The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางงาน Microsoft Excel 2010

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ameh.nooyok0808, 2021-03-28 08:46:51

การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางงาน Microsoft Excel 2010

การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางงาน Microsoft Excel 2010

การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมตารางงาน

MICROSOFT EXCEL
2010

ประเภทของสูตร

การใช้สตู รและฟังก์ชนั ของโปรแกรม จะต้องมีความเขา้ ใจพน้ื ฐานของการใชง้ าน
สตู รและฟังกช์ นั โดยโปรแกรมจัดหมวดหม่เู พื่อให้มคี วามเขา้ ใจและใชง้ านได้ง่ายดงั น้ี

โปรแกรม Excel แบง่ ชนดิ ของสูตรออกเปน็ 4 ประเภทคือ
1.สตู รในการคานวณทางคณติ ศาสตร์ (Arithmetic Formula)

2.สูตรในการเปรียบเทียบ

3.เคร่อื งหมายในการเช่ือมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านนั้ (Text Formula)
4.สตู รในการอา้ งองิ (Text Formula)
ลาดับขอ้ มลู ในสูตร

หมายเหตุ : ในกรณที ี่สรู มีเครื่องหมายมากกว่าหน่ึงการคานวณจะอาศยั การ
เรียงลาดับในการคานวณกอ่ นหลงั ดังต่อไปนี้ เอกซ์โพเนนเชียลการคณู และการ
หาร การบวกและการลบแตถ่ ้าตอ้ งการเปล่ยี นลาดับการคานวณให้ใส่วงเล็บครอบ
ส่วนทตี่ อ้ งการคานวณกอ่ นเชน่
 2*2+2-2 มีค่าเทา่ กับ 4
 2*(2+2)-2 มคี า่ เทา่ กับ 6 เพราะตอ้ งเอา 2 บวกกบั 2 กอ่ นซงึ่ ไดค้ า่ เทา่ กบั 4

แล้วจึงนาคา่ 4 ไปคูณกบั 2 จะได้ 8 แล้วจงึ นา 2 ไปลบออกจะได้ค่า 6

วิธกี ารปอ้ นค่าสตู ร
เราสามารถคานวณค่าตัวเลขโดยวิธการสร้างสูรทาได้โดยการเลอื กเซลล์ท่ี
ต้องการให้ผลลัพธป์ รากฏในเซลล์นน้ั แล้วป้อนเคร่ืองหมายเทา่ กับ (=) แลว้ ตาม
ด้วยตวั เลขท่ีใช้ในการคานวณหรือตาแหนง่ ของเซลลท์ ่เี ก็บค่าของข้อมูลทีเ่ ป็นตวั
เลขที่ใช้ในการคานวณและเคร่อื งหมายทางคณติ ศาสตรเ์ ช่น

การคานวณโดยใช้สตู ร
การคานวณใน Microsoft Excel 2010 มีข้นั ตอนดังนี้
1. พมิ พ์เครอื่ งหมาย =
2. อ้างองิ เซลล์
3. พมิ พเ์ ครอื่ งหมายในการคานวณ

ตัวอยา่ งแสดงการใช้สูตร

ประเภทฟังกช์ ันและฟงั กช์ นั ทใ่ี ช้งานบอ่ ย

ประเภทของฟงั กช์ นั
ฟงั กช์ นั ในการคานวณท่ีใชง้ านสามารถแบง่ ประเภทไดด้ งั น้ี

1. ฟังกช์ นั ทางคณิตศาสตร์
2. ฟังกช์ นั ทางตรรกศาสตร์
3. ฟังกช์ นั ท่ีเกี่ยวกบั วนั ที่
4. ฟังกช์ นั ท่ีเก่ียวกบั เวลา
5. ฟังกช์ นั ท่ีเกี่ยวกบั การเงิน

