The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

e-book-dei-de-05

e-book-dei-de-05

ระวงั หนา้ เวบ็ หลอกลวง (Phishing)

Phishing (ฟชิ ชงิ่ พอ้ งเสยี งมาจากคำ� วา่
Fishing หมายถึงการตกปลาด้วยเหย่ือล่อ)
เปน็ การสรา้ งหนา้ เวบ็ ไซตป์ ลอมมาหลอกลวง
เพอ่ื เอาขอ้ มลู สว่ นตวั ของผใู้ ช้ ไมว่ า่ จะเปน็ ชอ่ื
ผใู้ ช้ รหสั ผา่ น หมายเลขบตั รเครดติ หรอื อน่ื ๆ
โดยจะสร้างหน้าเว็บเลียนแบบของจริงจน
แทบแยกไมอ่ อก แลว้ ดกั จบั การกรอกขอ้ มลู
ในหนา้ ปลอมนนั้ ซง่ึ มกั ปลอมไดแ้ นบ
เนียนจนผู้ใช้ที่ไม่ได้สังเกตจะไม่รู้เลย
วา่ เป็นหนา้ เวบ็ ปลอม

... Phishing คือการหลอกลวงใหไ้ ปยงั หนา้ เว็บปลอม

แลว้ ใหก้ รอกข้อมูลเพือ่ ดักจับเอาขอ้ มูลสำ� คญั ของคุณไป

p ตวั อย่างหน้าเว็บปลอมที่แอบอา้ งตัวเป็น Facebook สงั เกตท่ีอยขู่ อง
หน้าเวบ็ ของปลอม (ของจริงจะต้องขึ้นด้วย www.facebook.com...)

นอกจากการปลอมหนา้ เวบ็ แลว้ ยงั มกี ารปลอมอเี มลแ์ อดเดรส สง่ อเี มล์
แอบอา้ งเปน็ ผหู้ นง่ึ ผใู้ ดโดยสรา้ งเรอื่ งมาหลอกใหต้ ดิ กบั เชน่ หลอกใหไ้ ปยนื ยนั
ตวั ตนโดยคลกิ ลงิ คไ์ ปยงั หนา้ เวบ็ ทดี่ กั จบั การกรอกขอ้ มลู , หลอกใหไ้ ปเปลยี่ น
ชอ่ื ผู้ใชห้ รอื รหสั ผ่านโดยตอ้ งยืนยนั ช่ือและรหสั ผ่านเดมิ กอ่ น เป็นตน้

150

5ระวงั อนั ตรายจากการหลอกลวงรปู แบบต่างๆ CHAPTER

Facebook นั้นถูกน�ำไปแอบอ้างอยู่บ่อย
ครั้ง หลายคนท่ีใช้ Facebook อาจเคยพบกับ
ขอ้ ความแจง้ เตอื นใหค้ ลกิ ลงิ คเ์ ขา้ ไปยนื ยนั ตวั ตน
โดยกรอกชอื่ ผใู้ ชแ้ ละรหสั ผา่ น ซงึ่ เปน็ หนา้ หลอก
ลวงไม่ได้มาจาก Facebook จริงๆ ถา้ หลงเชอ่ื
แล้วกรอกไปก็อาจถูกเอาไปเปลี่ยนรหัสผ่านจน
ท�ำใหเ้ ข้าใช้ Facebook ของตวั เองไม่ได้

บางกรณีก็เป็นการแชร์ลิงค์จากเพ่ือนโดย
โดนหลอกให้แชรต์ ่อๆกนั มา เมื่อคลิกลงิ คเ์ ขา้ ไป
กแ็ สดงหนา้ ลอ็ กอนิ ปลอมของ Facebook ขน้ึ มา
หลอกให้กรอกช่ือและรหัสผ่าน เพื่อเอาข้อมูล
ล็อกอนิ ของเราไป

ป้ องกนั ตวั จาก Phishing

เม่อื จำ� เป็นตอ้ งกรอกขอ้ มลู สว่ นตวั ช่อื ผู้ใช้ หรอื รหสั ผา่ น ในหนา้ เวบ็ ใด
ให้ตรวจสอบทุกครั้งวา่ หน้านัน้ มีการรับรองและเข้ารหสั แบบ SSL (https)
อยู่หรือเปล่า (ดูหนา้ 85)

อีเมล์หรอื หนา้ เว็บที่แอบอา้ งเป็นธนาคารหรือสถาบนั การเงนิ โดยให้ไป
กรอกข้อมลู ยนื ยันตา่ งๆ จะเป็นของปลอมทง้ั หมด เนื่องจากทกุ ธนาคารไม่มี
นโยบายขอขอ้ มลู สว่ นตวั ของลูกคา้ ผ่านอเี มล์หรือหน้าเวบ็ ตา่ งๆ

ถ้าโดนหลอกใหก้ รอกช่อื ผ้ใู ช้และรหสั ผา่ นเข้าใชง้ านบริการบางอย่าง เช่น
Facebook ผไู้ ม่หวังดีอาจน�ำลอ็ กอนิ แลว้ เปล่ียนรหัสผา่ น ซงึ่ จะมีอีเมล์
แจ้งเตอื นมาท่คี ุณให้ยนื ยนั ถ้าได้อเี มล์ประเภทน้ีให้รบี ไปเปล่ียนรหัสผ่านที่
Facebook หรือบรกิ ารนั้นๆ ทันที (ดูใหแ้ นใ่ จก่อนนะวา่ อีเมล์ทใี่ ห้ยนื ยันนน้ั
เปน็ ของจรงิ และหนา้ เว็บที่เขา้ ไปกรอกกเ็ ป็นของจรงิ เชน่ มี https ตาม
ข้อแรก) โดยจะตอ้ งท�ำให้ทันกอ่ นทจ่ี ะโดนแฮกอีเมล์เข้ามายืนยนั การเปล่ยี น
รหัสผ่านไปด้วย และถา้ อเี มล์ของคณุ ใช้รหสั ผ่านเดยี วกบั Facebook กใ็ หร้ ีบ
เปล่ยี นรหสั ผา่ นของอเี มล์น้นั ด้วย (ดูเพิ่มหนา้ 81)

