอยา่ งต่อเนอ่ื ง (Serial Transfer) เปน็ การเคลื่อนของความรขู้ องบุคคล ไปส่กู ลุ่ม
หรือสาธารณชนซง่ึ สามารถบูรณาการ ความรู้จนเป็นความรขู้ องทกุ คนในคณะทำงาน

2) การถ่ายทอดแบบใกล้ (Near Transfer) เป็น การเกิดซำ้ ของการเรยี นรขู้ องคณะทำงานหนง่ึ ไป
ยังอีกคณะทำงานท่ที ำงานคลา้ ยกัน

3) การถ่ายทอดแบบไกล (Far Transfer) เป็นการเกิดซ้ำของการเรียนรขู้ องคณะทำงานหน่งึ
ไปยงั อีก คณะทำงานโดยเฉพาะความรฝู้ ังลกึ (Tacit Knowledge) และไม่ใช่งานประจำ

4) การถ่ายทอดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Transfer) เป็น การถ่ายทอดความรู้หลักที่สำคัญของ
องคก์ ร เพ่อื ใหบ้ รรลุถงึ ภารกจิ ตามกลยุทธ์ท่นี าน ๆ อาจจะเกดิ ข้ึนสักครง้ั แต่ป็นเรอ่ื งท่ีสำคัญสำหรบั องค์กร และ

5) การถ่ายทอดจากผู้เชี่ยวชาญ (Expert Transfer) สามารถเกิดขึ้นเมื่อ คณะทำงานประสบ
ปญั หาดา้ นเทคนคิ ท่ีผดิ ปกติ ซง่ึ ขึ้นอยูก่ บั ขอบขา่ ยความรู้ของผู้รับผิดชอบใน การคน้ หาผ้เูช่ียวชาญต่างๆ ในองค์กร
ทส่ี ามารถ ชว่ ยแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนได้ หากพจิ ารณาถงึ รปู แบบการแลกเปล่ียนเรียนรูด้ งั กล่าวสามารถ เกิดข้ึนได้
ตง้ั แตร่ ะหว่างบคุ คล ระหว่างบุคคลกับคอมพวิ เตอร์ และคอมพวิ เตอรส์ ู่คอมพวิ เตอร์ ทั้งน้ีกระบวนการแลกเปล่ียน
เรียนรู้จะเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุดกต็ ่อเมื่อถูกสนับสนุนด้วยวฒั นธรรมการเรียนรู้ขององค์กร และ
ความไว้วางใจของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพราะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะเกิดขึ้นไม่ได้หาก บุคลากรไม่เห็นความ
คุณค่าของความรู้ และไม่ไว้วางใจว่าความรู้ทม่ี าจากเพือ่ นร่วมงานจะ สามารถแกไ้ ขปญั หาตา่ง ๆ ของตนได้

6

ขั้นท่ี 3 การนำความรู้ไปใช้ (Knowledge Reuse)
การนำความรู้ไปใช้ หมายถึง ผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องได้นำความรู้ที่ได้จากการถอดความรู้ใช้ ใน

การปฏิบัติงานของตนอย่างต่อเนื่องในองค์กร โดยสามารถประยุกต์ (Apply) และบูรณาการ (Integrated)
ความรู้ ทฤษฎี ประสบการณเ์ ดมิ มาพัฒนาเปน็ แนวคิด เทคนิค และวธิ ีการใหมๆ่ ทสี่ ามารถพัฒนาการปฏบิ ตั ิงาน
ให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น เช่น การนำเทคนิคการสอนแบบจิตตปัญญาของครูท่านหน่ึง ที่ได้รับ
รางวัล ในการนำความรู้ไปใช้ในชว่ งแรก สามารถนำแนวทาง ดงั กลา่ วไปใชไ้ ดก้ ับนักเรยี น ในโรงเรียน แต่ในขณะที่
ใช้วิธีการดังกล่าวอาจ ประสบปัญหาเกี่ยวกับความสนใจของผู้เรียน ปัญหาดังกล่าวผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนให้
เหมาะสมกับสถานการณ์จริง รวมถึงการ เพิ่มเติมเทคนิควิธีสอนใหม่เข้าไปเพ่ือให้เกิดผลการเรียนรู้ที่ดียิ่งขึ้นได้
ท้ังนีใ้ นการนำความรู้ไปใช้ มีเป้าหมายสำคญั คอื องค์ความร้สู ามารถ นำไปใช้ใน การพัฒนาคน พฒั นางาน และ
พัฒนาองค์กร

ขั้นตอนท่ี 4 การเกบ็ รักษาความรู้ (Knowledge Maintenance)
การเก็บรักษาความรู้ หมายถึง กระบวนการทบทวน ความถูกต้อง ความทันสมัย ของความรู้

ก่อนทจี่ ะนำไปไวใ้ นระบบฐานความรู้ (Knowledge Base) ขององคก์ ร โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งความรจู้ ากความสำเร็จ
(Best Practice) เทคนิควิธีการ (Know-How) ในการแกป้ ัญหา ต่าง ๆ ในการทำงาน เพราะสิ่งเหล่านี้สามารถ
พัฒนาได้จนกลายเป็นภูมิปัญญา (Wisdom) ขององค์กรได้ เพราะการจัดการความรู้ ในสังคมไทยปัจจุบันหลาย
องคก์ รไดน้ ำขอ้ สรุป ที่ไดจ้ ากกระบวนการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในรูปแบบ ต่าง ๆ ไปไว้ในบนเวบ็ ไซต์ขององค์กร โดย
บางองค์กรยังไม่เคยนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปทดลองใช้จริง หากมีการนำไปใชแ้ ล้วพบปญั หา หรือผลที่เกิดขึน้ ไม่
เปน็ ไปตามเจา้ ของความรู้ สงิ่ เหลา่ นี้ถือเปน็ การตรวจสอบความถูกต้อง กอ่ นจะนำองคค์ วามรู้ดงั กล่าวไปเผยแพร่
ให้กับบุคลากรท่านอื่นที่เกี่ยวข้องต่อไป นอกจากนี้ การทบทวนความถูกต้องจะต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง
เพราะบริบทแวดล้อมในการทำงาน เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนัน้ความรู้ ในการทำงานที่ดีจะต้องมี
ความถกตู ้อง และ ทนั สมัยอยูเ่ สมอ ดงั น้นั ในการปรบั ปรงุ ความรู้ จงึ เปน็ ส่งิ ทีต่ อ้ งกระทำอย่างตอ่ เน่อื ง ไมใ่ ชท่ ำแค่
จบโครงการ หากนำความรู้ดังกล่าวไปใช้ซ้ำแล้วผลไม่ได้ตามที่คาดหวังผู้ที่รับผิดชอบ ในการจัดเก็บความรู้ของ
องค์กรจะต้องนำมาปรบั ให้ทันตอ่ เหตุการณ์

ดังนน้ั คณะทำงาน จากคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี ซง่ึ ทำหน้าท่ีเปน็ หนว่ ยงานให้การ
สนับสนุนการจัดการความรู้ จึงนำรูปแบบการจัดการ ความรู้ (KM Model) ของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการ (ก.พ.ร.) ตามกระบวนการบรหิ ารจดัการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) มา
เป็นกรอบ ในการจัดแผนการจดัการความรู้ (KM Action Plan) ซึ่งคือ แผนบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change
Management Plan) สำหรับส่งเสริม และสนับสนุนการทำงานของโรงเรียน ภายใต้โครงการบูรณาการยกระดับ
คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวติ สำหรับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

7

วิธีการดำเนนิ การจดั การความรู้
ระยที่ 1 การพัฒนาเครอ่ื งมอื
1. คณะทำงานดำเนนิ การศกึ ษาบริบทและสภาพการจดั การเรยี นการสอนคดิ ในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา

เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มูลพ้ืนฐานการพิจารณาจัดทำหลกั สูตร โดยลงพน้ื ทโี่ รงเรียนมธั ยมศกึ ษาสังกัดสำนกั งานการศึกษา
มธั ยมศึกษา 21 จำนวน 15 โรงเรียน

2. นำขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าวิเคราะห์ สภาพปัญหา ความต้องการในการได้รับการพฒั นทกั ษะการสอนคิดใน
ศตวรรษที่ 21 เพ่อื นำมากรอบแนวคดิ ในการพิจารณาคดั เลือกแนวทางในการส่งเสริมและชว่ ยเหลอื ครูผ้สู อน

3. ประชมุ ปฏบิ ัตพิ ัฒนาหลักสตู รพฒั นาทกั ษะการคดิ ประกอบด้วย 2 หลักสูตร
4. กำหนดกล่มุ เปา้ หมายในการพฒั นา ได้ โรงเรยี นเจด็ สีวิทยาคาร อำเภอเซกา จงั หวดั บึงกาฬ
5. ดำเนินการพฒั นาตามหลักสตู ร

ระยะท่ี 2 การดำเนนิ งานการจัดการความรรู้ ่วมกับโรงเรยี น โดยดำเนนิ การดังนี้
1. กำหนดกรอบในการจัดการความรู้
1) กำหนดประเด็นความร้แู ละเปา้ หมายของการจดั การความรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกับบริบทและ

ความตอ้ งการ
2) กำหนดบคุ ลากรกล่มุ เปา้ หมายท่ีจะพัฒนาความรู้และทกั ษะดา้ นการผลติ บัณฑิต
3) กำหนดกิจกรรมการแบ่งปันและแลกเปล่ียนเรียนรู้จากความรู้ ทกั ษะของผ้มู ีประสบการณ์

ตรง (tacit knowledge)
4) มีการรวบรวมความรูต้ ามประเด็นความรู้ท่ีกำหนดประเด็นความรแู้ ละเปา้ หมายการพัฒนา
5) มีการนำความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการจดั การความรู้ไปเปน็ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีมาปรบั ใช้ในการปฏบิ ัติงาน

จรงิ
2. ช่วงเวลาในการสรุปผลการดำเนินงานจดั การความรู้
การดำเนินงานการจัดการความรู้ กำหนดแผนการจัดการความรูข้ องโครงกา ตามกรอบเวลา

ของปีการศกึ ษา 2562 คือ อยรู่ ะหวา่ งวันท่ี 1 ตุลาคม 2561 ถงึ 30 กันยายน 2562 โดยระยะการทำงานดงั นี้
4) พฒั นาครู
ประเด็นความรทู้ ี่ 1 ปลกู ศรัทธาครูผมู้ ุ่งมันในการสอนคิด (Growth mindset ด้วยจิต

ปญั ญา
ประเดน็ ความรทู้ ี่ 2 ทักษะการสอนนกั คิดเชิงออกแบบท่ีเนน้ ชุมชนเป็นฐาน
ประเดน็ ความรู้ท่ี 3 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทกั ษะการคิด

5) พัฒนานกั เรียน
ประเดน็ ความรู้ท่ี 1 พัฒนา Growth mindset ด้วยจิตปัญญา
ประเดน็ ความรู้ท่ี 2 ทกั ษะการวางแผนชีวิตดว้ ยหลกั การทรงงานบูรณาการกบั แผนท่ีชวี ิต
ประเดน็ ความรูท้ ี่ 3 ทกั ษะการคิดเชิงออกแบบ

8

3. การติดตามและประเมินผล
1) คณะทำงาน ดำเนนิ ฝึกอบรมใหค้ วามรตู้ ามหลกั สตู รและกิจกรรม จดั ใหม้ กี ารนิเทศตดิ ตาม

และร่วมดำเนนิ การจดั การความรู้ เป็นระยะ รอบ 1 เดอื น รอบ 3 เดือน และ รอบ 6 เดือน
2) เสรจ็ สนิ โครงการจัดใหม้ ีกิจกรรม Open House ใหผ้ ู้บรหิ าร คณะครู กรรมการ

สถานศึกษา ผู้ปกครอง และนักเรียนเขา้ รว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรปู้ ระสบการณ์และผลการดำเนินงานการจัดการ
ความรู้ ในรอบ 6 เดอื น

9

ส่วนที่ 3
ผลการศึกษา

การจดั การความรโู้ ครงการพัฒนาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย
อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นผู้เชี่ยวชาญภายนอกเขา้ ไปทำงานในโรงเรียนเพื่อปรับ
เปลี่ยแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของครูและพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ร่วมกับ ผู้บริหาร คณะครู
กรรมการสถานศึกษาและนักเรียน ดำเนินการจัดการความรูใ้ นโรงเรียนร่วมกัน ภายใต้กรอบนโยบายการพัฒนา
การศกึ ษาของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ร่วมถึงภายใต้กรอบแนวทางการพฒั นาคุณภาพศึกษา
ของโรงเรียน โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมควมสามารถในสอนคิดในศตวรรษที่ 21 ให้แก่คณะครู และพัฒนา
ทักษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 ให้แกน่ กั เรียน

ผลการดำเนินงานตามโครงการพฒั นาทักษะการคิดสำหรบั ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
คณะทำงานได้ใชแ้ นวคิดการจดั การความรู้ เป็นสว่ นหนึ่งในการขบั เคล่อื นโครงการและสร้างพลังเพื่อการ