6. ฟังกช์ นั ท่ีเกี่ยวกบั ตวั อกั ษร
7. ฟังกช์ นั ทางสถิติ
8. ฟังกช์ นั ในการคน้ หาขอ้ มลู
9. ฟังกช์ นั ทางดา้ นวศิ วกรรม
10. ฟังกช์ นั ในการจดั การฐานขอ้ มูล

ฟงั ก์ชันทีใ่ ช้งานบอ่ ย

ในโปรแกรม Microsoft Excel 2010 จะมฟี ังกช์ ันมากมายและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้งาน
ในดา้ นตา่ งๆ รวมทง้ั งานท่สี ลบั ซอ้ นไดเ้ ป็นอยา่ งดี การใช้งานจะทาได้อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ ใน
ทีน่ ้จี ะอธบิ ายเฉพาะฟงั กช์ นั ทีใ่ ชง้ านบอ่ ยๆ ดงั น้ี
1. SUM(การหาผลรวมของขอ้ มูล)
2. SUMIF (การหาผลรวมแบบมีเงื่อนไข)
3. MIN (การหาคา่ ต่าสดุ ของจานวน)
4. MAX (การหาค่าสงู สดุ ของจานวน)
5. AVERAGE (การหาคา่ เฉลยี่ ของข้อมลู )
6. COUNT (การนบั จานวนข้อมลู ทเี่ ป็นเฉพาะตวั เลข)
7. COUNTA (การนับจานวนขอ้ มูลทเ่ี ป็นทัง้ ขอ้ ความและตัวเลขปนกนั )
8. COUNTIF (การรบั จานวนข้อมลู แบบมีเง่ือนไข)
9. IF (การหาคา่ จรงิ หรอื เทจ็ จากเงอ่ื นไขที่ระบุ)
10. NOW (การหาวนั ทแ่ี ละเวลาปัจจบุ นั )
11. TODAY (การหาวนั ทีป่ จั จบุ นั
12. VLOOKUP (การค้นหาและแสดงขอ้ มลู )

การอ้างอิงเซลล์

ในการคานวณในโปรแกรม Microsoft Excel 2010 จะต้องมกี ารคัดลอกสูตรหรอื ฟังกช์ ัน
โดยการอ้างองิ เซลล์ 2 แบบ คอื การอ้างอิงแบบสมั พทั ธ์ (Relative reference) และการอ้างองิ
แบบสัมบูรณ์ (Absolute reference) โดยมวี ิธีการปฏบิ ัตดิ ังน้ี

การอา้ งองิ แบบสัมพทั ธ์ (Relative reference)
เป็นการคัดลอกสตู รทีเ่ กดิ ขึ้นใหมต่ ามตาแหนง่ ของเซลลโ์ ดยอตั โนมตั ิผลลพั ธ์ที่ได้จะ

เปลี่ยนไปตามตาแห่งของแถวและคอลัมน์ เชน่ เม่ือผ้ใู ช้มกี ารใช้สตู รในการคานวณแบบสัมพทั ธ์
โดยที่ D3 ใหท้ าการใส่สูตรคือ =B2*C2 เมอ่ื ทาการคดั ลอกสูตรนไี้ ปท่ี D2 สตู รกจ็ ะเปลี่ยนเปน็
=B3*C3 ใหโ้ ดยอตั โนมัติ การคดั ลอกสูตรนัน้ สามารถทาไดท้ ้ังตามแนวตั้ง (Column) และตาม
แนวนอน (Row)

คัดลอกสตู รโดยนา MousePointer ไปวางยังตาแหนง่ ดา้ นล่างขวา
ของเซลลน์ ้นั เมื่อ Mouse Pointer เปลีย่ นเป็นรปู เคอร์เซอร์ ทา

การลากเมาสเ์ พ่ือคดั ลอกสูตร

การอ้างอิงแบบสมั บรู ณ์ (Absolute reference)
เป็นการอา้ งอิงถงึ เซลลใ์ ดเซลล์หนงึ่ เปน็ หลักหรือกลุ่มหนึ่งจะใช้เคร่อื งหมาย ($) ในการ