151

การหลอกลวงแบบ Pharming

นอกจาก Phishing แล้วยังมี Pharming ซึ่งเป็นการที่แฮกเกอร์
โจมตีเซริ ์ฟเวอรข์ องเวบ็ ตา่ งๆ หรือผใู้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ต โดยเปลยี่ นค่าท่ี
เซิร์ฟเวอรใ์ ห้สง่ ผทู้ เ่ี ขา้ เวบ็ นั้นดว้ ย URL ปกตไิ ปยงั หนา้ เว็บปลอมแทน (ตา่ ง
จาก Phishing ทจ่ี ะหลอกใหค้ ลกิ ลงิ คเ์ พอ่ื ไปยงั หนา้ เวบ็ ปลอม) ซงึ่ จดุ มงุ่ หมาย
ของ Pharming จะเหมอื นกบั Phishing คอื หลอกใหไ้ ปยงั หนา้ เวบ็ ทปี่ ลอมให้
เหมอื นกบั หนา้ เวบ็ จรงิ แลว้ ใหใ้ สช่ อ่ื ผใู้ ชแ้ ละรหสั ผา่ น หรอื กรอกขอ้ มลู สว่ นตวั
อื่นๆ เชน่ วันเดอื นปเี กิด หมายเลขบตั รเครดิต หรอื อ่ืนๆ แลว้ ดกั จับข้อมลู
ทกี่ รอกเอาไปกระทำ� การตา่ งๆ ที่อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผใู้ ช้งานทีต่ กเป็นเหย่อื

... Pharming คอื การแฮกเขา้ ไปทเ่ี ซริ ์ฟเวอร์ของเวบ็ หรอื ผใู้ หบ้ รกิ าร

อนิ เทอรเ์ นต็ แล้วเปลย่ี นค่าทเ่ี ซริ ์ฟเวอร์ใหส้ ง่ ผู้ที่เข้าเวบ็ นนั้ ดว้ ย URL
ปกตไิ ปยงั หน้าเว็บปลอมทท่ี ำ� ขึน้ เพ่ือดกั จบั ขอ้ มูล

p ตัวอยา่ งหน้าเวบ็ หลอกลวงทท่ี างธนาคารกสิกรไทยแจ้งเตอื นไว้

152

5ระวังอันตรายจากการหลอกลวงรูปแบบต่างๆ CHAPTER

สงั เกตรปู กญุ แจ (https) และช่ือเวบ็ จรงิ

p หน้าเวบ็ จริงของธนาคารกสกิ รไทย สงั เกตว่าไมม่ ปี ุม่ ให้ดาวนโ์ หลดอะไร

Pharming น้ัน
อันตรายกวา่ Phishing มาก เพราะเราเขา้ เวบ็
ตามปกตกิ ็อาจถูกสง่ ไปยงั หนา้ เว็บปลอมได้โดยไมร่ ตู้ ัว ซึ่ง
หนา้ เวบ็ ปลอมน้นั กม็ ักจะใช้ช่อื URL ที่สอดคล้องกับเว็บจริง
ให้สังเกตได้ยากย่ิงข้ึน ต่างกับ Phishing ที่ยังจะพอดูได้ง่าย
กว่าว่าอาจเป็นการหลอกลวงให้คลิกลิงค์ไปยังหน้าท่ีสร้างไว้
ดกั จบั ขอ้ มลู ฉะนน้ั กอ่ นทจ่ี ะกรอกขอ้ มลู สว่ นตวั ใดๆ ลงในหนา้ เวบ็
ควรตรวจดวู า่ เปน็ หนา้ เวบ็ ทเ่ี ขา้ รหสั แบบ https หรอื ยงั (ดหู นา้
85) และชอ่ื เวบ็ ทแี่ สดงในชอ่ งแอดเดรสของบราวเซอรม์ อี ะไร
น่าสงสัยหรือไม่ ถ้าไม่แน่ใจก็ไม่ควรเส่ียงท่ีจะกรอก
ข้อมูลใดๆ ลงไปในหน้าเว็บนนั้

153

หลอกให้ดาวนโ์ หลดโปรแกรม/แอพ

นอกจากการหลอกให้ใส่ข้อมูลส่วนตัวต่างๆ ในหน้าเว็บปลอมเพื่อขโมย
ข้อมูลไปแล้ว ยังมีการหลอกอีกรูปแบบหน่ึงคือ การหลอกให้ดาวน์โหลด
โปรแกรมหรือแอพลงในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือมือถือ โดยส่งอีเมล์
หรือ SMS มาแจ้งให้โหลด โดยเฉพาะแอพที่เก่ียวกับการท�ำธุรกรรมการเงิน
ต่างๆ โดยอาจหลอกว่าเป็นแอพของทางธนาคารเลย เม่ือเหยื่อหลงเช่ือก็จะ
โหลดมาติดตั้งในเครื่อง ซึ่งอาจจะดักจับข้อมูลส่วนตัว ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน
ที่กรอกขณะใช้งานแอพ หลังจากติดตั้งโปรแกรมหรือแอพเหล่าน้ันก็จะคอย
ดักจับข้อมูลต่างๆ ท้ังประวัติการเข้าเว็บ การคีย์ข้อมูล การกรอกชื่อ รหัสผ่าน
และอื่นๆ แล้วแอบส่งข้อมูลท่ีได้ออกไปยังภายนอกโดยที่เราไม่รู้ตัว ซึ่งข้อมูลน้ี
อาจถกู น�ำไปแอบอ้างทำ� การโอนเงิน ถอนเงนิ จากบัญชขี องเราได้

p ตวั อยา่ งหนา้ เวบ็ หลอกลวงใหด้ าวนโ์ หลดโปรแกรม
และแอพทท่ี างธนาคารกสกิ รไทยแจ้งเตือนไว้

154

5ระวังอันตรายจากการหลอกลวงรปู แบบต่างๆ CHAPTER

จริงหรือหลอก?
ตอบแบบสอบถามแล้วไดเ้ งนิ

งานตอบแบบสอบถามผ่านเน็ตจากที่พบเห็นมาก็มีท้ังที่ว่าหลอกลวงและ
ได้เงินจริง บางที่กว่าจะได้เงินอาจใช้เวลานาน ข้ึนอยู่กับนโยบายของแต่ละ
เว็บ โดยจะมีอยู่หลายเว็บด้วยกันซึ่งก็มีท้ังแบบสอบถามภาษาไทยและภาษา
อังกฤษ บางรายอาจให้ค่าตอบแทนเป็นเงิน (อาจให้เป็นเช็คหรือรับเงินผ่าน
Paypal) บางรายกใ็ หเ้ ปน็ บัตรกำ� นลั ต่างๆ โดยจะให้สมัครสมาชิก (บางเว็บฟร)ี
เพื่อเก็บข้อมูลเบื้องต้น จากนั้นระบบจะส่งแบบสอบถามที่ข้อมูลของคุณตรง
กับกลุ่มเป้าหมายของแบบสอบถาม ซ่ึงแต่ละแบบสอบถามจะมีกลุ่มเป้าหมาย
แตกต่างกันไป เช่น อายุไม่เกิน 30, มีรถยนต์ย่ีห้อท่ีระบุ, ใช้สมาร์ทโฟนรุ่นท่ี
ก�ำหนด เป็นต้น เมื่อตอบเสร็จก็จะได้รับเป็นคะแนน เม่ือท�ำหลายๆ คร้ังจนได้
คะแนนครบตามท่ีก�ำหนดก็สามารถน�ำไปแลกเป็นเงินได้