ปรับเปลี่ยพฤติกรรมของครูและนักเรยี น ทัง้ น้ีเพอื่ ใหง้ านบรรลุผลและเกิดความยั่งยนื สรปุ ผลการดำเนินภาพร่วม
ของการจดั การความรู้ สำหรับเป้าหมายในการบรหิ ารการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม ประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ
ดงั นี้

2. การจดั การการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม คอื การจัดการการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมการเรียน
การสอนของครู และการเรยี นรขู้ องนักเรียนโรงเรยี นเจ็ดสวี ิทยาคาร ประกอบด้วย

เป้าหมายพฤตกิ รรมครู
2.1 ครสู ร้างบรรยากาศของความรกั ความเมตตา ความไว้วางใจ การเขา้ ใจ และการ
ยอมรับใหเ้ กิดข้นึ ในห้องเรียน
2.2 ครเู ปน็ แบบอยา่ งที่ดีในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน การปฏิบตั ติ ่อศิษย์ ด้วย
มมุ มองต่อโลกอยา่ งเข้าใจ
2.3 ครใู ช้คำถามท่มี ีคุณภาพในการกระตุ้นการคิดนักเรยี น เพ่ือการเสรมิ สร้างทกั ษะการคิด
ในศตวรรษที่ 21
เป้าหมายพฤตกิ รรมนักเรยี น

2.4 นกั เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะการคิดวเิ คราะห์สถานการณท์ เี่ กิดขน้ึ
ในชวี ติ ได้อยา่ งเป็นระบบ แกป้ ัญหาท่ีเกิดขน้ึ ท้งั ในการดำเนินชีวติ การเรยี นไดอ้ ยา่ งคิดสรา้ งสรรค์

2.5 นกั เรียนมคี วามรับผิดชอบวา่ ตนเปน็ สว่ นหน่งึ ของชมุ ชน
2.6 นักเรยี นมีการวางแผนชวี ติ ท่ีดดี ว้ ยการทำแผนทช่ี วี ิต

3. การส่อื สาร เพอื่ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงและเกิดพฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั จัดใหม้ กี ารส่อื สาร
สง่ ต่อองคค์ วามรู้ และจัดประสบการณ์สำหรับครู มีการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ จากผู้ทรงคณุ วฒุ ิภายนอกด้วยการจัด
อบรมเชิงปฏิบัติการ การเรียนรู้ผ่านสถานการณ์ ส่วนนักเรียนการถา่ ยทอดความรู้ที่ผ่านการส่งต่อจากรุ่นพี่จาก
คณะครุศาสตร์เป็นพเ่ี ลีย้ ง ด้วยกิจกรรมค่าย การเรยี นร้ผู า่ นชมุ ชน และการถ่ายทอดความรโู้ ดยตรงจากครูท่ีผ่าน

10

ฝกึ กิจกรรมจิตปัญญา และ การใชค้ ำถาม นอกจากนี้ยงั มีการสอ่ื สารผา่ นส่อื เช่น อีเมล์ เว็บไซต์ โปสเตอร์ สง่ิ พิมพ์
Facebook เพื่อใหท้ ุกคนในโรงเรียนรู้วา่ โรงเรียนและอาจารยจ์ ากคณะครุศาสตร์กำลังทำอะไร ทำแล้วโรงเรียนได้
อะไร ครู นกั เรียน โรงเรยี น ชมุ ชน จะได้ประโยชน์อะไร ครู นกั เรียนจะมีส่วนรว่ มโดยการทำอะไรและทำอยา่ งไร

3. กระบวนการและเคร่อื งมอื ทีมงาน คณะครูรว่ มกันสรา้ งโอกาสและชอ่ งทางที่หลากหลาย
เพื่อให้เกดิ การแบ่งปันแลกเปลย่ี น เรยี นรูใ้ นหลายๆ รปู แบบ เชน่ ฐานความรู้ ชมุ ชนการเรียนรู้ เทคนคิ การเล่า
เร่อื ง Knowledge Mapping, การใช้เทคโนโลยีในการแบง่ ปันความรู้ Social Network ฯลฯ

4. การฝกึ อบรมและการเรยี นรู้ จัดอบรบใหค้ ณะครูเพ่อื การปรับเปลีย่ พฤติกรรมการสอน
ได้แก่ ปลูกศรัทธาครูผู้มุง่ มันในการสอนคดิ (Growth mindset ด้วยจิตปัญญา การสอนนกั คดิ เชงิ ออกแบบท่เี นน้
ชุมชนเป็นฐาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทักษะการคิด ร่วมถึงการเสรมิ มีความรู้เกี่ยวกับ
การจดั การความรู้ ท้งั ดา้ น ความหมาย ความสำคญั ประโยชน์ การมสี ว่ นรว่ ม รวมท้งั เทคนิควิธกี ารใช้เครื่องมือ
จัดการ KM แนะนำวธิ ีการใช้แหลง่ ความรู้ด้าน ICT สำหรับการสืบค้นหานวัตกรรมการสอน รว่ มถึงสอนการใช้
เครื่องมือสืบค้น (Search engine) Application การใช้ Chat room การเข้าร่วมการทำ PLC ซึ่งเป็นฐานการ
จดั การความรู้เดิมของโรงเรยี น

5. การวัดผล วดั การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของครโู ดยการสงั เกต การพดู คุย การใช้
แบบสอบถาม วัดประสิทธิภาพของสื่อต่างๆ ดูจากปฏิกิริยาการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่มีการสื่อสารถึง คณะครู
วัดผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ กิจกรรมจิตปญั ญา กิจกรรมการเรียนการสอน และวัดจากวธิ ีการจดั การความรู้ และดู
จากการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ งๆ ของคณะครู สำหรับนักเรยี น วัดความร้คู วามเข้าใจเกยี่ วกับการทำแผนท่ีชีวิต
การทำแผนที่ท่องเที่ยว การจัดทำประวัติชีวิตปราชญ์ ภูมิปัญญาชุมชน การจัดกิจกรรม Open House ร่วมถึง
แนวคิดและวธิ กี ารจดั การความรู้ และวดั ความพงึ พอใจของคณะครตู ่อโครงการ

6. การยกย่องชมเชยและให้รางวลั คณะทำงานการจัดการความรู้ต้องกำหนดหลักเกณฑ์การยก
ย่องชมเชยหรอื ให้ รางวัลแก่คณะครู และนักเรียน เพื่อกระตุ้นให้ครูและนักเรียนมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ ของ
โครงการและการการจัดการความรู้เพ่อื ให้องคค์ วามรทู้ ่เี กิดข้นึ มกี ารสง่ ต่อ ในปีตอ่ ไปหรือนักเรยี นร่นุ ต่อไป

ผลผลติ และผลลพั ธใ์ นภาพร่วมของโครงการพัฒนาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21
1. ปัจจยั ท่ชี ่วยส่งเสรมิ ใหก้ ารจัดการความรู้ของโครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรบั ผู้เรยี นใน

ศตวรรษที่ 21 ไดส้ ำเร็จ คอื
1) การจัดการความรเู้ ป็นสว่ นหนง่ึ ท่ีช่วยเสริมการพฒั นาการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรขู้ องโรงเรยี นเจ็ดสี

วิทยาคารซ่ึงเป็นโยบายของโรงเรียนเพ่ือเสริมสร้างให้ครมู กี ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษารว่ มกนั ประกอบกับ
เปา้ หมายของโครงการ ฯ เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกบั กลยุทธ์ของการพฒั นาคุณภาพของนกั เรียนของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

2) วฒั นธรรมของโรงเรียนเจด็ สวี ทิ ยาคารสนบั สนุนให้เกิดการแบ่งปนั ความรู้ ผบู้ รหิ าร ครูวชิ าการ
โรงเรียนเป็นตวั อย่างและให้การสนบั สนนุ การทำงานของบคุ ลากรในโรงเรียน

3) การจัดการความรู้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของงานประจำ ไม่ใช่ภาระงานทเ่ี พิ่มข้นึ ตามกรอบการทำสร้าง
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC: Professional Learning Community)

4) ระบบเทคโนโลยี internet เป็นระบบเดียวท้ังโรงเรียนทำใหส้ ะดวกในการสบื คน้ ขอ้ มลู

11

5) มีระบบการใหร้ างวลั และการยกย่องในรปู แบบต่างๆ ทกี่ ระตุน้ ให้คนสนใจท่ีจะแบ่งปันความรู้
2. ผลผลติ ของการจดั การความรู้

1) โรงเรยี นไดร้ ูปแบบการจดั กจิ กรรมจติ ปญั ญาศึกษาที่สอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี น
2) โรงเรียนเกิดการสร้างบรรยากาศท่ีสง่ เสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่างครกู บั ครู

นักเรียนกับครู
3) การจัดเกบ็ องคค์ วามรู้ท่ีรวบรวมมาจากคณะครแู ละนักเรยี นอยา่ งเป็นระบบ เช่นการ

จัดทำฐานข้อมลู ชุมชน ประวัติปราชญ์ ภูมปิ ัญญาชมุ ชน แผนทที่ อ่ งเที่ยวชมุ ชน เปน็ ต้น

3. ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้
1) ประสิทธภิ าพการปฏิบัติงานสูงขนึ้ ทั้งครูและนักเรียน

2) พฤติกรรมของนักเรียนมีความเป็นระเบีบวนิ ัยมาขนึ้
3) บรรยากาศระหว่างครูและนักเรียนเปน็ ไปในทางบวกเพม่ิ มากข้ึน
4) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ โดยคณะครุศาสตร์ ได้นวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนทักษะ

การคดิ สำหรบั นกั ศกึ ษาครู และการาให้บริการวิชาการแก่สังคม

ผลทีเ่ กดิ แยกตามประเดน็ ความรู้
1. ผลท่ีเกดิ กบั ครู

ประเด็นความรทู้ ี่ 1 ปลูกศรัทธาครผู ู้มุง่ มนั ในการสอนคดิ (Growth mindset

ดว้ ยจิตปัญญา 1. ความสำคัญ

โครงการพัฒนาทกั ษะการคิดสำหรับผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 ในฐานะของกระบวนกรและคณะ

ดำเนินงานก่อนอื่นเลยต้องขอ Check-in ก่อน สำหรับความรู้สึกของตัวเองที่มีต่อโครงการ รู้สึกดีใจมากที่ได้ทำ

โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพราะโดยส่วนตัวแล้วรู้สกึ ว่าน่ีคืออีกหน่ึงทางเลือก

สำหรบั การพฒั นาประเทศชาตแิ ละบา้ นเมอื งของเราที่กำลังเผชญิ วิกฤติในหลายๆด้านอยใู่ นขณะนีผ้ า่ นการบ่มเพาะ

และพัฒนาทักษะการคิดให้กับผู้เรียน โดยดำเนินการพฒั นาและสร้างทกั ษะการคิดนีใ้ ห้กับครูโดยใช้โรงเรียนและ

ชุมชนเป็นฐาน จากการติดตามผลลัพธ์ทางการศึกษาในช่วงที่ผ่านมากบั ความเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเรว็ น้ัน พบภาพ

สะท้อนของปญั หาสังคมและการศกึ ษาไทยในปัจจุบันทนี่ ่าจะเป็นตัวกำหนดความต้องการในการพัฒนาทักษะน้ีได้

เป็นอย่างดี จากการวิจัยของ ร.ต.อ.หญิง อาภรณ์ รัตน์มณี (2553) ที่ได้ชี้ให้เห็นภาพรวมทางการศึกษาไทยที่มี

ผลสมั ฤทธ์ิในการศึกษาอยู่ในระดับต่ำจนน่าเปน็ หว่ ง โดยแสดงผลจากการติดตามการปฏิรูปการศกึ ษาในรอบ 6 ปี

หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 จากการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาทั้ง

17,562 แห่งทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ 49.1 ของโรงเรียนทั้งหมด พบว่า 1.การจัดการเรียนการสอนของครูกวา่

70 % ยังยึดผู้สอนเป็นสำคัญ 2.การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นผู้เรียนให้รูจ้ ักคดิ วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา

และตัดสนิ ใจ มีคุณภาพอยใู่ นระดับร้อยละ 13.5 การประเมินคณุ ภาพทางดา้ นผ้เู รยี นพบว่า ยังมผี ลสัมฤทธ์ดิ ้านการ

เรยี นระดบั ตำ่ มากในทกุ กลมุ่ โดยเฉพาะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ มวี จิ ารณญาณและความคิด

สร้างสรรค์ มีคุณภาพดีเพียงร้อยละ 11.1 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนา

ตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง มคี ุณภาพดเี พยี งร้อยละ 26.5 ของสถานศึกษาทัง้ หมด (ไพฑรู ย์ สินลารัตน์,2560,น.13)