กาหนด โดยจะใส่นาหนา้ ตวั อกั ษรกากบั คอลัมน์หรอื เลขกากับแถวการอา้ งอิงแบบนีจ้ ะเป็นการ
อ้างอิงเซลลเ์ ดิมไมว่ ่าจะยา้ ยการทางานไปท่ีเซลล์ใดก็ตามเช่น = $D$2 (หากต้องการใส่
เครอ่ื งหมาย $ ให้อตั โนมัตใิ ห้กดแบบ F4

ทเี่ ซลล์ D2 ใส่สตู ร =B2*C2 จากนัน้ ใหก้ ดปุ่มฟงั ขันก์ F4 จะเป็นการตรึงค่าเซลล์ C2
จากนน้ั ให้ทาการคดั ลอกสูตร เซลล์ B2 จะเปล่ียนแปลงไปเป็น B3 และ B4 ส่วนเซลล์ C2 จะ
คงทไี่ มไ่ ดเ้ ปลยี่ นแปลงไปเมอ่ื ทาการคัดลอกสูตร

หมายเหตุ :
 กด F4 จานวน 1 ครง้ั จะไดผ้ ลดงั นี้ =$C$2
 กด F4 จานวน 2 ครั้งจะได้ผลดงั น้ี = C$2
 กด F4 จานวน 3 ครง้ั จะได้ผลดงั นี้ = $C2
 กด F4 จานวน 4 ครัง้ จะไดผ้ ลดังน้ี =C2 (จะกลับมาเปน็ เหมือนเดมิ )

การคานวณโดยใช้ฟังกช์ ัน

การกาหนดฟงั กช์ ันดว้ ยตนเอง
เปน็ การพมิ พส์ ูตรในการคานวณลงไปเองในเซลลโ์ ดยมวี ิธีการปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. คลกิ เลอื กเซลล์ท่ีต้องการจะใส่สตู รและพมิ พเ์ ครอ่ื งหมาย = และตามดว้ ยฟงั กช์ ันท่ี

ตอ้ งการคานวณเชน่ = SUM (ชว่ ง
ของกล่มุ เซลล์ที่ตอ้ งการคานวณ)
กดป่มุ Enter

2. คัดลอกสูตรแนวนอนต้งั
แต่เซลล์ D2:D6

3. พิมพ์สตู รผลรวมแนวตั้ง
=SUM (D2:D6) ทเ่ี ซลล์ D7

การเขียนฟังกช์ นั โดยใช้เทบ็ Formulas (สูตร) เลือกปมุ่ คาสงั่
Insert Function (แทรกฟังก์ชัน)

การใชป้ มุ่ คาสั่ง Insert Function (แทรกฟังกช์ นั ) ส่วนใหญผ่ ใู้ ชจ้ ะใช้เมื่อจาหังก์ชันไม่ได้
หรอื ไม่คอ่ ยใช้ฟังก์ชันน้ันบอ่ ยๆ โดยมวี ธิ ีการปฏบิ ัติดังนี้

1. คลิกเลอื กเซลล์ท่ีตอ้ งการใส่ฟังกช์ ัน
2. คลิกท่ปี ุ่มคาส่ัง Insert Function (แทรกฟังกช์ นั ) หรอื กด Shift+F3 จะปรากฏ
Dialog Box โดยมีรายละเอียดดังนี้

> Search for a function : เลอื กฟงั ก์ชนั โดยการคน้ หาจากคาท่ีตอ้ งการ
> Or select a category : หรอื เลือกประเภทของฟงั ก์ชนั
> Select a function : เลอื กรปู แบบฟังก์ชนั ที่ต้องการคานวณ
3. คลกิ ท่ปี ่มุ OK
4. ท่ชี อ่ ง Number1 ในโปรแกรม Microsoft Excel 2010 จะใสช่ ่อื ของเซลลม์ าให้โดย
อัตโนมัติถา้ ไมต่ รงหรือไม่ถกู ตอ้ งตามทตี่ ้องการให้ใชเ้ มาสค์ ลิกเลอื กเซลลท์ ่ีจะนามาคานวณหรือ
พิมพ์ดว้ ยตนเอง
5. หากยงั มกี ารคานวณอกี ก็ให้ใสใ่ นช่องถดั ไปอาจจะใชว้ ธิ ีการพมิ พ์ช่ือเซลลห์ รอื การใช้
เมาส์คลิกเลือกเซลลเ์ องกไ็ ด้
6. คลิกท่ีปมุ่ ok