นอกจากการตอบแบบสอบถามแล้วยังมีการแนะน�ำให้คนอ่ืนมาสมัคร
สมาชกิ ทจี่ ะทำ� ใหไ้ ดค้ ะแนนเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ แตก่ ต็ อ้ งตรวจสอบโดยหาขอ้ มลู
ในเนต็ ดูก่อนวา่ เว็บไหนหลอกลวง เวบ็ ไหนให้เงินจรงิ ๆ

155

ยืนยันความเป็นตวั จรงิ ใน Social Media

แอคเคาท์หรือหนา้ เพจใน Facebook หรอื Social Media ตา่ งๆ ทัง้ ของ
คนดัง รา้ นคา้ หรอื องค์กรน้ัน จะมที ง้ั แอคเคาท์หรอื หนา้ เพจจรงิ ของบุคคลหรือ
องคก์ รนั้นซ่ึงจะเรยี กว่า Official และมีทแ่ี ฟนคลับท�ำขนึ้ มาเอง (มกั ลงท้ายด้วย
ค�ำให้สังเกตได้ เช่น Fan, Fan Page, FC หรืออื่นๆ) แม้แต่รายการโทรทัศน์
ภาพยนตร์ หรอื อืน่ ๆ กม็ กี ารทำ� Social Network เป็นของตวั เองด้วย ซึง่ กจ็ ะ
ปะปนกันเยอะแยะมากมายจนยากจะแยกออกว่าอันไหนเป็นหน้าเพจทางการ
หน้าไหนแฟนคลับท�ำข้นึ

ส�ำหรับ Facebook ถ้าเป็นบุคคลมีชื่อเสียงหรือเป็นองค์กรใหญ่ๆ ก็จะมี
การยืนยันว่าเป็นเจ้าของตัวจริงเสียงจริง หรือเป็นเจ้าขององค์กรหรือธุรกิจนั้น
จรงิ ๆ จะสงั เกตไดจ้ ากสัญลักษณ์ (Verified คือทาง Facebook ไดต้ รวจสอบ
แลว้ ว่าเปน็ ตวั จริง) ท่ีทา้ ยชอ่ื ในหน้าเพจ

เมื่อเขา้ ไปทีห่ นา้ เพจ จะแสดงสัญลักษณ์
ท้ายชอื่ ยนื ยันวา่ เปน็ เพจทางการของ

เร่อื งนน้ั จริงๆ

156

5ระวังอนั ตรายจากการหลอกลวงรูปแบบตา่ งๆ CHAPTER

การยืนยันหน้าเพจ
ของบุคคลที่มีชื่อเสียงน้ี Facebook จะเป็น
ผยู้ นื ยนั ใหอ้ ตั โนมตั ิ ซง่ึ คณุ ไมส่ ามารถรอ้ งขอใหม้ กี าร
ยืนยันเองได้ แต่สามารถแจ้งเพจท่ีปลอมเป็นตัวคุณ
แบรนด์ หรือธุรกจิ ของคุณได้ โดยเปิดหนา้ เพจนนั้
คลกิ เลอื ก รายงาน/บล็อก

ส�ำหรับหน้าที่เป็นของบุคคล ธุรกิจ หรือองค์กรที่ยังไม่มีการยืนยันจาก
Facebook กม็ กั จะต่อท้ายชื่อด้วยค�ำว่า “Official” เอาไว้ก่อนเพอ่ื แสดงใหท้ ราบ
ว่าเป็นหน้าของเจ้าของอย่างเป็นทางการ (แต่การเขียนค�ำว่า Official น้ีก็อาจ
ปลอมกนั ได้เชน่ กนั โปรดระวัง!)

157

การบอกต่อเร่อื งไมจ่ รงิ

อยากจะบอกว่าเด๋ียวนี้ได้เห็นหรือได้ยินอะไรก็ควรจะฟังหูไว้หูกันเสีย
ทุกอยา่ งเลยทเี ดียว โดยเฉพาะเรื่องราว ขา่ วสาร หรือขอ้ มลู ท่ไี ดร้ ับมาทาง
อนิ เทอร์เนต็ แต่ก่อนนม้ี ี Forward Mail ทส่ี ่งต่อๆ กันเปน็ ทอดๆ ทางอีเมล์
เดยี๋ วนีเ้ ปลีย่ นมาแชร์ผ่านเครอื ขา่ ย Social Network กันเป็นว่าเล่น ซ่ึงก็มี
ทั้งเรื่องจริงและไม่จริงปะปนกัน (ส่วนใหญ่จะไม่จริง) บางเร่ืองก็เขียนหรือ
ทำ� ภาพกราฟกิ เปน็ เรอื่ งเป็นราว อา้ งแหล่งที่มาซะนา่ เชือ่ ถอื

บางเรอ่ื งกม็ ผี รู้ ทู้ เ่ี ชอื่ ถอื ไดอ้ อกมาพสิ จู นแ์ ลว้ วา่ เปน็ เรอ่ื งไมจ่ รงิ แตเ่ รอ่ื ง
ดๆี ทเี่ ปน็ เรอื่ งจรงิ มกั ไมถ่ กู สง่ ตอ่ หรอื อาจเปน็ เพราะวา่ เรอื่ งหลอกลวงเหลา่ น้ี
ได้แพรก่ ระจายอยใู่ นเน็ตมานานมากแล้ว (บางเรื่องก็นานถึง 10 กวา่ ปแี ลว้
ก็มี) กว่าเร่ืองจริงจะกระจายไปท่ัวถึงเท่าก็คงจะต้องใช้เวลาอีกพอสมควร
ทำ� ใหย้ งั มกี ารสง่ ตอ่ หรอื แชรเ์ รอ่ื งราวหลอกลวงตอ่ ๆ กนั ไปอยา่ งไมม่ ที สี่ นิ้ สดุ