12

จากข้อมลู ดังกลา่ วแสดงให้เห็นถึงกระบวนการพฒั นาทักษะด้านการคดิ ของผู้เรียนยังคงอ่อนด้อย
อยมู่ าก ซึ่งปญั หาด้านทกั ษะการคดิ ของผเู้ รียนนน้ั มีผลกระทบในระดับปัจเจก ปญั หาน้ียงั สง่ ผลกระทบถงึ วกิ ฤตทาง
การเมือง สังคม และเศรษฐกิจอยู่รอบด้าน ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ส่งผลต่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ ที่สืบ
เนื่องมาจากคนไทยนั้นขาดความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน นวัตกรรมใหม่ๆที่สอดคล้องกับสภาพ
สงั คมและสง่ิ แวดล้อมในบรบิ ทของประเทศไทย เรากลายเปน็ ผบู้ ริโภคไปโดยปริยาย จากปัญหาดังกลา่ วเราจะเห็น
วา่ จดุ เรมิ่ ตน้ ของปัญหานัน้ เกิดขึ้นจากวัฒนธรรมการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี นของเราท่ีครูผู้สอนจำนวนมาก
ยังยึดตนเองเป็นศนู ยก์ ลาง และมรี ปู แบบการจดั การเรยี นรู้ท่ีเนน้ ความรู้สำเร็จรูป หรอื ความรู้ 1 ชุดมาถ่ายทอดให้
ผู้เรียนที่มีความหลากหลายทั้งในแง่ของ รูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน (Learning Styles) และประสบการณ์
(Experience)ขาดความรู้ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจต่อบทเรียน
เพื่อพัฒนาและยกระดับการคิด การเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตและประสบการณ์ของผู้เรียนรวมถึงการเชื่อมโยง
บทเรยี นถงึ ชุมชนของตนเอง

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
คณะดำเนินการของเราจึงได้ร่วมกันวางแผนและออกแบบกจิ กรรมผ่านการทำงานค้นหาข้อมลู

ของปัญหา เทคนิคและแนวทางในการแก้ปัญหา รวมถงึ การคดั เลอื กโรงเรยี นกันอยา่ งเขม้ ขน้ ด้วยความหลากหลาย
ทางสาขาวิชาชีพ และประสบการณ์ในการทำงานที่หลากหลาย เราจึงร่วมตั้งเป้าหมายในการทำงานโครงการ
พัฒนาทักษะการคิดสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ร่วมกัน 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของครู
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 2. เพื่อพัฒนา
รูปแบบการสง่ เสรมิ ความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้ การพัฒนาทักษะการคิด
ในศตวรรษท่ี 21 และ 3. เพอื่ ศึกษาผลการพัฒนาครตู ามรูปแบบการสง่ เสรมิ ความสามารถของครใู นการออกแบบ
กิจกรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ การพัฒนาทกั ษะการคดิ ในศตวรรษท่ี 21 โดยออกแบบหลักสตู รไว้ดงั นี้

13

โครงการพฒั นาทักษะการคดิ สำหรับผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

หลกั สตู รพัฒนาครู หลกั สตู รพัฒนาผู้เรยี น

หลกั สูตรท่ี 1. หลกั สูตรปลกู หลกั สูตรท่ี 1. หลักสตู ร
ศรัทธาครผู มู้ งุ่ มั่นในการสอน Growth mindset ดว้ ยจิต
คดิ (Growth mindset ด้วย ปญั ญา
จติ ปัญญา เทคนิคการใช้แผนที่
หลักสตู รท่ี 2. หลักสูตรฝึก
ชีวติ ) ทักษะการวางแผนชวี ติ ดว้ ย
หลกั การทรงงานบูรณาการ
หลักสตู รที่ 2. กับแผนทช่ี วี ิต
หลักสตู รพฒั นาทกั ษะการ
สอนนกั คิดเชิงออกแบบทเี่ น้น
ชมุ ชนเปน็ ฐาน และการ
ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการ
พฒั นาการสอนทักษะการคิด

หลักสูตรท่ี 3. หลักสูตรค่าย
สรา้ งนักคิดเชงิ ออกแบบที่เนน้
ชมุ ชนเปน็ ฐาน

14

โดยท้งั 5 หลกั สูตรน้ี ได้จดั อบรมให้กบั คณะดำเนินงาน ทมี ผู้ช่วยวิจยั ครู และนกั เรยี น โดยส่วนตัวได้รับ
หนา้ ทใ่ี นการจดั หลกั สูตรปลกู ศรทั ธาครูผู้มุ่งมน่ั ในการสอนคิด (Growth mindset ดว้ ยจิตปญั ญา เทคนคิ การใช้
แผนทช่ี ีวิต) กบั ทมี ผู้ช่วยนักวิจยั โดยใช้กิจกรรม Check –in ,กจิ กรรมนบั เลข,จติ วิทยาเชิงบวก,ผ่อนพกั ตระหนกั
รู้ (Body scan) ,กจิ กรรมผลัดกนั เลา่ ผลัดกนั ฟัง Deep Listening,กจิ กรรมผู้นำ 4 ทิศ,กิจกรรม Check-out
1.ผลจากการดำเนนิ งานกับทมี ผชู้ ่วยนกั วิจยั

2.2 การแลกเปล่ียนเรยี นรู้
เรานิยมความสำเร็จรูปในหลายๆอย่างแม้กระทัง่ ความนิยมความรู้สำเร็จรูปที่ถูกส่งต่อจากคนท่ี
ทำหน้าที่ครสู ู่ผู้เรียน โดยขาดความตระหนักในแง่ของการให้ความสำคัญกับกระบวนการมากกวา่ ผลลัพธ์ ในช่วงท่ี
ผา่ นมาวัฒนธรรมการจดั การเรียนรใู้ นชน้ั เรียนนน้ั เราเนน้ ผลลพั ธม์ ากกว่ากระบวนการ คอื เราใช้ 1 วธิ ีกับเด็กท้ังช้ัน
เรียน แล้วเราก็คาดหวังผลลัพธ์ท่ีเหมือนกันในช้ันเรยี น เราระบุคุณค่าของผู้เรียนจากผลลัพธ์ที่มาจากผลงานของ
เขาทมี่ ีความแตกต่างกนั จากหนงึ่ วธิ ีสอนของเรา โดยรตู้ วั และไมร่ ตู้ ัวเราสร้างผลลัพธ์หรือชุดความรู้สึกที่เด็กจะมี
ต่อตนเองดว้ ยการตัดสนิ หรอื ให้คุณค่ากับชน้ิ งานต่างๆของผู้เรยี น โดยขาดความระมัดระวัง และเราสร้างบาดแผล
และความเจ็บปวดให้กับผู้เรียน ปัญหาท่กี ลา่ วมานี้สอดคลอ้ งกับผลงานวิจยั ข้างตน้ ท่ไี ด้สะท้อนถงึ การจดั การเรียนรู้
ในชน้ั เรียนของครูท่ียดึ ตนเองเป็นสำคญั กระบวนการยดึ ครูผู้สอนเปน็ สำคญั นั้นได้ลิดรอนความสามารถในการคิด
ของเด็กๆในชัน้ เรยี นไปโดยสิ้นเชิง ครูมีเป้าหมายไว้ในใจ เตรียมกิจกรรม/บทเรยี นตา่ งๆไว้ ทำให้ฉันตระหนของ
เยาวชนหรอื ทักษะ (Skill) ของเยาวชนและผู้เรียนนนั้ ขาดหายไปมาก

2.3 การนำไปใช้
นำหลกั สูตรปลกู ศรัทธาครผู ู้มุง่ มนั ในการสอนคิด (Growth mindset ด้วยจิตปัญญาไป

พัฒนาองค์ความรกู้ ารสอนคิดให้แก่ครู ในรูปแบบ การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร 3 วัน เน้นการเรียนรู้ผา่ นการฝกึ
ปฏบิ ัตจิ รงิ โดยใหค้ ุณครนู ำไปใช้ปฏิบตั กิ ารสอน ใชเ้ วลา 1 เดอื นครูกลับมาสะทอ้ นผล การบำรงุ รักษา

คณะทำงาน นำความรู้ท่ี ได้ทบทวนความถกู ต้องและเพมิ่ ความสะดวกใหแ้ ก่ผูใ้ ช้โดยการ
จัดทำเปน็ เอกสารคู่มือ เผยแพร่ใหแ้ กผ่ ู้ท่ีสนใจนำไปใช้

3. ผลลพั ธก์ ารจัดการความรู้
ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จากการจัดการความรใู้ น เรอ่ื งนค้ี อื เกิดเทคนิคใหมใ่ นการเรยี นการสอนพัฒนาทกั ษะ

การคิดในศตวรรษท่ี 21 เป็นนวตั กรรมการสอนทางเลอื กหนึ่ง ใหก้ บั ครู นกั ศึกษาครู และคณะครศุ าสตร์ รว่ มถึง
การได้รปู แบบในการให้บรกิ ารทางวิชาการแก่สังคมของมหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

15

ประเดน็ ความรู้ท่ี 2 ทกั ษะการสอนนักคดิ เชิงออกแบบทเี่ น้นชุมชนเปน็ ฐาน

1. ความสำคัญ
การดำรงชีวิตในยุคศตวรรษที่ 21 ทักษะการใช้ความคิดระดับสูงที่เน้นการนำไปใช้

การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่ มีความสำคัญจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของคน การคิดข้ันสูง
เปน็ ส่งิ ทีพ่ ฒั นาและฝึกฝนได้ หากทกุ ฝา่ ยอันได้แก่ภาครัฐ โรงเรยี น ผ้ผู ลติ ส่ือการเรียนการสอน ครู สามารถพฒั นา
กระบวนการ “สอนคิด” เพื่อให้เด็ก ‘คิดเป็น’ ได้ ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว ก็จะเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาการศึกษาและ
สังคมที่มคี ณุ ภาพต่อไป หลกั สูตรชาตใิ หค้ วามสำคญั ต่อการพฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามสามารถในการคิดและคาดหวัง
ว่าครูผูส้ อนจะสามารถสอนและสง่ เสริมกระบวนการคิดในการสอนสาระทต่ี นรับผิดชอบ แตก่ ็มคี รผู ู้สอนอีกจำนวน
มากที่ยังขาดความเข้าใจและไมส่ ามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุผลตามที่กำหนดไว้ได้ สาเหตุสำคัญประการหนึ่งท่ี
ทำให้การสอนทักษะกระบวนการยังขาดประสิทธิภาพก็คือครูผู้สอนยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่เพียงพอใน
สาระสำคัญการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 ฉะนั้นการช่วยให้ครูผู้สอนสามารถสอนและฝึกทักษะ
กระบวนการคิดท่ีจำเป็นสำหรับผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ได้ ตอ้ งเริ่มตน้ ท่คี รผู ู้สอนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจว่าทกั ษะการ
คิดที่ต้องการสอนคืออะไร มีวิธีการขั้นตอนอย่างไร จึงจะสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ฝึกคดิ
ทำตามวธิ ีการขน้ั ตอนนนั้ ซ่ึงจะส่งผลใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งแท้จรงิ

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
เมื่อทราบถึงปัญหาครูขาดทักษะการสอนคิด โดยเฉพาะการคิดในศตวรรษที่ 21 จึงได้

ดำเนินการ ศึกษาเอกสารงานวิจัย และรวบรวมประเด็นความรู้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนทีเ่ สรมิ สร้าง
ทักษะการสอนท่ีน่าสนใจ และเป็นกิจกรรมที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนสำหรับครู ได้เลือกวิธีการและนำแนวคิด
“ถามคือสอน” โดยเลือกเทคนิคการใช้คำถามของ OEPC แลเครื่องชี้นำการคิดของ De Bono มาเป็นสื่อในการ
พัฒนาทักษะการสอนคิด เนน้ การสรา้ งบรรยากาศทีเ่ ปน็ มติ รกับผู้เรยี น นำแนวคดิ ของมายา ทเ่ี รียกวา่ แผนการจัด
ประสบการณ์ (EAP ) มี 6 ขั้นตอน ซึ่งขัน้ ตอนแรกครูจะต้องเริ่มต้นการด้วยสรา้ งความผ่อนคลาย ให้เกิดความสุข
ความพร้อมที่จะเรียนในการเรียนเป็นเบื้องต้น มาใช้ในเสริมทักษะการสอนคิดให้แก่ครู ซึ่งรูปแบบนี้ได้ผ่านการ
ทดลองใช้กับนักเรียนทุกระดับ ซึ่งผลงานวิจัยพบว่าวิธีการเสริมสร้างการคิดด้วยการใช้คำถามที่เป็นระบบจะ
สง่ เสรมิ การคิดแก่นักเรยี น รูปแบบการสอน EAP เปน็ รูปแบบทใี่ ชใ้ นการพฒั นาการคิดให้แก่นกั เรียนได้ ซ่งึ เดิมมี 6
ขัน้ ตอน เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับบริบทการเรียนรู้ที่ใช้สถานการณ์ วถิ ีชีวิตขอบชุมชนเป็นบทเรยี นสำหรับนักเรียน จึง
ไดเ้ พม่ิ เตมิ เป็น 7 ขนั้ ตอนคอื เพมิ่ เตมิ การนำไปส่กู ารปฏิบัติจรงิ ในชุมชน

ข้ันที่ 1 เตรยี มพรอ้ มใจกาย เปน็ การจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างบรรยากาศและเตรียมความ
พร้อมผูเ้ รยี นนำเข้าสู่ประเด็นการเรยี นรู้ โดยจดั กจิ กรรมสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนโดย
คาดหวังใหบ้ รรยากาศการเรยี นรู้ทม่ี ีลักษณะเป็นกนั เอง (Friendly) ผอ่ นคลาย (Relax) เสริมศกั ดศิ์ รีในตนเองของ
ผู้เรยี น (Self-Esteem) มน่ั คง (Self and Secure) สนุกทา้ ทาย (Challenge) และสขุ ใจ (Enjoy) กจิ กรรมท่ีจดั คือ
การทกั ทาย กจิ กรรการบริหารสมอง (Brain Gyms)