ผลลพั ธ์ที่ได้

แบบฝกึ ปฏบิ ัติการใชฟ้ ังก์ชัน min max average
1. ใหผ้ ู้เรยี นพิมพข์ อ้ มูลตามแบบฟาร์มทีก่ าหนดให้

2. ช่องรวมคะแนน E3 ใหน้ ักเรียนปอ้ นฟังก์ชัน =SUM(B3:D3) ทาการคัดลอกสตู รจาก
E3:E6

3. ชอ่ งคะแนนเฉล่ีย F3 ใหป้ อ้ นสูตร =E3/3 ทาการคดั ลอกสูรจาก F3:F6
4. ช่องคะแนนตา่ สดุ ป้อนฟงั ก์ชันท่ีเซลล์ E7=MIN(E3:E6) ทเ่ี ซลล์ F7=MIN(F3:F6)
5. ชอ่ งคะแนนสงู สุดป้อนฟังกช์ นั ที่เซลล์ E8=MAX(E3:E6) ทเี่ ซลล์ F8=MAX(F3:F6)
6. ชอ่ งคะแนนเฉลยี่ ปอ้ นฟังก์ชนั ที่เซลล์ E9 =AVERAGE(E3:E6) ทเ่ี ซลล์ F9=AVERAGE
(F3:F6)
7. ตรวจสอบผลลัพธ์ท่ไี ด้
แบบฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใชฟ้ งั กช์ ัน IF กรณมี ีเงอ่ื นไขช้นั เดยี ว
1. ใหผ้ เู้ รียนพิมพข์ อ้ มูลตามแบบ
ฟอรม์ ที่กาหนดให้
2. กาหนดเง่ือนไขในช่องหมาย
เหตุดังน้ี

> ถา้ คนื วสั ดุครบตามท่เี บกิ
ให้แสดงขอ้ ความว่า ครบ ในช่องหมายเหตุ

> ถ้าคนื วัสดไุ มค่ รบตามทเี่ บกิ
ใหแ้ สดงขอ้ ความว่า ไม่ครบ ในช่องหมายเหตุ

ข้ันตอนการปฏิบตั ิ
1. ทช่ี อ่ งหมายเหตุให้ใสเ่ งอ่ื นไขดงั รปู
ในเซลล์ E3
2. ทาการคดั ลอกสตู รทีเ่ ซลล์ E4:E7
3. ตรวจสอบผลลัพธ์ท่ีไดด้ งั รปู

4. ให้ผเู้ รียนทดลองเปล่ียนตัวเลขใน
ช่องคืน แล้วตรวจสอบหมายเหตวุ า่ ตรงกับ
เงือ่ นไขที่กาหนดไวห้ รือไม่

แบบฝึกปฏบิ ัตกิ ารใชฟ้ ังก์ชนั IF กรณีมี
หลายเงื่อนไข

1. ให้ผเู้ รียนพมิ พข์ อ้ มลู ตาม
แบบฟอร์มท่ีกาหนดให้

2. กาหนดเง่ือนไขค่านายหนา้ ดังน้ี
ยอดขายมากกวา่ 90000 ได้ 5%
ยอดขายมากกวา่ 50000 ได้ 3%
ยอดขายมากกว่า 20000 ได้ 2%