p ตัวอยา่ งข้อมลู ทแี่ ชร์กนั ไปทวั่ เนต็

158

5ระวงั อนั ตรายจากการหลอกลวงรูปแบบต่างๆ CHAPTER

p ขา่ วท่ีออกมาแก้ไขว่าเนอ้ื หาทีแ่ ชรก์ ันนั้นไม่เป็นความจริง

การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ในปจั จุบนั โดยเฉพาะ Social Network ต่างๆ นัน้ เรา
คงจะตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณใหม้ ากยง่ิ ขนึ้ กวา่ แตก่ อ่ น เพราะเดย๋ี วนขี้ า่ วสารกระจาย
ได้ไวมาก บางทีก็ขาดการกลั่นกรอง เม่ือคนนึงแชร์มาอีกคนก็แชร์ตามเป็น
ทอดๆ ต่อเนอื่ งไปเรอื่ ยๆ แถมไปไวยง่ิ กวา่ ไฟลามทุง่ ใช้เวลาไมน่ านก็รู้เรอ่ื งกัน
หมด เปน็ การสร้างกระแสไดอ้ ย่างรวดเร็ว ท�ำให้มีผไู้ ม่ประสงค์ดมี าใชช้ อ่ งทางน้ี
ในการเผยแพร่ข่าวสารเพ่ือประโยชน์ส่วนตัวได้ง่ายๆ เช่น แชร์เร่ืองราวดราม่า
ตา่ งๆ เพ่อื เรียกไลค์ (Like) หรือแชร์หน้าเพจ สรา้ งขา่ วลือ หรือสร้างกระแสให้
เพจตวั เองเพอ่ื หวงั ผลประโยชนต์ า่ งๆ นานา ฉะนน้ั คณุ จงึ ควรใชค้ วามระมดั ระวงั
อยา่ ตกเปน็ เครอ่ื งมอื ของคนเหลา่ นี้ ขอใหค้ ดิ ทบทวนดๆี กอ่ นทจ่ี ะแชรอ์ ะไรออก
ไป นอกจากนหี้ ากเรอ่ื งทแี่ ชรน์ น้ั ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี หายกบั บคุ คลอน่ื ยงั มคี วาม
ผดิ ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ (ดูหนา้ 177) ฐานนำ� เขา้ หรือเผยแพร่ขอ้ มูลอนั
เปน็ เทจ็ เขา้ สู่ระบบ รวมทงั้ อาจถูกผู้ทีเ่ สยี หายนั้นฟ้องคดหี มิน่ ประมาทอีกด้วย

159

ซื้อสนิ คา้ หรอื ทำ� ธุรกรรมออนไลน์
ใหป้ ลอดภัย

ปัจจุบันการซ้ือสินค้าหรือท�ำธุรกรรมผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมมาก
ขนึ้ เพราะใชง้ านงา่ ย สะดวกสบาย แตก่ ต็ อ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั เชน่ กนั สำ� หรบั
การซ้ือสินค้าออนไลน์ถ้าซื้อผ่านบัตรเครดิตที่ต้องกรอกข้อมูลบัตรเครดิตก็
ควรเป็นเว็บที่เช่ือถือได้ ถ้าไม่มั่นใจก็ควรหาข้อมูลจากในอินเทอร์เน็ตก่อน
ว่ามีใครมาโพสต์เตือนภัยเกี่ยวกับร้านนั้นหรือไม่ หรือเช็คกับทางธนาคาร
ผใู้ หบ้ รกิ ารกอ่ น รวมถงึ การซอื้ สนิ คา้ ทขี่ ายในหนา้ เพจ Facebook หรอื หนา้ เวบ็
ตา่ งๆ ท่ใี ห้โอนเงินกอ่ นสง่ ของ ซง่ึ กม็ ีข่าวที่ใหโ้ อนเงินแลว้ ปิดรา้ นหนีไปเลย
อยู่บ่อยๆ แล้วจะรู้ได้ยังไงว่าจะโดนหลอกหรือไม่ ค�ำตอบคือไม่มีทางรู้ได้
เลย แตก่ พ็ อจะมีวธิ ีป้องกันตัวไมใ่ หโ้ ดนหลอกได้อยูด่ ังน้ี

ถ้าจะกรอกขอ้ มูลบตั รเครดติ ต่างๆ กอ็ ยา่ ลมื เชค็ วา่ หน้าเว็บน้นั เป็น
ระบบ https หรอื เปลา่ ด้วย (ดูหน้า 85) เพือ่ ปอ้ งกันการดกั จบั
ข้อมลู จากแฮกเกอร์ ซึง่ หลายๆ เวบ็ นยิ มส่งภาระนไ้ี ปทห่ี นา้ เว็บของ
ธนาคารเจ้าของบตั รไปเลย ไมร่ บั ขอ้ มลู เอง อันนน้ั จะน่าเช่อื ถือกวา่
และอยากบอกวา่ บัตรเครดติ เป็นชอ่ ง
ทางที่ถกู โกงได้ยากกวา่ (ไม่นบั เวบ็
ปลอม) เพราะเวบ็ ทรี่ ับบตั รเครดิตได้
จะต้องถกู สถาบันการเงินตรวจสอบ
ในระดับหน่ึง

160

5ระวังอันตรายจากการหลอกลวงรปู แบบตา่ งๆ CHAPTER

หลีกเลี่ยงการซอ้ื สนิ คา้ ที่ราคาถูกเวอ่ ร์
อาจเป็นของขโมยมา ของปลอม ของด้อย
คณุ ภาพ ของมตี �ำหนิ ของใช้แล้ว หรือไมม่ ี
สินค้าจริง หลอกใหโ้ อนเงนิ แล้วชิง่

ตรวจสอบประวตั ิของรา้ นหรอื ผูข้ าย โดย
ค้นหาข้อมูลรา้ นนัน้ จากผู้ที่เคยซือ้ หรอื ใช้
บรกิ ารจาก Google ซึง่ มกั จะมผี ทู้ ถ่ี ูกหลอก
มาโพสตเ์ ตือนไว้ไมใ่ ห้ใครตกเปน็ เหย่ือเพิ่ม
โดยเฉพาะผ้ทู ี่โพสตข์ ายตามเว็บบอร์ดซ่ึง
ไมม่ ีหลักแหลง่ ทนี่ ่าเชื่อถือยงิ่ ต้องระวังให้
มาก หรือบางท่ี เช่น ebay จะมีประวตั ิ
ผ้ขู ายใหต้ รวจสอบได้ด้วย

การโอนเงนิ เป็นช่องทางท่ียงั นิยมกันมาก
แตค่ วามจริงช่องทางนอี้ ันตรายทส่ี ดุ เพราะ
ถ้าถูกหลอกก็จะตามตวั ผูร้ บั โอนและขอคนื
เงินไดย้ ากหากมีปญั หา