16

ขั้นที่ 2 ถาม คิด พินิจปัญหา เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อเสนอเนื้อหาสาระของบทเรียน ใน
รูปแบบการนำเสนอโจทยป์ ัญหา สถานการณต์ ่อผเู้ รยี น โดยใชเ้ ทคนิคการนำเสนอท่ีจะทำให้ตัวผู้เรียนเกิดมโนภาพ
เกี่ยวกับประเด็นปัญหาหรือเนื้อหาสาระ เช่น การเล่านิทาน สถานการณ์จำลอง วิดีทัศน์ ทัศนศึกษา ทดลอง
ข่าวการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ/ปัญหาหรือเนื้อหาบทเรียน โดยการนำไปสู่การเข้าใจ ทำความรู้จักกับเนื้อหา
สถานการณ์ที่เป็นปัญหา เห็นความสำคัญปัญหา ครูเน้นใช้คำถาม OEPC สำหรับกระตุ้นให้นักเรยี นได้ขบคิดกับ
ปัญหา/เนื้อหา/สถานการณ์ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนระบุปัญหาที่จะต้องแก้ไข หรือหาคำตอบ (ขั้นการเข้าถึง
ปัญหา)

ขั้นที่ 3 คิดค้นทางแก้เฉพาะตน เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในตนเองของ
ผู้เรียน “เข้าใจปัญหา คิดหาทางแก้ แน่ใจจุดยืน”โดยผู้เรียนใช้คำถาม OEPC กำกับตนเอง แต่ละคนได้คิดค้นหา
ทางออกของปญั หา ขยายและทำความเข้าใจในบทเรียน ดว้ ยมุมมองของตนเอง สร้างขอ้ คิดเก่ียวกับทางออกของ
ปัญหาแล้วสื่อสารทางออกนั้นออกมาเป็นชิ้นงาน เช่น การอธิบายด้วยวาจา การเขียนในรูปแบบแผนที่ความคิด
การภาพวาดตามความคดิ ของตนเอง การเขยี นบรรยาย หรอื วิธกี ารอ่ืนทีต่ นเองสนใจถนัด

ขน้ั ท่ี 4 รวมพลค้นทางออกโดยกลุ่ม เป็นการจดั เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรจู้ ากกลุ่มและมุมมอง
ที่หลากหลาย หลังจากที่ผู้เรียนแต่ละคนได้ทางออกของปัญหาแล้ว ทางออกของแต่ละคนมาตรวจสอบ
แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับผู้อื่นในลักษณะของกลุ่ม เพื่อหาทางออกของกลุ่มร่วมกัน โดยการศึกษาเพิ่มเติมจาก
เอกสาร แหล่งอ้างอิงหรือสื่อการเรียนรู้อืน่ ที่รวบรวมได้ เช่น กิจกรรมการระดมสมอง ( Brain storming ) แบบ
ต่างๆ การอภิปรายโดยใช้ผลงานของสมาชิกกลุ่มแต่ละคนเป็นข้อมูล การถกเถียงแบบวิภาษวิธี การใช้คำถาม
OEPC สำหรับ จำแนกข้อมูลพื้นฐาน พิจารณาข้อแย้ง และสรุปสังเคราะห์ที่ค้นพบ พร้อมร่วมกันวางแผนการ
นำเสนอทางออกของปญั หาด้วยวธิ กี ารทีน่ ่าสนใจ

ข้ันที่ 5 แลกเปล่ียนเรียนรู้เล่าสู่กนั ฟงั เป็นกิจกรรมการนำเสนอโดยให้กลุ่มส่ือสารทางออก
ของปัญหาที่สมาชิกภายในกลุ่มร่วมกนั คิดไว้ในขั้นที่ 4 แสดงผลการประมวลออกมาในรูปแบบของชิน้ งาน/ภาระ
งาน เช่น การแสดงออกทางศิลปะต่างๆ แผนผังความคิด โปสเตอร์ แสดงละครรูปแบบต่างๆ Power Point
บทเพลง บทบาทสมุมติ การเสวนาและการพูดคุยอภิปราย หรือวิธีการอื่นๆที่กลุ่มสนใจ หลังจากการนำเสนอ
สมาชิกในชั้นเรียนร่วมกันพิจารณาตัดสินใจจากการเสนอความคิดเพื่อพัฒนาทักษะการวิพากษ์วิจารณ์ (ข้อดี
ข้อดอ้ ย ขอ้ จำกดั ประโยชน์ อปุ สรรค)

ขน้ั ที่ 6 ทบทวนอีกครัง้ กอ่ นปรับใช้ เปน็ การจดั กิจกรรมเพ่ือให้ผ้เู รียนได้ทบทวนเรื่องราวที่
ได้เรยี นร้มู าทง้ั หมด เพอ่ื ก่อให้เกดิ ขอ้ สรุปหรือประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเหน็ วธิ ีการนำความรู้ ความ
เข้าใจ และทัศนคติที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน หรือจะนำทางออกของปัญหาที่ได้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั และเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นตรวจสอบความรู้ ปรบั ปรุงวธิ ีการแก้ปัญหา ก่อนทจี่ ะนำไปใชจ้ รงิ

ข้นั ท่ี 7 นำสู่การปฏบิ ตั ิจริง เป็นการนำแผนที่วางไว้ไปปฏบิ ัติจริง การกำกบั และตดิ ตามการ
แก้ปัญหา เปรียบเทยี บผลลัพธก์ ับเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ มีการสงั เกตและบันทึกพฤตกิ รรมการแกป้ ญั หา

บทสรุปการถอดบทเรยี นคร้งั น้ีได้รปู แบบการสอนนักคดิ เชงิ ออกแบบท่เี นน้ ชมุ ชนเปน็ ฐาน
2.2 การรแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
เมอ่ื ไดร้ ปู แบบการพัฒนานักคดิ เชงิ ออกแบบทเี่ น้นชุมชนเป็นฐาน นำเสนอคณะทำงานเพอ่ื

17

รว่ มกันวเิ คราะห์ความเป็นไปได้ จากการจัดการความรู้รว่ มกนั จึงได้ออกแบบหลกั สูตรพัฒนาทักษะการสอนนักคิด
เชิงออกแบบทเ่ี น้นชุมชนเป็นฐาน ทมี่ ีเนอ้ื หา เทคนคิ การใช้คำถาม การเรยี นรูใ้ ช้ชมุ ชน (CBL) และเขียนแผนแบบ
EAF ซึ่งเรียนการ “การสอนนักคดิ เชงิ ออกแบบท่ีเนน้ ชุมชนเปน็ ฐาน” เปน็ หลักสูตรในการถา่ ยทอดความรู้ให้แก่
ครูผู้สอน ใชเ้ ปน็ แนวทางนวตั กรรมการสอนคดิ การเผยแพรต่ อ่ไป

2.4 การนำไปใช้
นำหลกั สตู รพัฒนาทกั ษะการสอนนกั คดิ เชงิ ออกแบบท่เี นน้ ชุมชนเป็นฐาน ไปพัฒนาองค์

ความรู้การสอนคดิ ให้แก่ครู ในรปู แบบ การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 1 วนั เนน้ การเรยี นรูผ้ ่านการฝึกปฏบิ ัติจริง โดย
ใหค้ ุณครูนำไปใช้ปฏบิ ัตกิ ารสอน ใช้เวลา 1 เดือนครูกลบั มาสะท้อนผล “เดมิ การตั้งคำถามของตนไมม่ ที ศิ ทาง ไมม่ ี
กรอบ แลว้ แต่จะถาม แต่พอได้เทคนคิ ทำใหก้ ารถามเป็นระบบ ทำใหน้ ักเรยี นมีลำดับขั้นในการคดิ ” ครูเล่าว่า “..
เดิมไมเ่ คยคิดว่า การสอนคดิ ทำยาก แต่ดว้ ยน้ที ำได้งา่ ย …เพียงแตใ่ ช้คำถาม…ให้เหมาะ…” “การสรา้ งบรรยากาศ
เปน็ เรอ่ื งสำคญั ทจ่ี ะทำให้นกั เรียนได้คิด กล้าคดิ การแสดงการยอมรับของครูมีผล” สรุปครูเหน็ ว่าวธิ ีจัดกิจกรรม
แบบนสี้ ามารถพัฒนาทกั ษะการคดิ นักเรียนได้

2.5 การบำรงุ รกั ษา
คณะทำงาน นำความรู้ท่ี ไดท้ บทวนความถกู ตอ้ งและเพม่ิ ความสะดวกใหแ้ ก่ผใู้ ชโ้ ดยการ

เพ่ิมเติมเทคนคิ การใช้คำถาม และตวั อย่างประเด็นในชุมชนในการสบื ค้นความรู้ จัดทำเปน็ เอกสารคมู่ ือ เผยแพร่
ใหแ้ กผ่ ้ทู ่ีสนใจนำไปใช้

3. ผลลพั ธ์การจดั การความรู้
ผลลพธั ์ที่ได้จากการจดั การความรใู้ น เรอื่ งน้ีคอื เกิดเทคนิคใหม่ในการเรยี นการสอนพฒั นาทกั ษะ

การคิดในศตวรรษท่ี 21 เป็นนวัตกรรมการสอนทางเลือกหนง่ึ ใหก้ ับครู นกั ศึกษาครู และคณะครศุ าสตร์ ร่วมถงึ
การได้รูปแบบในการใหบ้ รกิ ารทางวิชาการแก่สงั คมของมหาวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี

18

ประเด็นความรทู้ ี่ 3 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีในการพฒั นาการสอนทกั ษะการคดิ

1. ความสำคัญ
เทคนคิ การสอนเป็นความสามารถท่ีพงึ มีของครูอาจารยห์ รอื บคุ ลากรทางการศกึ ษาทีท่ ำาหน้าที่

สอนเพราะถอื เป็นทักษะขน้ั พ้นื ฐานทส่ี ำคัญของครอู าจารย์ที่จะใช้กลวิธเี ทคนคิ ต่างๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการสอน
หรอื การกระทำาตา่ งๆ ในการสอนให้มคี ุณภาพและประสิทธภิ าพเพม่ิ ขึ้น โดยกระบวนการสอนท่นี ำามาใช้มีสว่ น
ชว่ ยสง่ เสริมกระบวนการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นให้มกี ารเรยี นรู้ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ ครูจึงต้องมีความรู้และทักษะท่สี ำคัญ
หลายประการนอกเหนอื จากความร้ใู นเนื้อหาวชิ าน้ันแลว้ เทคนคิ การสอนถือเปน็ หัวใจสำคญั ของความสำเร็จใน
การจดั การเรยี นการสอนทีม่ คี ณุ ภาพ การนำาเทคโนโลยีการศกึ ษามาใชเ้ พือ่ ช่วยในการจัดการเรยี นการสอนไดร้ บั
การพัฒนาและนำามาใช้อยา่ งแพร่หลายท้ังแนวคิด ทฤษฎี หลกั การ รวมไปถึงเคร่ืองมือและสื่อการศึกษา
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการนำาเทคโนโลยี Mobile Application เพอื่ การจัดการเรยี นการสอน ซง่ึ มีการพัฒนา
แอปพลเิ คชันที่มปี ระสทิ ธภิ าพและมีประโยชนใ์ นการจดั การเรยี นการสอนครอบคลุมกระบวนการจดั การเรยี น
การสอนทง้ั กระบวนการ

คณะผู้ดำาเนินโครงการเล็งเหน็ วา่ การประยุกต์ใช้กลุ่มเครื่องมือ Education Application เพ่ือ
การเรยี นการสอนโดยใช้เครื่องมอื ที่หลากหลายจะชว่ ยให้ครู อาจารย์ของไทยมีทักษะการใชง้ านเครื่องมือเพ่ือการ
สอนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีทกั ษะการสอน เร้าความสนใจของผู้เรียน สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
ได้เป็นอย่างดี จะส่งผลให้ครู อาจารย์ มีเทคนิคการสอนใหม่ๆ ผ่านการใช้เครื่องมือในกลุ่ม Education
Application และผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรยี นรู้ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
เมื่อทราบถึงปัญหาและความต้องการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอน

ทักษะการคดิ จึงได้ดำเนนิ การ ศึกษาเอกสารงานวิจัย และรวบรวมประเดน็ ความรู้เกี่ยวข้องกับการการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยใี นการพัฒนาการสอนทกั ษะการคดิ ทน่ี ่าสนใจ และมคี วามเหมาะสมในบริบทการจัดการเรียนการสอนท่ี
สารถนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้จรงิ และเปน็ กิจกรรมทไี่ ม่ย่งุ ยากซบั ซอ้ นสำหรับครู ได้เลือกเทคโนโลยที ่ีสามารถใช้ในการ
นำเข้าสู่บทเรียนด้วยงานศิลปะผสมผสานกับเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented reality) ด้วยแอพพลิเคชัน
Quiver ในการบริหารจัดการชั้นเรียนและการเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมด้วย Mentimeter การประยุกต์ใช้เกมใน
การจัดการเรยี นการสอน (Game based learning) ไดแ้ ก่ Kahoot, FlipQuiz, Plicker และ Socrative