3. รวมรายรับ = ยอดขาย+ค่า
นายหน้า

ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
1. ทช่ี ่องคา่ นายหนา้ คลิกทเี่ ซลล์ C3
แล้วพิมพเ์ งอื่ นไขดังนี้
=IF(B3>20000,B3*2%,IF(B3>50000,B3*
3%,IF(B3>9000,B3*5%,0)))
2. ทาการคดั ลอกสตู ร C3:C5
3. ทช่ี อ่ งรวมรายรับให้พิมพส์ ตู ร
=B3+C3
4. ทาการคัดลอกสตู ร D3:D5
5. ตรวจสอผลลัพธ์ทีไ่ ด้

แบบฝกึ ปฏบิ ัติการใช้ฟังก์ชัน Count CountA CountIf
1. ให้ผเู้ รยี นพิมพ์ขอ้ มลู ตามแบบฟอร์มที่กาหนดให้
2. ใหผ้ ูเ้ รียนพิมพ์ฟงั กช์ ันทกี่ าหนดใหใ้ นเซลล์ D7 D8 D9 และ D10 ลงในเซลล์ C7 C8 C9

และ C10
3. ตรวจสอบผลลพั ธ์ที่ได้

แบบฝึกปฏบิ ัติการใช้ฟงั กช์ นั Vlookup
1. .ให้ผเู้ รยี นพิมพ์ขอ้ มูลตามแบบฟอรม์ ทก่ี าหนดให้
2. ที่เซลล์ C2 ปอ้ นฟังก์ชนั VLOOKUP ดงั รปู
3. ทาการคัดลอกสตู ร C2:C6
4. เปลย่ี นคะแนนรวมของแต่ละคน สังเกตการณเ์ ปล่ียนแปลงทช่ี อ่ งเกรด

แบบฝกึ ปฏบิ ัติการการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล
ใหผ้ เู้ รยี นพมิ พ์ตามรปู แบบทกี่ าหนดให้

1. เซลล์ C3:C7 กาหนดใหค้ ลกิ เลอื กรายการชอ้ มูล ชายหรือหญิง
2. เซลล์ E3:E7 กาหนดให้คลิกเลือกรายการข้อมลู ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท
และปรญิ ญาเอก
3. เซลล์ D3:D7 กาหนดใหข้ อ้ มลู ทปี่ อ้ นตอ้ งมคี ่าระหวา่ ง 15 – 60 ถา้ ไม่อยู่ในเง่ือนไขจะ
ไมส่ ามารถป้อนข้อมูลได้และมขี ้อความเตอื นความผิดพลาด และเมือ่ คลิกท่เี ซลล์ใดเซลลห์ นงึ่
ระหว่าง D3:D7 จะปรากฏกล่องขอ้ ความข้ึนมาดังรูป

4. เซลล์ F3:F7 กาหนดให้ข้อมูลที่
ป้อนตอ้ งมคี ่าระหว่าง 7000 – 20000 ถ้า
ไมอ่ ย่ใู นเงอื่ นไขจะไม่สามารถป้อนข้อมูลได้
และมขี อ้ ความเตอื นความผอดพลาด และ
เม่ือคลกิ ทเ่ี ซลล์ใดเซลล์หน่งึ ระหวา่ ง F3:F7
จะปรากฏกลอ่ งข้อความขึ้นมาดังรูป

ข้นั ตอนการปฏิบัติ
1. คลิกเลือกท่เี ซลล์ C3:C7 เลอื กท่ี
เมนู Data (ช้อมูล) เลอื กที่ Data
Validation (การตรวจสอบความถกู ต้อง)

2. จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Data Validation (การ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล) ทแ่ี ทบ็ Setting (การ
ตัง้ แต่) ให้กาหนดค่าดงั รปู