แม้ว่าจะเคยซ้ือกับทางรา้ นน้นั ๆ มากอ่ น
แลว้ กอ็ ยา่ เพ่ิงไวใ้ จ มีขา่ วทผ่ี ู้ขายหลอกให้
ตายใจ ครง้ั แรกๆ ก็ซือ้ ขายกนั ตามปกติ
พอซื้อยอดสูงๆ แลว้ ชง่ิ ไปเลยกม็ ี

แมว้ ่าจะบอกว่าเปน็ ร้านของดาราหรือ
ผมู้ ีช่ือเสยี งก็อย่าเพ่ิงหลงเช่อื เพราะเคยมี
กรณที ี่แอบอา้ งว่าเป็นคนดังเพอ่ื เรยี กลกู ค้า
เชน่ กัน

161

6CHAPTER

ระวงั ! แอพพลเิ คชนั่
อนั ตราย

อุปกรณ์สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตในปัจจุบันนั้นมีความ
สามารถมากมาย ท�ำงานต่างๆ ได้สารพัดรูปแบบ โดย
ใช้ท้ังโปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่นท่ีมีให้มากับเครื่อง
และดาวน์โหลดเพ่ิมจาก App Store (iOS) หรือ Play
Store (Android) ซึ่งแอพพลิเคช่ันที่ดาวน์โหลดมา
ติดตั้งเองน้ีก็ต้องเลือกดูดีๆ ด้วย โดยเฉพาะใน Play
Store ที่มักมีแอพไม่ดีปะปนอยู่ ซ่ึงถ้าแค่หลอกให้
ติดตั้งเฉยๆ คงไม่เท่าไหร่ แต่ถ้าเจอแอพประเภทท่ี
ดักจับการพิมพ์หรือข้อมูลส�ำคัญก็คงจะงานเข้าแน่ๆ

6ระวงั ! แอพพลเิ คช่ันอนั ตราย CHAPTER

ไวรสั และอนั ตรายต่างๆ

ปจั จบุ นั มีไวรัส (Virus), สปายแวร์ (Spyware), โทรจนั (Trojan) และ
โปรแกรมร้ายกาจ (malware) อยู่มากมาย (ในที่น้ีจะขอเรียกรวมๆ ถึงภัย
คกุ คามทไี่ มพ่ งึ ประสงคเ์ หลา่ นว้ี า่ ไวรสั ) ซง่ึ พรอ้ มทจี่ ะแทรกซมึ เขา้ มาในเครอ่ื งของ
ผ้เู คราะห์รา้ ยไดต้ ลอดเวลาทส่ี บโอกาส จุดประสงคใ์ นการทำ� ลายกแ็ ตกต่างกันไป
เชน่ ทำ� ลายหรอื กอ่ กวนระบบใหเ้ ขา้ ใชง้ านไมไ่ ด,้ แอบรนั โปรแกรมบางอยา่ งโดยไม่
ให้เจา้ ของรูต้ วั , ดักจบั ข้อมูลตา่ งๆ แลว้ สง่ ออกไปภายนอก, แอบดาวน์โหลดแอพ
โฆษณามาติดตงั้ อัตโนมตั ิ เปน็ ต้น

โดยส่วนมากมักจะติดไวรัสมาจากโปรแกรมท่ีดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต,
อีเมล์ที่แนบไฟล์มาด้วย หรือถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ก็ติดจากอุปกรณ์ท่ีเชื่อมต่อกับ
เคร่อื งอยา่ งแฟลชไดรวห์ รือ External Harddisk ซึ่งแต่เดมิ ไวรัสจะถกู สรา้ งมา
เพอื่ โจมตรี ะบบของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ (สว่ นมากเปน็ Windows) แตก่ เ็ รม่ิ พฒั นา
มาทส่ี มารท์ โฟนและแทบ็ เลต็ กนั แล้ว

“โ ท ร จั น ”
น้ันมาจาก Trojan horse หรือม้า
โทรจนั หรือเรียกอีกอยา่ งว่า มา้ ไม้เมอื งทรอย
เป็นม้าไม้ขนาดใหญ่ท่ีทหารกรีกออกอุบายท�ำขึ้น
แลว้ สง่ ไปเปน็ บรรณาการใหก้ บั เมอื งทรอย โดยภายใน
ตวั มา้ มที หารแอบซอ่ นอยู่ เมอื่ ชาวเมอื งหลงเชอ่ื แล้ว
ลากม้าเข้าไปในเมือง พอตกกลางคืนทหารก็ออกมา
จากมา้ ไมแ้ ลว้ เผาเมอื งทรอยเสยี วอดวาย โปรแกรม
ทไ่ี ดช้ อ่ื วา่ เปน็ โทรจนั กจ็ ะหลอกลวงผใู้ ชใ้ นลกั ษณะ
คลา้ ยๆ กนั คอื ใหผ้ ใู้ ชโ้ หลดไปตดิ ตง้ั ในเครอื่ ง
เองกอ่ นคอ่ ยแผลงฤทธิท์ หี ลงั

163

สำ� หรบั อุปกรณ์ iOS ทั้งมอื ถือ iPhone และแท็บเลต็ iPad น้ันปกติจะไม่
อนุญาตให้ผใู้ ชต้ ิดตัง้ แอพนอกเหนอื จากใน App Store ลงในเครือ่ งไดเ้ ลย ท�ำให้
ปลอดภยั จากสิง่ แปลกปลอมต่างๆ แต่ถ้าคุณเจลเบรค (Jailbreak) ซงึ่ เปน็ การ
เปิดชอ่ งที่ Apple ปิดเอาไว้ (ดูหน้าถัดไป) กเ็ ปน็ การเปดิ โอกาสใหไ้ วรสั เขา้ มาใน
เครือ่ งได้ง่ายขึ้น

สว่ นอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ Android นน้ั ปกตจิ ะไมอ่ นญุ าตใหต้ ดิ ตง้ั แอพทอี่ ยนู่ อกเหนอื
จากใน Play Store เช่นเดียวกัน แต่ก็สามารถที่จะเปิดฟังก์ชั่น Unknown
sources เพ่ือติดตง้ั แอพไดเ้ อง (ดหู นา้ 166) หลังจากติดตั้งแอพเสรจ็ แลว้ ก็
ควรปดิ ฟงั กช์ น่ั นไ้ี ว้ ถ้าไฟลน์ ัน้ มขี องแถม หรือมไี วรสั เข้ามาในชว่ งเวลานน้ั พอดี
ก็มโี อกาสทจี่ ะเกดิ ความเสียหายได้ นอกจากนี้การ ROOT เครือ่ ง Android (ดู
หนา้ ถดั ไป) ซงึ่ เปน็ การดดั แปลง OS คลา้ ยกบั การเจลเบรค กม็ คี วามเสยี่ งเชน่ กนั