2.2 การรแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
เม่ือได้รปู แบบการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทกั ษะการคดิ นำเสนอ

คณะทำงานเพื่อร่วมกันวิเคราะห์ความเป็นไปได้ จากการจัดการความรู้ร่วมกันจึงได้ออกแบบหลักสูตรการ
ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีในการพฒั นาการสอนทักษะการคิด ท่มี เี นือ้ หา ขั้นตอนในการเข้าใชง้ านแอพพลิเคช่ันต่างๆ
เปน็ หลักสตู รในการถ่ายทอดความรใู้ ห้แกค่ รผู สู้ อน ใชเ้ ปน็ แนวทางนวัตกรรมการสอนคดิ การเผยแพรต่ อไ่ ป

2.3 การนำไปใช้
นำหลักสูตรการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทักษะการคิด ไปพฒั นาองค์

19

ความรกู้ ารสอนคิดใหแ้ ก่ครู ในรปู แบบการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ 1 วัน เนน้ การเรียนรูผ้ ่านการฝึกปฏิบัติจริง โดย
ให้คุณครูนำไปใช้ปฏิบัติการสอน ใช้เวลา 1 เดือนครูกลับมาสะท้อนผล จากการที่ครูได้นำเอาเทคนิคการจัดการ
เรียนการสอนโดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการสอนทักษะการคิดในชั้นเรียนจริง บรรยากาศใน
หอ้ งเรียนเปลี่ยนไปสนกุ สนานขึน้ ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการทำกิจกรรมมากขึ้น รปู แบบท่แี ตกต่างจากเดิมที่เคยใช้ทำ
ให้กระตนุ้ ความสนใจ และการมสี ่วนรว่ มเพม่ิ มากขนึ้

2.4 การบำรงุ รักษา
คณะทำงาน นำความรู้ที่ ได้ทบทวนความถูกต้องและเพิม่ ความสะดวกให้แก่ผ้ใู ช้โดยการ

จัดทำเปน็ เอกสารคูม่ อื เผยแพร่ใหแ้ ก่ผู้ที่สนใจนำไปใช้

3. ผลลัพธ์การจัดการความรู้
ผลลพั ธ์ท่ีได้จากการจัดการความรูใ้ น เรอ่ื งน้ีคอื เกิดการนำเทคนคิ ใหมม่ าประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียน

การสอนพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 เป็นนวัตกรรมการสอนทางเลือกหนึ่ง ให้กบั ครู นักศกึ ษาครู และ
คณะครศุ าสตร์ รว่ มถงึ การไดร้ ูปแบบในการให้บริการทางวิชาการแก่สงั คมของมหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

2. ผลท่เี กิดกบั นกั เรียน

ประเดน็ ความรู้ที่ 1 พฒั นา Growth mindset ดว้ ยจิตปัญญา

1. ความสำคญั
โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรบั ผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ในฐานะของกระบวนกรและคณะ

ดำเนินงานก่อนอื่นเลยต้องขอ Check-in ก่อน สำหรับความรู้สึกของตัวเองที่มีต่อโครงการ รู้สึกดีใจมากที่ได้ทำ
โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพราะโดยส่วนตัวแล้วรู้สึกว่านี่คืออีกหน่ึงทางเลือก
สำหรบั การพัฒนาประเทศชาตแิ ละบ้านเมืองของเราทกี่ ำลังเผชิญวกิ ฤติในหลายๆด้านอย่ใู นขณะน้ผี า่ นการบ่มเพาะ
และพัฒนาทักษะการคดิ ให้กับผู้เรียน โดยดำเนินการพฒั นาและสร้างทกั ษะการคิดนีใ้ ห้กับครูโดยใช้โรงเรียนและ
ชุมชนเป็นฐาน จากการติดตามผลลัพธท์ างการศกึ ษาในช่วงที่ผ่านมากับความเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเรว็ นั้น พบภาพ
สะท้อนของปญั หาสงั คมและการศึกษาไทยในปจั จุบันท่ีน่าจะเป็นตัวกำหนดความต้องการในการพัฒนาทักษะน้ีได้
เป็นอย่างดี จากการวิจัยของ ร.ต.อ.หญิง อาภรณ์ รัตน์มณี (2553) ที่ได้ชี้ให้เห็นภาพรวมทางการศึกษาไทยที่มี
ผลสัมฤทธ์ิในการศกึ ษาอย่ใู นระดับต่ำจนน่าเป็นหว่ ง โดยแสดงผลจากการติดตามการปฏริ ูปการศกึ ษาในรอบ 6 ปี
หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 จากการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาท้ัง
17,562 แห่งทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ 49.1 ของโรงเรียนทั้งหมด พบว่า 1.การจัดการเรียนการสอนของครูกว่า
70 % ยังยึดผู้สอนเปน็ สำคัญ 2.การจัดกิจกรรมทีก่ ระตุ้นผู้เรียนใหร้ ู้จักคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา
และตดั สินใจ มีคุณภาพอย่ใู นระดบั ร้อยละ 13.5 การประเมนิ คุณภาพทางดา้ นผู้เรยี นพบว่า ยงั มผี ลสมั ฤทธิ์ดา้ นการ
เรียนระดับตำ่ มากในทกุ กลุม่ โดยเฉพาะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ มวี จิ ารณญาณและความคิด
สร้างสรรค์ มีคุณภาพดีเพียงร้อยละ 11.1 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง มคี ณุ ภาพดีเพียงร้อยละ 26.5 ของสถานศกึ ษาทง้ั หมด (ไพฑูรย์ สินลารัตน์,2560,น.13)

จากขอ้ มลู ดังกล่าวแสดงให้เห็นถงึ กระบวนการพัฒนาทักษะด้านการคดิ ของผู้เรยี นยงั คงอ่อนด้อย
อย่มู าก ซึ่งปัญหาดา้ นทักษะการคดิ ของผ้เู รียนน้นั มีผลกระทบในระดบั ปัจเจก ปญั หานยี้ ังส่งผลกระทบถงึ วิกฤตทาง

20

การเมือง สังคม และเศรษฐกิจอยู่รอบด้าน ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้ส่งผลต่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ ที่สืบ
เนื่องมาจากคนไทยนั้นขาดความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน นวัตกรรมใหม่ๆที่สอดคล้องกับสภาพ
สังคมและสิง่ แวดลอ้ มในบรบิ ทของประเทศไทย เรากลายเป็นผ้บู รโิ ภคไปโดยปรยิ าย จากปญั หาดงั กลา่ วเราจะเห็น
ว่าจุดเรมิ่ ตน้ ของปัญหานนั้ เกิดข้นึ จากวฒั นธรรมการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรยี นของเราที่ครูผู้สอนจำนวนมาก
ยงั ยดึ ตนเองเปน็ ศนู ย์กลาง และมีรปู แบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความรู้สำเร็จรูป หรือความรู้ 1 ชุดมาถ่ายทอดให้
ผู้เรียนที่มีความหลากหลายทั้งในแง่ของ รูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน (Learning Styles) และประสบการณ์
(Experience)ขาดความรู้ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจต่อบทเรียน
เพื่อพัฒนาและยกระดับการคิด การเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตและประสบการณ์ของผู้เรียนรวมถึงการเชื่อมโยง
บทเรียนถงึ ชมุ ชนของตนเอง

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
คณะดำเนินการของเราจึงได้ร่วมกันวางแผนและออกแบบกจิ กรรมผ่านการทำงานค้นหาข้อมูล

ของปัญหา เทคนคิ และแนวทางในการแกป้ ญั หา รวมถงึ การคัดเลอื กโรงเรียนกันอยา่ งเข้มขน้ ด้วยความหลากหลาย
ทางสาขาวิชาชีพ และประสบการณ์ในการทำงานที่หลากหลาย เราจึงร่วมตั้งเป้าหมายในการทำงานโครงการ
พัฒนาทักษะการคิดสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ร่วมกัน 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของครู
เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21 2. เพื่อพัฒนา
รูปแบบการส่งเสริมความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิด
ในศตวรรษที่ 21 และ 3. เพ่อื ศกึ ษาผลการพัฒนาครูตามรูปแบบการสง่ เสริมความสามารถของครูในการออกแบบ
กจิ กรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้นการพัฒนาทกั ษะการคดิ ในศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบหลักสูตรไว้ดงั น้ี

21

โครงการพฒั นาทักษะการคดิ สำหรับผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21

หลกั สตู รพัฒนาครู หลกั สตู รพัฒนาผู้เรยี น

หลกั สูตรท่ี 1. หลกั สูตรปลกู หลกั สูตรท่ี 1. หลักสตู ร
ศรัทธาครผู มู้ งุ่ มั่นในการสอน Growth mindset ดว้ ยจิต
คดิ (Growth mindset ด้วย ปญั ญา
จติ ปัญญา เทคนิคการใช้แผนท่ี
หลักสตู รท่ี 2. หลักสูตรฝึก
ชีวติ ) ทักษะการวางแผนชวี ติ ดว้ ย
หลกั การทรงงานบูรณาการ
หลักสตู รที่ 2. กับแผนทช่ี วี ิต
หลักสตู รพฒั นาทกั ษะการ
สอนนกั คิดเชิงออกแบบทเี่ น้น
ชมุ ชนเปน็ ฐาน และการ
ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการ
พฒั นาการสอนทักษะการคิด

หลักสูตรท่ี 3. หลักสูตรค่าย
สรา้ งนักคิดเชงิ ออกแบบที่เนน้
ชมุ ชนเปน็ ฐาน

22

โดยท้ัง 5 หลักสตู รน้ี ได้จัดอบรมให้กบั คณะดำเนินงาน ทีมผู้ชว่ ยวจิ ัย ครู และนกั เรียน โดยส่วนตัวไดร้ บั
หนา้ ท่ใี นการจัด หลักสูตรปลกู ศรทั ธาครูผู้มงุ่ ม่ันในการสอนคดิ (Growth mindset ดว้ ยจิตปัญญา เทคนิคการใช้
แผนท่ีชีวิต) กบั ทีมผู้ชว่ ยนักวิจัย โดยใช้กิจกรรม Check –in ,กิจกรรมนับเลข,จิตวิทยาเชิงบวก,ผอ่ นพักตระหนกั
รู้ (Body scan) ,กิจกรรมผลดั กนั เล่า ผลัดกนั ฟัง Deep Listening,กิจกรรมผู้นำ 4 ทิศ,กจิ กรรม Check-out
1.ผลจากการดำเนนิ งานกับทีมผู้ช่วยนกั วจิ ัย

1. นักศกึ ษามสี ตริ สู้ ึกตัว รเู้ ท่าทันอารมณค์ วามรู้สึก รู้เท่าทนั ความคดิ รู้เทา่ กันการแสดงออกทาง
พฤติกรรมของตนเองตอ่ ผคู้ น การมีสติร้สู ึกตัวในระดับตา่ งๆช่วยให้นกั ศกึ ษาสามารถกลับมาทบทวน คดิ ใครค่ รวญ
ตอ่ อารมณ์ความรู้สึก ความคดิ การแสดงออกทางพฤติกรรมของตนเองไดบ้ อ่ ยขึ้น โดยเฉพาะในวิถีชวี ิตประจำวนั
ของตนเอง การมีสตริ ้สู ึกตวั เป็นพื้นฐานสำคญั ของการเปลย่ี นแปลงข้นั พนื้ ฐานในตนเอง (Transformative
Learning) เพราะเปน็ จุดทที่ ำให้นกั ศึกษาได้กลับมาเช่อื มตอ่ กับโลกภายใน คน้ หา ต้งั สมมตุ ิฐาน ตรวจสอบ
ความรู้สกึ ความต้องการ ความคาดหวงั ของตนเอง ที่มีต่อผู้อื่น ส่งผลให้นักศกึ ษาสามารถคดิ ใคร่ครวญ คิด
วเิ คราะห์ คดิ แยกแยะ ตลอดจนมองเห็นว่าส่วนหนึ่งของความทกุ ข์ ความผิดหวัง หลายๆอยา่ งท่ีเกิดข้นึ มาจาก
ความคาดหวังที่ไม่ถูกทถ่ี ูกทางของตนเอง และได้หนั กลบั มาแกไ้ ขทต่ี นเองเป็นหลกั

“ผมชอบกจิ กรรมเชค็ อินครบั ได้ตรวจสอบความพร้อมของตนเองและเพื่อนว่ามีความพร้อมมากนอ้ ยแค่
ไหน รวมถึงการเช็คเอ้าท์ด้วยครบั มนั ทำให้เราไดก้ ลับมาทบทวนตวั เองว่า ทีเ่ รยี นไปน้ัน เราไดค้ วามรู้ แง่คิดอะไร
มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั บ้าง การได้ทบทวนตวั เองชว่ ยใหผ้ มจดั ลำดับความสำคัญ และจัดระเบียบความคดิ ได้ดี
ข้นึ ”