3. คลิกเลอื กที่เซลล์ E3:E7 ขั้นตอนการทาเหมอื นกบั ข้อ 1 และข้อ 2 เลอื กที่เมนู Data
(ข้อมูล) เลอื กท่ี Data Validation (การตรวจสอบความถูกตอ้ ง) เมอ่ื ปรากฏหน้าต่าง Data
Validation (การตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู ) ทแี่ ท็บ Setting (การต้งั ค่า) ในชอ่ ง Allow
(อนุญาตให)้ ให้คลิกเลอื ก List (รายการ) และในชอ่ ง Source (แหล่งข้อมูล) ใหพ้ ิมพ์ข้อมูลลงไป
ดงั น้ี ปวช., ปวส., ปรญิ ญาตร,ี ปรญิ ญาโท, ปรญิ ญาเอกระหวา่ งขอ้ มลู จะตอ้ งใสเ่ ครื่องหมาย ,
(Comma)

4. คลกิ เลือกทเี่ ซลล์ D3:D7 ท่เี มนู Data (ข้อมลู ) เลือกที่ Data Validation (การ
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง) จะปรากฏหน้าตา่ ง Data Validation (การตรวจสอบความถูกตอ้ งของ
ข้อมูล) ทแี่ ท็บ Setting (การต้งั คา่ ) ให้กาหนดค่าดงั รปู

5. ทแี่ ท็บ Input Message (ข้อความที
ใส)่ พมิ พ์ข้อมลู ดังรูป

6. ทแ่ี ทบ็ Error Alert (การแจ้งเตอื น
ขอ้ ผิดพลาด) พมิ พข์ ้อมลู ดงั รปู

7. คลกิ เลือกทเ่ี ซลล์ F3:F7 ขน้ั ตอนการ
ทาเหมือนกับขอ้ 4 ถงึ ข้อ 7 เลือกท่เี มนู Data
(จอ้ มลู ) เลือกท่ี Data Validation (การ
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง) เม่ือปรากฏหนา้ ตา่ ง
Data Validation การตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ของข้อมลู ) ทแ่ี ท็บ Setting (การตง้ั คา่ ) ใน
ช่อง Allow (อนญุ าตให)้ ใหค้ ลกิ เลอื ก Whole
number (จานวนเตม็ ) ในช่อง Data (ข้อมลู )
ใหค้ ลิกเลือก between (อยู่ระหว่าง) ในชอ่ ง
Minimum (คา่ น้อยทส่ี ดุ ) ให้ใส่ตัวเลข 7000
ในชอ่ ง Maximum (คา่ มากทส่ี ุด) ให้ใสต่ ัวเลข
20000

8. คลกิ ทแี่ มบ็ Input Message (ข้อความที่ใส่) ท่ีช่อง Title (ช่ือเร่อื ง) พิมพ์ขอ้ มลู ป้อน
เงินเดอื นที่ช่อง Input Message (ข้อความที่ใส่) พิมพ์ข้อมลู วา่ ระหวา่ ง 7000 – 20000 บาท

9. คลิกทแ่ี ท็บ Error Alert (การแจง้ เตือนขอ้ ผดิ พลาด) ที่ช่อง Style (ลกั ษณะ) ให้คลกิ
เลอื กเป็น Stop (หยุด) ทช่ี อ่ ง Title (ชอื่ เรื่อง) พิมพข์ ้อมลู ว่า ขอ้ มลู ผิด ท่ีช่อง Error Message(
การเตือนขอ้ ผดิ พลาด) พิมพ์ขอ้ มูล กรณุ าป้อนเงนิ เดือนใหมอ่ ีกครัง้

แบบฝกึ ปฏิบตั ิการการจัดรปู แบบตามเงื่อนไข (Conditional Formatting)
 การจัดรปู แบบตามเงือ่ นไขตามแบบท่กี าหนด