ส�ำหรับ Android ก็มีเรื่องท่ีต้อง
ระมดั ระวงั อกี อยา่ งหนง่ึ คอื การดาวนโ์ หลด
แอพใน Play Store ซง่ึ คณุ อาจไปเจอแอพ
หลอกลวงท่ีโหลดมาแล้วกลายเป็นไวรัส
หรือโปรแกรมร้ายกาจได้ เนื่องจากแอพ
ใน Play Store มีจำ� นวนมากและยังไม่มี
การคัดเลือกแอพที่ดีพอ ท�ำให้มีแอพขยะ
หรือแอพหลอกลวงปะปนอยู่เป็นจ�ำนวน
ไม่น้อยเลยทเี ดยี ว

สำ� หรบั Windows Phone
ทางไมโครซอฟท์แจ้งว่าเป็น
ระบบปดิ ซง่ึ ไมอ่ นญุ าตใหต้ ดิ ตง้ั
แอพเองเช่นเดียวกับใน iOS
ทำ� ใหไ้ วรสั ไมส่ ามารถเขา้ มายงุ่
กบั ระบบได้

164

6ระวัง! แอพพลิเคชน่ั อันตราย CHAPTER

ปรับแตง่ เคร่อื งด้วยการ
เจลเบรคหรอื ROOT คืออะไร?

การเจลเบรค (Jailbreak) ใน iOS
และการ ROOT ใน Android คือการ
ดัดแปลงระบบปฏิบัติการ ให้สามารถ
ตดิ ตั้งแอพพลิเคชัน่ เสริมอน่ื ๆ ที่ไมม่ ใี น
Store ของระบบนั้นๆ รวมถงึ การเจาะ
ระบบ system ในเครอ่ื งและการติดตง้ั แอพทีไ่ มม่ ีใน App Store นอกจากนี้
ยังสามารถดัดแปลงหรือเปลี่ยน Theme ให้มีลูกเล่นตามสไตล์ท่ีคุณชอบ
ไดอ้ ีกด้วย

วธิ เี จลเบรคนน้ั จะตอ้ งรอใหน้ กั แฮกเกอรท์ ำ� การเจาะระบบ และพฒั นา
โปรแกรมมาแจกจ่ายให้ใช้กัน ซึ่งวิธีการเจลเบรคในแต่ละเวอร์ช่ันของ
เฟิร์มแวร์จะมีวิธีเฉพาะส�ำหรับเวอร์ชั่นน้ัน ไม่สามารถท�ำวิธีเดียวกันได้
เน่ืองจากทางแอปเปิลเองเมื่อออก iOS รุ่นใหม่ก็มักจะแก้ไขข้อผิดพลาด
โดยปิดช่องโหว่ท่ีใช้ในการเจลเบรคในรุ่นก่อนๆ ไป ท�ำให้การท�ำเจลเบรค
ตอ้ งหาวธิ ีใหม่ไปเร่อื ยๆ ตามเฟริ ม์ แวรใ์ หม่

การดัดแปลงเฟิร์มแวร์โดยการเจลเบรค
หรือ ROOT น้ันอาจท�ำให้เคร่ืองท�ำงานไม่
สมบรู ณเ์ หมอื นเครอ่ื งปกติ เชน่ เครอื่ งอาจคา้ ง
เปดิ ไมต่ ดิ แบตหมดเรว็ หรอื อนื่ ๆ และทส่ี ำ� คญั
คือเป็นการเปิดโอกาสให้ติดต้ังโปรแกรมท่ีมี
ความเสี่ยงสงู กว่าปกตไิ ด้ ผู้ใช้จึงควรหาขอ้ มลู
ใหถ้ ถ่ี ้วนกอ่ นทจ่ี ะเจลเบรคหรือ ROOT เครอื่ ง

165

ติดตัง้ แอพเองใน Android

นอกจากแอพบน Google Play Store แลว้ คณุ ยงั สามารถคน้ หาไฟลแ์ อพที่
ลงทา้ ยดว้ ย .apk (ซง่ึ อาจจะเปน็ แอพแจกฟรที พ่ี ฒั นาโดยนกั พฒั นาแอพและไมไ่ ด้
ลงทะเบยี นกบั Google เอาไว้ หรอื เปน็ ไฟลแ์ อพทเ่ี พอื่ นแชรม์ าให)้ ไดจ้ ากเวบ็ แชร์
ไฟลอ์ ยา่ ง 4shared.com, droidshare.com หรอื mediafire.com ฯลฯ มาตดิ ตงั้
เองได้ โดยสามารถดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าวจากบราวเซอร์ในอุปกรณ์มาเก็บไว้
ก่อน หรอื ก๊อปปีจ้ ากคอมพวิ เตอรม์ าก็ได้ แล้วไปต้งั ค่าใหร้ ะบบยอมรบั การตดิ ตั้ง
ไฟลจ์ ากแหล่งภายนอกเสยี กอ่ น

ปกตริ ะบบ Android จะปอ้ งกนั ไม่ให้ตดิ ตั้งแอพ .apk เอง เพอื่ ปอ้ งกันไวรัส
ไม่ให้เข้ามาในเคร่อื งไดโ้ ดยง่าย แต่ถ้าจ�ำเป็นต้องติดตงั้ แอพ .apk ดว้ ยตวั เอง ก็
ต้องเปิดให้เคร่ืองยอมติดต้ังไฟล์จากแหล่งภายนอกก่อน โดยไปท่ี การต้ังค่า
(Settings) เลื่อนไปที่ ระบบ (System) แตะ ระบบป้องกัน (Security) แลว้
แตะเลือก แหลง่ ที่ไมร่ ู้จัก (Unknown sources) ให้แตะ ตกลง (OK) เพ่ือ
อนุญาตใหส้ ามารถดาวน์โหลดและตดิ ตง้ั ไฟล์ตา่ งๆ โดยไมต่ ้องผ่าน Play Store

เม่ือติดต้ังแอพเสร็จแล้วให้มายกเลิกการติดตั้งไฟล์
จากภายนอกเพื่อป้องกันไวรัสด้วย โดยแตะยกเลิกการ
เลือก แหลง่ ที่ไม่รจู้ กั (Unknown sources) ถ้าจะติดต้งั
ไฟล์ .apk อีกคอ่ ยมาเลอื กใหม่ ไม่ควรเลอื กค้างไว้