“ช่วยใหเ้ ราสามารถจดั การกบั อารมณ์ของตนเองได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพด้วยตัวของเราเอง ไดร้ จู้ ักตัวเอง
มากขึน้ ทำให้เราร้จู ักความชอบ ไม่ชอบของตัวเองบอ่ ยขึ้น มีสตติ ดิ ตาม กำกับและควบคมุ ได้ฝึกมีสตริ ้เู ทา่ ทนั
ความรู้สกึ ของเรา มนั ชว่ ยให้เราควบคุมความคิดฟงุ้ ซา่ นตา่ งๆไดด้ ีข้ึนค่ะ”

2. การเข้าใจตนเองและยอมรับตนเอง การเข้าใจตนเองและยอมรับตนเองตามความเป็นจรงิ ท้ังดา้ นบวก
และด้านลบเปน็ การกลับไปเชือ่ มโยงกับโลกภายในของตนเองอีกครงั้ เม่อื เราทำสม่ำเสมอมากข้ึนสง่ ผลให้เรารัก
และเมตตาตนเองเพิม่ ข้ึน ซง่ึ เป็นการขัดเกลาภายในตนเอง จนสามารถยอมรับเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขนึ้ ในชีวิตประจำวัน
ได้ดมี ากขนึ้ ซึง่ ส่งผลให้สามารถรับมือกบั การเปล่ียนแปลงไดด้ ีขึน้ เกดิ สมั พันธภาพและความรสู้ ึกท่ีดีตอ่ ตนเองมาก
ขนึ้ กลา่ วโทษตนเองนอ้ ยลง เมตตาตนเองเพิ่มขึน้

“หนูรักตวั เองมากขึ้น แต่ก่อนหนมู ักจะต่อว่าตวั เองเวลามีอารมณ์ดา้ นลบ เชน่ การโกรธ เกลียด อิจฉา หนู
มักจะปกปดิ ความร้สู ึกน้ีไว้ จากกจิ กรรม การเช็คอิน การเรียนผนู้ ำสีท่ ิศ ทำให้หนคู ่อยๆฝกึ ยอมรับอารมณ์ด้านลบ
ของตวั เอง การคดิ ใครค่ รวญทำให้หนเู ข้าใจท่ีมาของอารมณ์ความรูส้ ึก ทำใหห้ นเู คารพตัวเองมากขน้ึ ”

“ดิฉันเขา้ ใจถงึ การเรม่ิ ตน้ ชว่ ยเหลือเด็กทีย่ ั่งยืนคือการฝกึ ยอมรับตัวเราเอง เมตตาตวั เราเอง และให้อภัย
ตัวเราเองซำ้ ๆ จรงิ ๆ แลว้ ทกุ อยา่ งเร่มิ ตน้ ท่ีตวั เรา”

3. การรับฟงั ผอู้ น่ื โดยไมต่ ัดสนิ เห็นการตัดสิน การสรุป ของตนเองงา่ ยข้นึ จากการมีสตริ ้เู ท่าทัน พรอ้ มทั้ง
สามารถวางและหอ้ ยแขวนการสรปุ ผคู้ นไดเ้ รว็ ข้ึน

23

“การทำกิจกรรมผลัดกันเล่า ผลดั กันฟัง (Deep Listening) ชว่ ยให้ดฉิ ันเห็นคุณภาพการฟังของตนเอง
มากข้นึ ท่ีผา่ นมาเขา้ ใจวา่ ตัวเองฟังคนอ่นื ได้ จริงๆแลว้ เรามีความคิดเห็นของเรามากมาย มขี อ้ สรุป มคี ำวิพากษ์
คนเลา่ อยตู่ ลอดเวลาขณะที่เราฟงั ใครสกั คน มแี ต่เสียงของตวั เราเองเตม็ ไปหมด กจิ กรรมผลัดกันเล่าผลดั กนั ฟงั ทำ
ใหด้ ฉิ นั ชว่ ยคล่ีคลายความทุกข์ สรา้ งความสบายใจใหเ้ พ่อื นได้”

“เข้าใจความคิดของเพื่อนมากกว่าเดิม วา่ บางครง้ั เพื่อนไมไ่ ดม้ าขอคำแนะนำจากเรา เขาแคต่ ้องการคนรับ
ฟังเขาในเวลาทเ่ี ขาทุกข์ เราจึงไมค่ วรแนะนำ เพยี งแคร่ บั ฟังและอยเู่ ป็นเพ่ือนเขาในอารมณน์ ัน้ ๆ”

“ฝึกฟังใหจ้ บ ก่อนสรุปและกอ่ นตดั สิน รวมถงึ แม้ตัดสินไปแลว้ กส็ ามารถห้อยแขวนไวแ้ ละกลับมาฟังใหม่
ได้ การไมส่ รุป ไมต่ ัดสินใครช่วยให้ดฉิ ันมใี จทสี่ บายขึ้น แตย่ งั ตอ้ งฝึกฝนตอ่ ไปคะ่ ”

4) มีสัมพันธภาพและความรสู้ กึ ท่ีดีต่อเพอ่ื นในช้ันเรียนมากข้นึ เข้าใจกนั มากขน้ึ จากการได้ทำกจิ กรรม
รว่ มกัน พูดคุยแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นในการทำกิจกรรมต่างๆ รวมถึงการเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล ใน
บทเรยี นผนู้ ำสี่ทิศและแบบฝึกหัดสช่ี ่อง ช่วยให้เราเขา้ ใจลกั ษณะของตนเองไดด้ ีข้นึ ขณะเดียวกนั กเ็ ข้าใจลกั ษณะ
ของเพ่อื น เคารพความแตกตา่ งระหว่างบุคคล อยู่ร่วมกันดว้ ยความเขา้ ใจและเคารพ สง่ ผลให้ความคาดหวงั ในตวั
เพื่อนอ้ ยลง เปล่ียนเป็นเข้าใจและเคารพแทน

“มปี ฏสิ มั พันธก์ บั เพ่ือนมากข้ึน มองเพื่อนในหลายๆมมุ มากขึ้น ขจัดอคติ”

“ได้ความเขา้ ใจท่ีแตกต่างจากความคิดแบบเดิม รู้จักคนรอบตัวมากขนึ้ เข้าใจตนเองมากขึ้น เข้าใจเพ่ือน
มากขึ้น เข้าใจสังคมมากขน้ึ ”

5) มีความพรอ้ มในวชิ าชพี ครู
“เข้าใจตนเอง และเข้าใจเดก็ มากขน้ึ แต่ก่อนคิดว่าเวลาออกไปฝึกสอน ถ้าเจอเด็กดือ้ ไมเ่ ชอื่ ฟังจะทำ
อยา่ งไร วนั น้ีไม่กลวั แลว้ คะ่ เพราะว่าคดิ วา่ เข้าใจเขามากกวา่ เพราะคนเรามคี วามแตกต่างระหวา่ งบคุ คล รวมถงึ
เขา้ ใจว่าเด็กๆแต่ละคนตา่ งท่ีมา จึงมีพฤติกรรมท่แี ตกตา่ งกัน ยิ่งเดก็ คนไหนมปี ัญหาพฤติกรรมมาก เรายงิ่ ต้องให้
ความสนใจและเข้าใจเขาใหม้ ากข้นึ ”

“มีทศั นคตทิ ี่ดีต่อผอู้ ื่นมากข้ึน จากเดมิ คิดวา่ มาอบรมกง็ ้นั ๆไม่มอี ะไร แตพ่ อได้รว่ มกิจกรรม และทำความ
เข้าใจ ร้เู ลยว่าเราไดป้ ระโยชนจ์ ากกิจกรรม”

“หนูคดิ ว่าจะฟังเพื่อน คนรอบขา้ ง ผู้เรยี น ไมต่ ดั สนิ เข้าใจและให้โอกาสตัวเองและคนอื่นๆ มากขน้ึ ”

จากบทสะท้อนของทีมผูช้ ่วยนักวจิ ยั เราจะเริม่ เหน็ การพฒั นากระบวนการคดิ จากการได้กลับมาใคร่ครวญกับโลก
ภายของตัวเอง การรเู้ ท่าทันอารมณ์ความรสู้ กึ ของตนเอง และการคิดแยกแยะและการวิเคราะหเ์ หตุและผลของ
ตนเองตอ่ สถานการณต์ ่างๆ ช่วยให้ทีมผูช้ ว่ ยนกั วจิ ยั มโี อกาสในการจดั ระบบการคิดของตวั เองได้ดขี น้ึ รวมถงึ การ

24

สอบถามจากอาจารยผ์ ูส้ อน เพื่อสงั เกตความเปล่ยี นแปลงในชั้นเรียนพบว่า ความสมั พนั ธข์ องทีมผ้ชู ่วยนกั วจิ ยั มี
ความสมั พันธ์ในชั้นเรยี นกับกลมุ่ เพอ่ื นดขี ้ึน สง่ ผลตอ่ บรรยากาศในการเรยี นการสอนในช้นั เรยี นดีขึ้นตามมาดว้ ย

2.2 การแลกเปล่ยี นเรียนรู้
เรานิยมความสำเรจ็ รปู ในหลายๆอย่างแมก้ ระท่งั ความนิยมความรูส้ ำเร็จรปู ทถ่ี ูกสง่ ต่อจากคน

ทีท่ ำหน้าทค่ี รูสู่ผ้เู รยี น โดยขาดความตระหนักในแงข่ องการให้ความสำคญั กับกระบวนการมากกว่าผลลพั ธ์ ในชว่ งที่
ผ่านมาวฒั นธรรมการจดั การเรียนรูใ้ นชน้ั เรียนนัน้ เราเนน้ ผลลพั ธ์มากกวา่ กระบวนการ คือเราใช้ 1 วิธีกบั เด็กท้ังชั้น
เรียน แล้วเราก็คาดหวังผลลัพธ์ท่ีเหมือนกันในชั้นเรียน เราระบุคุณค่าของผูเ้ รยี นจากผลลัพธ์ท่ีมาจากผลงานของ
เขาทม่ี คี วามแตกต่างกัน จากหน่ึงวิธีสอนของเรา โดยรู้ตัวและไม่รู้ตวั เราสรา้ งผลลพั ธห์ รือชุดความรู้สึกท่ีเด็กจะมี
ตอ่ ตนเองด้วยการตัดสนิ หรือให้คุณค่ากับชิ้นงานต่างๆของผู้เรียน โดยขาดความระมัดระวงั และเราสร้างบาดแผล
และความเจบ็ ปวดใหก้ บั ผเู้ รียน ปญั หาท่กี ลา่ วมานี้สอดคล้องกบั ผลงานวิจยั ข้างต้นท่ไี ด้สะท้อนถึงการจดั การเรียนรู้
ในชนั้ เรยี นของครูที่ยดึ ตนเองเป็นสำคญั กระบวนการยึดครูผู้สอนเปน็ สำคัญนั้นได้ลิดรอนความสามารถในการคิด
ของเดก็ ๆ ในชนั้ เรยี นไปโดยส้ินเชงิ ครมู ีเป้าหมายไว้ในใจ เตรยี มกิจกรรม/บทเรียนต่างๆไว้ ทำให้ฉันตระหนของ
เยาวชนหรอื ทักษะ (Skill) ของเยาวชนและผเู้ รยี นนั้นขาดหายไปมาก

2.3 การนำไปใช้
นำหลกั สตู รปลูกศรทั ธาครูผ้มู งุ่ มันในการสอนคดิ (Growth mindset ด้วยจิตปัญญาไป

พัฒนาองค์ความรูก้ ารสอนคิดให้แกค่ รู ในรปู แบบ การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร 3 วนั เนน้ การเรยี นรผู้ า่ นการฝกึ
ปฏบิ ัติจรงิ โดยให้คุณครนู ำไปใช้ปฏิบตั ิการสอน ใช้เวลา 1 เดอื นครกู ลับมาสะทอ้ นผล

2.4 การบำรุงรกั ษา
คณะทำงาน นำความรทู้ ่ี ไดท้ บทวนความถูกตอ้ งและเพมิ่ ความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใชโ้ ดยการ

จัดทำเปน็ เอกสารค่มู อื เผยแพร่ให้แกผ่ ู้ที่สนใจนำไปใช้

3. ผลลพั ธ์การจดั การความรู้
ผลลัพธท์ ่ไี ด้จากการจดั การความรู้ใน เร่อื งน้ีคือ เกิดเทคนิคใหมใ่ นการเรียนการสอนพัฒนาทักษะ

การคดิ ในศตวรรษท่ี 21 เป็นนวัตกรรมการสอนทางเลอื กหน่ึง ให้กบั ครู นักศึกษาครู และคณะครศุ าสตร์ ร่วมถึง
การไดร้ ูปแบบในการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี

25

ประเดน็ ความรู้ที่ 2 ทักษะการวางแผนชวี ติ ดว้ ยหลักการทรงงานบูรณาการกบั แผนท่ชี ีวติ

1. ความสำคญั
การวางแผนชวี ติ หมายถงึ แนวทางหรอื ขอ้ กำหนดในการปฏบิ ตั ขิ องบคุ คลด้วยวธิ กี าร