ใหน้ กั เรียนพิมพ์ตามรูปแบบทีก่ าหนดให้
1. ทช่ี อ่ งจานวนเงนิ ใหป้ อ้ นค่าสูตร = ยอดขาย * @ และทาการคัดลอกสูตรท่ีเซลล์ E3:E11
2. ท่ีช่อง VAT 7% ใหป้ อ้ นค่าสูตร =จานวนเงิน * VAT 7% (=E3*$F$2) คัดลอกสตู รโดย
ใช้การอา้ งองิ เซลลแ์ บบสมั บูรณ์
3. เซลล์ C3:C11 กาหนดารจดั รูปแบบ
เงอ่ื นไขแบบ Data Bars ไล่โทนสีนา้ เงิน
4. เซลล์ F3:F11 กาหนดการ
จัดรูปแบบเงื่อนไขแบบ Color Scales ไล่
โทนสีเขียวเหลอื ง

ขนั้ ตอนการปฏิบัติ
1. คลกิ เลือกทีเ่ ซลล์ C3LC11 เลอื ก
ที่เมนู Home เลือกที่ Conditional
Formatting >Data Bars >Blue Data
Bar

2. คลกิ เลอื กทเี่ ซลล์ E3:E11 เลอื กทีเ่ มนู Home เลอื กที่ Conditional Formatting
>Icon Sets >Ratings >5 Ratings

3. คลิกเลอื กทเ่ี ซลล์ F3:F11 เลอื กทเ่ี มนู Home เลือกที่ Conditional Formatting
>Color Scales >Green – Yellow Color Scale

 การจัดรูปแบบตามเงอ่ื นไขโดยกาหนดเง่อื นไขเอง
ใหน้ ักเรียนพมิ พต์ ามรปู แบบทก่ี าหนดให้
1. เซลล์ C4:C8 กาหนดปอ้ นคา่ ตวั เลขได้ไม่เกิน 8 ถา้ เกินใหป้ รากฏสเี ขยี วอ่อนในเซลลน์ ้นั

และทาตวั เลขเปน็ ตัวหนาสีเขยี วเข้ม
2. เซลล์ D4:D8 กาหนดป้อนค่าตัวเลขไดไ้ มเ่ กนิ 4 ถ้าเกินให้ปรากฏสีแดงอ่อนในเซลลน์ ัน้
3. เซลล์ I4:I8 กาหนดป้อนค่าตัวเลขระหวา่ ง 350-400 ให้แสดงเป็นตัวเลขสีแดง

ขน้ั ตอนการปฏิบัติ
1. คลกิ เลอื กทเี่ ซลล์ C4:C8 เลอื กที่
เมนู Home เลอื กท่ี Conditional
Formatting >Highlight Cells Rulles
>Greater Than
2. จะปรากฏหน้าต่าง Greater Than
ให้กาหนดค่าดังรปู แลว้ คลกิ ปุ่ม OK

3. การกาหนดคา่ ล่วงเวลาให้ป้อนได้
ไม่เกิน 4 เลือกที่เซลล์ D4:D8 เลือกทเ่ี มนู
Home เลือกท่ี Conditinal Formatting
>Highlight Cells Rulles>Greater Than

4. จะปรากฏหน้าตา่ ง Greater Than
ให้กาหนดค่าดังรูปแลว้ คลกิ ปุม่ OK

5. คลกิ เลือกทเี่ ซลล์ I4:I8 กาหนด
ปอ้ นคา่ ตวั เลขระหวา่ ง 350 – 400 ให้แสดง
เป็นตัวเลขสแี ดง เลอื กทเี่ มนู Home เลอื ก
ท่ี Conditional Formatting >Highlight
Cells Rulles> Between ดงั รูป

6. จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Between ให้
กาหนดค่าดังรปู แล้วคลิกปมุ่ OK

หมายเหตุ : การกาหนดรปู แบบเองสามารถ
ทาได้โดยเลอื กที่ Custom Format… จะ
ปรากฏหน้าต่าง Format Cells ให้ทาการ

จัดรปู แบบตามตอ้ งการ

 การคานวณช้ามแผน่ งาน หมายเหตุ : เมือ่ ต้องการยกเลกิ การ
ใหผ้ ูเ้ รยี นพมิ พ์ข้อมูลตามแบบฟอรม์ ที่ รวมกลมุ่ ใหค้ ลิกที่แผ่นงานอน่ื หรือคลิก
ขวาแลว้ เลือกคาสงั่ Ungroup sheets
กาหนดให้โดย
1. เปลยี่ นช่ือ Sheet 1 เปน็ Store 1,