166

6ระวงั ! แอพพลเิ คชัน่ อันตราย CHAPTER

1 1 เปดิ แอพจัดการไฟล์ เชน่ ไฟล์ส่วนตัว
2 (My Files) เปดิ ไปยังโฟลเดอร์ที่เกบ็
ไฟล์ .apk แล้วแตะเลอื กไฟลท์ ตี่ อ้ งการ
ตดิ ตงั้

2 แตะ การตง้ั ค่า (Settings) ไปตั้งค่าให้
ติดต้งั ไฟล์ .apk เองได้ ถา้ ไม่ขึน้ ค�ำเตือน
น้ีใหข้ า้ มไปขอ้ 3 เลย

34
3 แสดงข้อมลู การติดตั้งแอพ ให้แตะปุม่ ตดิ ต้ัง (Install) เพอื่

เร่มิ ตดิ ต้ังแอพ ใหร้ อสักครู่
4 แจง้ ให้ทราบเมื่อตดิ ตงั้ เสร็จ แตะ เปดิ (Open) เพื่อเปิดใช้งาน

แอพทนั ที หรอื แตะ เรยี บร้อย (Done) ปดิ หนา้ น้ี

167

ป้ องกนั ตัวจากไวรสั

การป้องกันตัวเองจากสิ่งแปลกปลอมไม่พึงประสงค์เหล่าน้ีท�ำได้
หลายวิธี โดยควรจะท�ำท้ังในคอมพิวเตอร มือถือ และแท็บเล็ต โดย
เฉพาะ Android

ติดต้ังโปรแกรมหรือแอพปอ้ งกัน
และกำ� จดั ไวรสั สปายแวร์ รวมถึง
ส่ิงแปลกปลอมอ่นื ๆ เช่น Line
Antivirus, Avira Antivirus Security,
McAfee Antivirus & Security เป็นต้น

หลงั จากติดต้งั โปรแกรมป้องกนั แลว้ จะตอ้ งอัพเดทข้อมลู
โปรแกรมเป็นประจ�ำเพอื่ ใหร้ ู้จักไวรสั ใหมๆ่ ซึ่งมเี พ่ิมขนึ้ ทกุ วนั
(มักท�ำให้อัตโนมัตอิ ยูแ่ ลว้ )

หลกี เล่ียงการเข้าเว็บใตด้ นิ อินดีท้ งั้ หลาย เวบ็ แจกโปรแกรม
แครก โปรแกรมเถ่อื น เพราะมคี วามเส่ยี งว่าจะได้ของแถมตดิ
มาด้วย

ไม่ดาวน์โหลดไฟล์ .apk (ไฟลต์ ดิ ตัง้ ของ Android) จากแหล่ง
ไมน่ ่าเช่ือถือเพราะอาจแถมไวรสั หรอื มัลแวร์มาด้วย

168

6ระวงั ! แอพพลเิ คช่นั อนั ตราย CHAPTER

ไมต่ ดิ ตง้ั แอพแปลกๆ ทีไ่ ม่รู้ทีม่ าที่ไป เช่น มี
กรณที ีข่ ้นึ มาแจ้งเตอื นระหว่างทอ่ งเวบ็
ว่าพบไวรัส ให้ตดิ ต้งั แอพ xxx เพอื่
กำ� จัด เปน็ การหลอกใหด้ าวนโ์ หลด
แอพนนั้ มาติดตั้ง แล้วกระท�ำการต่างๆ
เพื่อขโมยข้อมลู ส�ำคัญในเครือ่ งของคุณไป
(www.thaicert.or.th/alerts/user/
2013/al2013us007.html)

ส�ำหรับ Android ให้ยกเลิกการอนุญาตใหต้ ดิ ตง้ั แอพจากภายนอก
(Unknown sources) หลังตดิ ต้งั โปรแกรมจากไฟล์ .apk เสรจ็
แตล่ ะครัง้ อย่าเปิดคา้ งไว้ (ดูหน้า 166)

ไม่ใชเ่ ซยี นอยา่ เจลเบรค iPhone/iPad หรอื Root เคร่อื ง Android
เพราะมีขนั้ ตอนคอ่ นข้างยุ่งยาก และต้องท�ำอย่างระมดั ระวงั แถม
ทำ� แลว้ เครอ่ื งยงั จะมีความเส่ยี งตอ่ แอพอันตรายตา่ งๆเพ่ิมข้นึ ดว้ ย
ถา้ ไม่แน่ใจควรให้ร้านท่ีรับทำ� หรอื ปรึกษาผ้เู ช่ยี วชาญก่อน

ในข้ันตอนการตดิ ตั้งโปรแกรมอยา่ เพง่ิ รีบแตะ Next ไปเร่ือยๆ ให้ดู
รายละเอยี ดขนั้ ตอนและอา่ นเงอื่ นไขอยา่ งถถ่ี ว้ นกอ่ น เพราะบางที
อาจแถมสปายแวรม์ าใหด้ ้วย โดยเฉพาะโปรแกรมฟรที ง้ั หลาย

หมั่นสแกนไวรสั (ส�ำหรับคอมพวิ เตอร์) และต้ังใหส้ แกนอัตโนมตั ิ
เมอื่ เชื่อมต่ออปุ กรณ์ โดยเฉพาะแฟลชไดรว์ (Flash Drive) ทีเ่ ปน็
ตัวแพร่กระจายไวรสั ไดง้ ่ายมาก

169

แอพขยะและแอพหลอกลวง

App Store ของ Apple (iOS) น้ันจะมีระบบตรวจสอบแอพใน
ระดบั สงู จะไมค่ อ่ ยมพี วกแอพขยะหรอื แอพหลอกลวงมาใหเ้ หน็ เทา่ ใดนกั
ตา่ งกับ Play Store ใน Android ท่มี กั จะมแี อพไมพ่ ึงประสงค์ปะปนอยู่
บางแอพก็เขียนคุณสมบัติแอพให้ดูดีแต่พอโหลดมากลับไม่ให้ประโยชน์
อะไรรกเคร่ืองเปล่าๆ เช่น แอพ Virus Shield ซ่ึงขายในราคา 3.99
ดอลลาร์ หลอกลวงว่าช่วยสแกนไวรสั ไดโ้ ดยไม่เปลืองแบตเตอรีแ่ ละไม่มี
โฆษณา ท�ำให้ขายดีจนข้ึนอันดับหนึ่งใน Play Store อยู่ช่วงหน่ึง แต่
หลงั จากนน้ั มกี ารตรวจสอบพบวา่ เปน็ แอพขยะ โดยเมอ่ื เปดิ แอพเขา้ ไปก็
แจง้ วา่ สแกนไวรัสแลว้ แต่ความจรงิ ไมไ่ ดท้ �ำอะไรเลย ท�ำให้ Google ต้อง
คนื เงนิ ใหก้ บั ผทู้ ซี่ อ้ื แอพนน้ั ไป (ตวั แอพไมไ่ ดเ้ ปน็ ภยั แตห่ ลอกเงนิ ไปฟรๆี )