เหมาะสมเพ่ือนำไปสู่เป้าหมายของชีวติ ในแตล่ ะชว่ งตามท่ีกำหนดไว้หากพิจารณาพน้ื ฐานทว่ั ไปในแนวทางปฏิบัติ
เพื่อการดำเนินชีวิตของคนเรา มีหลายเรื่องที่ถือว่าเป็นรูปแบบของการวางแผนชีวิต เช่น การวางแผนเกี่ยวกับ
คา่ ใชจ้ า่ ยในชวี ิตประจำวนั การวางแผนเก่ียวกบั การศึกษา การวางแผนในการประกอบอาชีพหลังสำเร็จการศึกษา
หรือการวางแผนในการสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งรูปแบบการวางแผนต่าง ๆ เหล่านี้มีความจำเป็นที่คนเรา
จะต้องรจู้ กั และนำไปใช้ปฏิบัติ เพราะการวางแผนชวี ิตท่ีดมี ีความสำคัญและสง่ ผลตอ่ การดำเนินชีวิตของคนเราดัง
จะเห็นได้จากผู้ที่ประสบความสำเร็จในชีวิต โดยทั่วไปมักพบว่ามีพื้นฐานมาจากการรู้จักที่จะวางแผนชีวิตของ
ตนเองอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งตรงข้ามกับบุคคลที่ไม่รู้จักวางแผนชีวิต หรือวางแผนชีวิตที่ไม่ดีพอมักจะไม่ประสบ
ความสำเรจ็ ในชวี ติ หรอื ไปไมถ่ งึ เป้าหมายของชีวิตท่ตี ง้ั ไวไ้ ด้

จากความสำคัญในการวางแผนชีวิตดังกล่าว จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรบรรจุไว้หลักสูตรการเรียน
การสอนในโรงเรยี น การเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดฝ้ ึกการวางแผนชีวติ ตั้งวัยเร่มิ ตน้ จะเป็นการสง่ เสรมิ ให้เขาได้เติมโต
บนพนื้ ฐานของการวางแผนการคิดอยา่ งเป็นระบบ การคิดวเิ คราะหภ์ าพอดีต ปัจจุบันเพอ่ื สร้างสรรค์อนาคตได้ด้วย
ตนเอง เพราะในฐานะของนักเรยี นหรือนักศกึ ษา หากไม่รูจ้ ักที่จะวางแผนจัดระบบหรือเวลาในการศกึ ษาของตน
ให้มคี วามเหมาะสมแลว้ ย่อมจะสง่ ผลใหป้ ระสบกับปญั หาในการศึกษาหรอื ไมป่ ระสบผลสำเร็จในการศึกษาได้

ดงั นั้นการวางแผนชวี ติ จึงมีความสำคัญและเปน็ ตัวช้ีวดั ถึงความสำเร็จหรอื ความลม้ เหลวของ
เปา้ หมายในชีวติ ทต่ี ้ังไวไ้ ด้ จงึ มคี วามจำเปน็ ทีจะจัดใหม้ ีการเรยี นการสอนในโรงเรยี นทกุ ระดบั

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
จากสภาพปญั หาดังกล่าวเหน็ วา่ การสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นรวู้ ธิ กี ารและแนวทางในการ

วางแผนชีวติ ทั้งท่ีเป็นแผนการเรียน แผนการทำงาน ผนการใช้ชวี ิตเป็นสิง่ ที่ควรทำ และการวางแผนชีวิตทีไ่ ด้ต้อง
อาศัยประสบการณ์ร่วมถึงการมีทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงระบบ ร่วมถึงการคิดสร้างสรรค์ เมื่อวางแผน
ออกแบบชวี ติ ได้ดแี ลว้ การดำเนนิ การตามแผนทว่ี ่างไว้ มคี วามจำเป็นอย่างย่ิงทีตอ้ งอาศัยหลักการวิธีการที่ถูกต้อง
สำหรับชาวไทย “การนำหลักการทรงงาน” มาปรับใช้ในการดำเนินชวี ิตเป็นสิ่งท่ีควรนอ้ มนำมาใช้ การให้ความรู้
และสรา้ งประสบกาณ์ให้แก่นกั เรียนมีโอกาสไดน้ ำการหลกั ทรงงานมาเปน็ หลกั ยึดในการใช้ชีวิตมีควมจำเป็นอย่าง
ยิ่ง การวางแผนชีวติ สำหรบั เปน็ แผนท่ีในการเดินทางของชีวิต เป็นองค์ความรู้ที่ควรบรรจุให้การเรยี นการสอน
ในโรงเรียน คณะทำงานได้ทำการศึกษาแนวทางการออกแบบชีวิตที่ง่ายและเป็นรูปธรรมให้ม ากที่สุด คือ
วิธีการ การทำแผนที่ชีวิต (Roadmap of Life) ถือเป็นวิธีการที่ออกแบบวางแผนชีวิตที่เป็นรูปธรรมวิธีหนึ่ง
สามารถตรวจสอบได้ โดยมขี ้นั ตอนไม่ย่งุ ยาก เพียงการเปน็ การตอบคำถามตนเอง

1) เป้าหมายชวี ติ เราคืออะไร อะไรคอื ทสี่ ุดของชวี ติ เชน่ งาน เงิน ครอบครัว ความ
สมหวัง ความสุข (โดยกำหนดจุดเรม่ิ ตน้ ชีวิต และจุดสิ้นสดุ ของชวี ิต)

26

2) วิธีการเดนิ ไปสเู่ ปา้ หมายที่เราตอ้ งการ ควรทำอย่างไร
หลักง่ายๆ ให้เราได้ดำเนินชีวิต คือ การแบ่งเป้าหมายตาม
ระยะของเวลา ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว คือ การ
วางเปา้ หมายอย่างฉลาด หรือ SMART Goal

Specific (เฉพาะเจาะจง)
เปา้ หมายตอ้ งเฉพาะลงไปเลย ต้องชัดเจน ไม่คลุมเคลอื

Measurable (วดั ผลได)้ เปา้ หมาย
ทุอย่างตอ้ งวัดผลได้ ไมเ่ ชน่ นนั้ เรากไ็ ม่สามารถประเมินได้วา่
ผลจะออกมาเปน็ อย่างไร

Attainable (สามารถไปถงึ ได้) ถ้า
เราต้งั เป้าหมายเราจะต้องไปถึงใหไ้ ด้

Relevant (มคี วามหมาย) คือ
จะตอ้ งเก่ยี วขอ้ งกบั ชวี ติ ของเรา

Time-based (มกี รอบเวลาทแี่ นช่ ัด) เช่นเราต้ังเปา้ ว่าภายในเวลา 1 เดือนเราจะนัง่ สมาธิ
ทุกวันให้ได้อยา่ งนอ้ ยวันละ 1-2 ช่ัวโมงกว็ า่ ไป ปีนเ้ี ราจะทำอะไร ตอ้ งกำหนดกรอบเวลาท่ชี ัดเจน

บทสรปุ จากการถอดบทเรยี น ไดร้ ปู แบบการวางแผนชีวิตด้วยหลักการทรงงานบูรณาการกับแผนที่ชีวิต
สำหรบั นักเรียน

2.2 การรแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
เมอ่ื ไดว้ ธิ ีการวางแผนชีวิต ดว้ ยวิธีการ “ทำแผนท่ีชวี ิต” ท่เี น้นการตอบคำถามสำคญั ในแตล่ ะ

ช่วงชีวิต นำเสนอคณะทำงานเพ่ือร่วมกันวิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ จากการจัดการความรู้ร่วมกันจึงได้ออกแบบ
“หลักสูตรทกั ษะการวางแผนชวี ิตดว้ ยหลักการทรงงานบรู ณาการกับแผนทช่ี วี ิต” ทีม่ เี น้ือสำคัญ ได้แก่ การทำแผน
ท่ชี วี ติ การนำหลกั การทรงงานกบั การใช้ชวี ิต เปน็ หลักสูตรในการถา่ ยทอดความรใู้ ห้แกน่ ักเรียน สำหรับเคร่อื งมือ
ในการวางแผนชีวิต ซึ่งเป็นนวัตกรรมหนึ่งที่ใช้การสอนทักษะการคิด และทักษะชีวิตได้ จากแนวคิดดังกล่าวได้
นำไปทดลองใช้กับการอบรมนักศึกษาสาขาการสอนภาษาไทย ที่เป็นอาสาสมัครเป็นทีมพี่เลี้ยงค่ายนักเรียน
ได้เรียนรู้และฝึกทำแผนที่ชีวิต โดยเชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญการสอนทำแผนที่ชีวิตมาให้ความรู้ทั้งนักศึกษาและ
คณะทำงาน จากความรู้และประสบการณ์ท่ไี ด้ นำให้ปรบั กิจกรรมพฒั นาทักษะการวางแผนชวี ิตดว้ ยหลักการทรง
งานบรู ณาการกับแผนท่ชี วี ิต บางกจิ กรรมเพ่อื ใหส้ มบูรณก์ ่อนนำไปใชจ้ ริง

2.3 การนำไปใช้
นำหลกั สูตรทกั ษะการวางแผนชวี ติ ด้วยหลักการทรงงานบรู ณาการกับแผนทีช่ ีวติ ไปพัฒนา

นักเรียน เป็นกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ 1 วัน เน้นการเรียนร้ผู ่านการฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ โดยให้นกั เรยี นจดั ทำแผน
ชีวติ ตนเอง ที่มที ้ังการวางแผนชวี ติ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว(อนาคต) แลว้ ใหน้ ำไปปฏบิ ัตจิ รงิ ประมาณ
1 เดือน คณะทำงานดำเนินการทอดบทเรียนในกิจกรรมOpen House นกั เรียนเหน็ ว่าการทำแผนที่ชีวติ ช่วยใน
การกำหนดกจิ กรรมในชวี ิตนักเรียนไดจ้ รงิ ดังตวั อยา่ ง การเสะทอ้ นของนักเรียน

27

นกั เรียย 008 : “……ผมตง้ั เปา้ หมายในแผนที่ชวี ิตว่าจะลดการเที่ยวตอนกลางคืน…. ผม
ทำไดผ้ มลดการเที่ยวตอนกลางคนื ลงและเพื่อนทีไ่ ปด้วยกันก็ทำได้เช่นกัน…พ่อแม่...ดีใจ….กับการลดการเที่ยวของ
ผม”

นักเรียน 025 : “…..หนูตั้งเป้าหมายไว้ในเรื่องการใช้เงิน เน้นความพอเพียง...เดิมหนู
อยากซือ้ อะไรหนูก็ซ้ือตามความอยากได้...หนูตั้งเปา้ ไวว้ า่ หนจู ะใช้เงนิ ซ้อื ของกินของใช้ตามความจำเปน็ ….ตอนนห้ี นู
ลดการใช้เงินได้มาก หนูจะซื้อของใช้ ของเกินเท่าที่จำเป็น และตอนนีจ้ ะซื้ออะไรหนจู ะตรวจสอบดูว่า ...แม่มเี งนิ
หรือมีสิ่งทตี่ อ้ งใช้อะไรหรอื ไม.่ ..หนดู ใี จ..ภมู ิใจ..กบั ตนเอง..”

นกั เรยี น 084 : “.....การทำแผนทช่ี ีวิต...หนเู ห็นว่าต้องมองความตอ้ งการและความ
พร้อมของครอบครัวด้วย เพราะหนวู างแผนในแผนที่ว่าจะเขา้ มหาวิทยาลัย...มาคยุ กับพอ่ แม.่ . แผนทชี่ ีวิตหนูก็
ปรับเปล่ยี นไป..แต่กเ็ ปน็ สง่ิ ท่ีดี เพราะได้ทำรว่ มกับพอ่ แม่....”