Sheet2 เปน็ Sheet2,Sheet 3 เป็น Store All
เปลย่ี นสีแผ่นงาน

2. คลกิ เมาสท์ ี่แผน่ งาน Store 1 กดปุ่ม
Shift บนแปน้ พมิ พ์พรอ้ มคลิกท่ีแผน่ งาน Store
All พมิ พ์ขอ้ มลู พรอ้ มตีเส้นขอบดงั รปู (การคลกิ
เลือกแผ่นงานท่ตี อ้ งการทางานใหเ้ หมือนกนั เลือก
แผ่นงานต้นทาง กดปุ่ม Shift แล้วกดแผน่ งาน
ปลายทางเป็นรวมกลมุ่ แผ่นงาน เม่ือทางานทแี่ ผ่น
งานใด แผ่นงานอื่นจะมขี อ้ มลู และรูปแบบ
เหมือนกนั )

3. เปล่ยี นสแี ผน่ งานทัง้ 3 แผน่ งาน
4. แก้ไขขอ้ มูลและสขี องเซลล์ตามแผน่ งาน

5. คานวณขา้ มแผ่นงาน โดยคลิกเลือกทีแ่ ผ่นงาน Store All นาผลรวมของสินคา้ เก้าอน้ี วม
จากแผน่ งานท่ี 1 (Store 1) รวมกับสินคา้ แผ่นงานที่ (Store 2) ดังน้ี

5.1 คลิกเลอื กท่ี Store All ในเซลล์
C3 ป้อนเครอ่ื งหมาย =

5.2 คลกิ เลอื กท่แี ผน่ งานท่ี 1 (Store
1) คลกิ เลอื กทเ่ี ซลล์ C3 กดเคร่อี งหมาย +

5.3 คลิกเลือกท่ีแผน่ งานท่ี 2 (Store 2) คลกิ เลือกทเี่ ซลล์ C3 แล้วกดปมุ่ Enter หน้าจอจะ
กลับมาแสดงที่หน้าแผน่ งาน Store All โดยอัตโนมัติ

6. จากหนา้ แผน่ งาน Store All ให้คดั ลอกสตู รจากเซลล์ C3 ไปยงั C4:C6
7. ทชี่ อ่ งรวมเงินจากเซลล์ E3 ให้ทาตามข้ันตอน 5.1 ถงึ 5.3 โดยเลือกเซลล์ E3 แทน C3

ข้อผดิ พลาดทีอ่ าจเกิดข้ึนในการกาหนดฟงั กช์ ันและสูตร

ความผิดพลาดของสูตรคานวณ (Error Message) เมื่อมีการทางานเก่ียวกบั สูตรหรือ
ฟงั กช์ ันถ้าป้อนค่าไม่ถกู ต้องโปรแกรมจะแสดงข้อความแสดงวามผิดพลาด เพอ่ื ให้แกไ้ ขให้ถูกต้อง

สรปุ

การใชส้ ตู รและฟังก์ชนั ของโปรแกรม Microsoft Excel 2010 ในงานประเภทตา่ งๆ ตอ้ งมี
ความเขา้ ใจคาสง่ั เครอ่ื งมือ สูตรและฟังก์ชัน เพื่อนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
โปรแกรมแบ่งประเภทของสตู รเป็นสตู รในการคานวณทางคณติ ศาสตร์ สูตรการเปรยี บเทยี บ
สูตรในเการเชื่อมขอ้ ความและสตู รในการอ้างองิ และโปรแกรมยงั เตรียมฟังกช์ ันที่เปรียบ เสมอื น
สูตรสาเร็จท่ีได้จด้ เตรียมไว้แลว้ โดยแบง่ ตามการใชง้ าน


Click to View FlipBook Version