2.4 การบำรุงรักษา
คณะทำงาน นำความรู้ที่ ไดท้ บทวนความชดั เจนในการจัดทำรา่ งแผนท่ีชีวิตและเพ่ิมกิจกรรม

แนะแนวอาชีพเป็นเน้อื หาหนง่ึ สำหรบั นกั เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ จัดทำเปน็ เอกสารค่มู อื เผยแพรใ่ ห้แกผ่ ้ทู ี่
สนใจนำไปใช้

3. ผลลัพธ์การจัดการความรู้
ผลลพธั ์ที่ได้จากการจดั การความร้ใู น เรื่องน้ีคือ ไดน้ วตั กรรมการเรยี นการสอนทเี่ ป็นทางเลอื ก

หน่ึงสำหรบั การเรียนการสอนหรอื เสริมสร้างทกั ษะชวี ติ และทักษะการคดิ ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้พฒั นาทักษะชีวิต
ฝึกการวางแผนชีวิต ด้วยแผนที่ชีวิต ทั้ง ระยะสั่น ระยะกลาง ระยะยาว และพัฒนาทักษะกาคิดในศตวรรษท่ี 21
คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรรค์ คิดเชิงระบบ กิจกรรมนี้ควรบรรจุในกิจกรรมแนะแนว สำหรับ
นกั เรียน นกั ศึกษา รูปแบบน้เี ป็นหลกั สูตรท่ีสามารนำไปจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูประจำ นักเรียน หรือเยาวชนส
เป็นใหบ้ ริการทางวชิ าการแก่สงั คมของมหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี ได้

28

ประเดน็ ความรทู้ ี่ 3 ทักษะการคดิ เชงิ ออกแบบ

1. ความสำคญั
การคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) เป็นทกั ษะการคดิ ท่จี ำเป็นในการดำเนินชีวติ ในศตวรรษ

21 ซึ่งเป็นกระบวนการคิดที่ใช้การทําความเข้าใจในปัญหาต่างๆ อย่าง ลึกซึ้ง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย หรือผู้รับผล
โดยตรงเป็นศูนย์กลาง และนําเอาความคิดสร้างสรรค์และมุมมองที่หลากหลายมาพัฒนาเป็นแนวในการแก้ไข
ปัญหาและนำเอาแนวทางต่างๆ นั่นมาทดสอบและพัฒนา การคิดเชิงออกแบบจึงถูกนํามาประยุกต์ใช้ใน ฐานะ
“เครื่องมือ” “วิธีการ” หรือ “วิธีคิด” ที่มีการคิดวิเคราะห์ในปัญหาที่เกิดขึ้นมากขึ้น รู้อย่างถี่ถ้วน ถ่องแท้
ละเอียด มีวธิ กี ารในการแก้ไขปัญหาทเี่ ป็นลำดับ และรอบด้าน มองวธิ ีการแกป้ ัญหาหลากหลายมุมมอง และทำให้
สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การคิดเชิงออกแบบยังก่อให้เกิดการคิดแบบสร้างสรรค์ใน
รูปแบบใหม่ ท่ีจะนำมาคดิ วเิ คราะหแ์ ก้ปัญหา หาแนวทางทม่ี ากกว่าสิ่งทีต่ นเองคุน้ เคย ตลอดจนสร้างนวตั กรรมใหม่

จากความสำคัญของการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ที่ใช้เปน็ เครื่องมอื หรอื วธิ คี ดิ และ
การดำเนินชีวิตในยคุ ศตวรรษ 21 ซึ่งเป็นกลุม่ คนที่ได้ช่ือว่าเกิดพร้อมกับการใช้ Digital Native เป็นเครื่องมือใน
การขยายความรู้ ฉะนั้นบทบาทของครูและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะมีหลักสูตร
สำหรับพัฒนาทักษะการคิดเชิงออกแบบสำหรัยเยาวชนในระบบโรงเรียน สำหรับสร้างให้นักนวัตกรเพื่อไป
ออกแบบและสรา้ งสรรค์สังคมให้นา่ อยู่

2. แนวทางการจัดการความรู้
2.1 การถอดความรู้
จากขอ้ มูลขา้ งตน้ ในฐานะเปน็ นกั การศกึ ษาตระหนกั เห็นความสำคญั ของการพฒั นทกั ษะการ

คิดเชงิ ออกแบบให้แก่นกั เรยี นในระบบโรงเรยี น ดว้ ยหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการ
สอนคิด จงึ มคี วามสนใจศึกษาหารปู แบบแนวคิดในการพัฒนาทกั ษะการคิดเชิงออกแบบ ท่สี อดคล้องและเหมาะ
กับบริบทของเยาวชนไทย จากเอกสารงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ งไดเ้ สนอไว้สอดคลอ้ งกันคอื แนวคิดของ Stanford
Design School (Institute of Design at Stanford ) เป็นตน้ แบบในการออกแบบกจิ กรรมการสอนการคิดเชงิ
ออกแบบ โดยใชบ้ ทเรียนจากชมุ ชนเปน็ สอ่ื ในการเรยี นรแู้ ละพัฒนาทกั ษะคดิ เชิงออกแบบ
ซงึ่ ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ตอน

29

ขั้นท่ี 1 ทำความข้าใจปัญหา (Empathize ) เปน็ การลงพืน้ ทศี่ ึกษา ค้นหา เก็บรวบรวม
ข้อมูลจากผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ งโดยเฉพาะกลมุ่ เป้าหมาย เพ่อื ให้เข้าใจเกี่ยวกบั สภาพ ปญั หา ความต้องการ ความจำเป็น
ในการดำเนนิ ชีวิต การประกอบอาชีพ การทอ่ งเท่ียว การค้าขาย เป็นตน้ รวมถงึ สภาพสงั คม สภาพทางภูมศิ าสตร์
ของโรงเรียนและชมุ ชนประกอบเพือ่ ใหไ้ ดป้ ัญหาและความตอ้ งการทถ่ี ูกต้อง ด้วยวธิ กี าร สอบถาม สัมภาษณ์
สังเกตพฤติกรรม

ขั้นที่ 2 ระบุปัญหา (Define) เป็นการตีความวิเคราะห์นำขอ้ มูลที่ไดเ้ รียนรู้จากข้นั ตอน
การทำความเข้าใจปญั หาของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อระบุปญั หาความต้องการท่ีแท้จรงิ คอื อะไร โดยใช้ข้อมูลภาพรวม
และมมุ มองของกลุ่มเป้าหมายมาจัดกลุ่มและหาความสมั พนั ธ์ในแต่ละกลมุ่ กอ่ น เพ่ือให้ง่ายตอ่ การวิเคราะห์ จึงทำ
สรุปปัญหาหรอื ความต้องการที่สำคญั เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้ วธิ กี ารเรียนรู้ ศาสตร์

ข้ันท่ี 3 หาแนวทางแก้ปญั หา (Ideate) เปน็ การระดมแนวคิด วิธกี าร“ออกแบบชีวิต”
“ออกแบบชุมชน” “ออกแบบผลิตภัณฑ์” จากหลากหลายแนวทาง เพื่อให้ทีมงานได้เห็นและนำมาจัดกลุ่ม
ความคิด และร่วมกันเลือกสิ่งที่ทีมงานคิดว่านำไปสู่การสร้างต้นแบบ“ออกแบบชีวิต” “ออกแบบชุมชน”
“ออกแบบผลติ ภณั ฑ์” ในขั้นต่อไป

ขน้ั ที่ 3 สร้างตน้ แบบ (Prototype) เปน็ การนำแนวคดิ และวิธีการที่ไดม้ าพิจารณาเลือก
แนวคิด รูปแบบ องค์ประกอบ วัสดุอุปกรณ์ วิธีการพัฒนา “ออกแบบชีวิต” “ออกแบบชุมชน” “ออกแบบ
ผลิตภัณฑ์” ที่สอดคล้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย พร้อมลงมือดำเนินการยกร่าง“ออกแบบชีวติ ” “ออกแบบ
ชุมชน” “ออกแบบผลิตภัณฑ์” ตามองค์ประกอบ และนำไปตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นโดยผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ
หรอื กลุม่ เป้าหมาย กอ่ นนำไปศกึ ษาความเปน็ ไปได้โดยการทดลองในขน้ั ตอ่ ไป

ขั้นที่ 4 ทดสอบ (Test) เป็นการนำต้นแบบ“ออกแบบชีวิต” “ออกแบบชุมชน”
“ออกแบบผลิตภัณฑ”์ ที่สร้างข้ึนไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ หลังการทดลอง นำข้อมูลมา
พิจารณาข้อบกพร่องของต้นแบบหลักสูตรและนำมาปรับปรุงแก้ไขต้นแบบ“ออกแบบชีวิต” “ออกแบบชุมชน”
“ออกแบบผลิตภัณฑ”์ เพื่อใหไ้ ด้หลกั สูตรท่สี มบรู ณ์

2.2 การรแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
เมือ่ ไดร้ ปู แบบการนักคดิ เชงิ ออกแบบที่เน้นชุมชนเปน็ ฐาน นำเสนอคณะทำงานเพ่อื รว่ มกัน

วิเคราะห์ความเป็นไปได้ จากการจัดการความรู้ร่วมกันจึงได้ ได้ออกแบบหลักสูตรคา่ ยสร้างนักคิดเชิงออกแบบที่
เน้นชุมชนเป็นฐานสำหรับนักเรียนโรงเรียนเจ็ดสีวิทยาที่มีเนื้อหา 1) การเรียนรู้ชุมชน ได้แก่ แผนที่เดินดิน
ผังเครือญาติ โครงสร้างองคก์ รชุมชน ระบบสขุ ภาพชมุ ชน ปฏิทนิ ชมุ ชน ประวตั ศิ าสตร์ชุมชน และ ประวัติชวี ิต
และ 2) การคิดเชิงออกแบบกับการเรียนรู้ชุมชน เป็นหลักสูตรในการเสริมสร้างทักษะในแก่นักเรียน ใช้เป็น
แนวทางนวัตกรรมการสอนคดิ ทกั ษะชีวติ สำหรัยการเผยแพรต่ อไ่ ป

2.3 การนำไปใช้
นำหลกั สตู รค่ายสร้างนกั คดิ เชิงออกแบบท่เี นน้ ชมุ ชนเป็นฐานสำหรับนักเรียนโรงเรยี นเจด็ สี

วิทยาไปพัฒนาทกั ษะการคิดเชงิ ออกแบบ และการเรยี นรู้ชุมชน ในรูปแบบคา่ ย 2 วัน โดยมีกิจกรรมการลงชุมชน
เน้นการเรียนรู้ผ่านการฝึกปฏิบัติจริง ในชุมชน จากการถอดบทเรียน ในกิจกรรม Open House นักเรียน

30

สามารถนำเสนอผลการเรยี นรู้ โดยจดั ทำฐานข้อมูล ประวัตปิ ราชญ์ ภมู ปิ ัญญาชมุ ชน จำนวน 18 คน ร่วมถึงการ
ทำแผนท่ที ่องเทีย่ วชุมชน จำนวน 6 เส้นทาง น้ันก็แสดงใหเ้ หน็ วา่ นักเรียนได้เรยี นรู้ชมุ ชน และได้ฝึกฝนการเป็นนัก
คิดเชงิ ออกแบบ

2.3 การบำรุงรักษา
คณะทำงาน นำความรูท้ ี่ ไดท้ บทวนความถูกตอ้ งและเพม่ิ ความสะดวกใหแ้ ก่ผู้ใชโ้ ดยการ

เพม่ิ เติมเทคนคิ การใช้คำถาม และตวั อยา่ งประเด็นในชมุ ชนในการสืบค้นความรู้ จดั ทำเปน็ เอกสารคมู่ ือ เผยแพร่
ให้แก่ผ้ทู ่ีสนใจนำไปใช้

3. ผลลพั ธ์การจดั การความรู้
1. ได้นวตั กรรมหนึ่งท่ใี ชเ้ ป็นแนวทางในการเรียนการสอนหรือเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ และทักษะ

การคิดในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการคดิ เชงิ ออกแบบ
2. ไดแ้ นวทางในการออกแบบรายวชิ าสำหรบั นกั ศกึ ษาครสู ำหรยั คณะครศุ าสตร์
2.1 ควรบรรจุในรายวิชาวชิ าชพี ครู เช่น รายวิชาออกแบบการเรยี นการสอน สำหรับเปน็

บทเรยี นให้นกั ศึกษาไดเ้ รียนรเู้ พ่อื นำไปจดั กิจกรรมสำหรบั นกั เรียน หรือ
2.2 จัดอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการตามความเหมาะสมหรือโอกาส
2.3 บรรจใุ นกิจกรรมค่ายอาสา

บทสรุปส่งท้าย จากการจัดการความรู้ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่
21” (ภายใตโ้ ครงการบรู ณาการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษ
ที่ 21) พบว่า กิจกรรมทุกกจิ กรรมประสบผลสำเร็จต่อการพฒั นาครูและนกั เรยี นเปน็ ไปตามเปา้ หมาย และส่งผล
ต่อการบูรณาองค์ความรู้ระหว่างโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง เชื่อมโยงสู่การมีส่วนร่วมของคณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อรุ ธานี ตอ่ การยกระดบั คุณภาพการศึกษาใหแ้ กท่ ้องถน่ิ ดงั ปณฺ ธิ านของ สถาบนั อดุ มศกึ ษาของ
เพื่อการพฒั นาชุมชน

31

รายชื่อผ้เู ขา้ รว่ มโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

32

33

ภาคผนวก

▪ ประมวลภาพกิจกรรม “การจัดการความรูภ้ ายใตโ้ ครงการพฒั นาทกั ษะการคดิ สำหรบั ผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21”

34

ประมวลภาพกจิ กรรม

“การจดั การความรู้ภายใต้โครงการพัฒนาทักษะการคดิ สำหรบั ผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21”

กิจกรรม KM: ถอดบทเรียนผา่ นการนำเสนองานของนักเรยี น

35

MOU: ร่วมแรงร่วมใจ โรงเรยี น ราชภัฏ และชุมชน

36

สรปุ ผลการดำเนินงานคนื ขอ้ มลู สู่พนื้ ที่

37

ครแู ละชมุ ชนรว่ มแสดงความรสู้ กึ ตอ่ โครงการ

38

นักเรยี นนำเสนอผลงานทเี่ กิดขึน้ จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตลอดโครงการ

39

นำเสนอแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในชมุ ชนผา่ นคลปิ ทสี่ รา้ งขึน้ เอง

40

นำเสนอแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในชมุ ชนผา่ นคลปิ ทสี่ รา้ งขึน้ เอง

41

ตวั แทนนักเรยี นเลา่ สิง่ ทเี่ ปลย่ี นแปลงในตัวเองหลังเข้าร่วมกจิ กรรม
ตัวแทนคณะดำเนินงานรับของท่รี ะลกึ จากโรงเรียน

42

ผลงานนำเสนอแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในชุมชน

43

ผลงานนำเสนอแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในชุมชน


Click to View FlipBook Version