FAKE

ขา่ วจาก http://nakedsecurity.sophos.com/2014/04/22/google-refunds-android-users-
who-bought-fake-virus-shield-app/

170

6ระวงั ! แอพพลเิ คชน่ั อนั ตราย CHAPTER

นอกจากนย้ี งั มแี บบทบ่ี อกคณุ สมบตั ิ ชื่อแอพ AVG ของจรงิ
ไว้อย่างหน่ึงแต่ท�ำงานอีกอย่างหน่ึง เช่น ชือ่ แอพ AVG ของปลอม
แอพ AVG ปลอม (ตง้ั ชอื่ ใหส้ บั สนกบั แอพ
AVG ทเี่ ปน็ แอนตไ้ี วรสั ของจรงิ ) โดยหลอก p ตัวอย่างแอพ AVG ของจรงิ ตรวจพบ
ให้เช่ือว่าเป็นแอพแอนต้ีไวรัส แต่ความ วา่ ในอุปกรณ์ได้ตดิ ต้ังแอพ AVG ปลอม
จริงท�ำงานโดยขโมยข้อมูลส�ำคัญและต้ัง
ให้ส่งต่อ SMS จากเคร่อื งที่ตดิ ตง้ั แอพนัน้
กลบั ไปทเ่ี จา้ ของแอพหรอื แฮกเกอร์ โดยจะ
นำ� ขอ้ มลู ท่ขี โมยได้ไปใช้ในการท�ำธรุ กรรม
ออนไลน์ เมื่อธนาคารสง่ หมายเลขยนื ยนั
OTP มาใหท้ าง SMS ทโี่ ทรศพั ทเ์ หยอ่ื แอพ
กจ็ ะสง่ ตอ่ SMS นน้ั ไปยงั แฮกเกอร์ จากนน้ั
แฮกเกอร์ก็จะน�ำหมายเลข OTP นั้นไป
กรอกยืนยันการท�ำธุรกรรมได้โดยไม่ต้อง
มีเบอร์โทรศัพท์ของเหยื่อในมือเลย (ดู
เพิ่มที่ www.thaicert.or.th/alerts/
user/2013/al2013us007.html#1)

ป้ องกนั ตัวจากแอพขยะหรอื แอพปลอม

ดูจ�ำนวนผูใ้ ช/้ ผเู้ ขยี นคอมเมนต์ อ่านข้อความรีววิ จากผ้ทู ่โี หลดไปใช้
แล้ว จากนนั้ ค่อยตัดสนิ ใจว่าจะโหลดแอพน้นั หรอื ไม่

ถา้ เป็นแอพทช่ี ่ือเหมือนกับโปรแกรมท่ีมชี ือ่ เสยี ง ใหส้ ังเกตทช่ี ือ่
ผพู้ ัฒนาต้องตรงกับเจา้ ของโปรแกรม เชค็ กับเวบ็ เจา้ ของโปรแกรม
ดว้ ยว่ามบี น App Store หรือ Play Store จรงิ หรอื ไม่ บางทีมีแต่
ชือ่ ไมต่ รงแสดงว่าไมใ่ ชแ่ อพท่ีเจา้ ของท�ำเอง อาจมกี ารแอบอ้างได้
ใหต้ รวจสอบจากข้อความรีวิวหรือ Google Search

ไมต่ ดิ ตัง้ แอพท่ไี มร่ ทู้ ี่มา หรือโหลดจากเวบ็ ทไี่ มน่ ่าเช่อื ถอื โดยเด็ดขาด

171

มือถอื
หรอื แท็บเล็ตจะติดไวรสั จาก
คอมพิวเตอรไ์ ดห้ รอื ไม่?

ถ้าในคอมพิวเตอร์มีไวรัส เมื่อเช่ือมต่อมือถือหรือแท็บเล็ตจะติดไวรัส
ด้วยม้ัย? ขอบอกว่าไวรัสในคอมพิวเตอร์กับมือถือหรือแท็บเล็ตนั้นสร้างมาด้วย
โครงสรา้ งการเขยี นโปรแกรมคนละแบบกนั ซง่ึ จะทำ� งานไดเ้ ฉพาะบนระบบใดระบบ
หนงึ่ เท่านน้ั แม้แต่บน iOS กบั Android กย็ งั ใชว้ ธิ เี ขียนโปรแกรมท่แี ตกต่างกันเลย

แตถ่ งึ แมว้ า่ ไวรสั จะทำ� งานบนระบบอน่ื ไมไ่ ดก้ ใ็ ชว่ า่ จะตดิ ไวรสั ไมไ่ ด้ ถา้ เชอ่ื มตอ่
อุปกรณ์กับคอมพิวเตอร์ เคร่ืองจะมองอุปกรณ์เป็นเสมือนแฟลชไดรว์ ถ้าฝ่ายใด
ฝา่ ยหนง่ึ มไี วรสั กอ็ าจจะกอ๊ ปปต้ี วั เองไปไวใ้ นเครอ่ื งของอกี ฝา่ ย (ถา้ ไวรสั นนั้ มคี วาม
สามารถทจ่ี ะทำ� ได)้ สแตนบายดไ์ วพ้ รอ้ มทจ่ี ะตดิ ไปยงั อปุ กรณอ์ นื่ ๆ ทจี่ ะเชอื่ มตอ่ กนั
หลงั จากนกี้ เ็ ปน็ ได้ ถา้ ตดิ ไปยงั ระบบทไ่ี วรสั นนั้ ท�ำงานไดก้ จ็ ะเรม่ิ กระบวนการทนั ที

อย่างไรก็ตาม คุณควรท่ีจะติดตั้งโปรแกรมป้องกันและก�ำจัดไวรัสไว้ใน
คอมพวิ เตอร์ และอพั เดทขอ้ มลู ไวรสั เป็นประจำ� ดว้ ย เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ไี วรสั
ในเครื่อง และเมื่อเช่ือมต่ออุปกรณ์ภายนอกก็สามารถสแกนอุปกรณ์น้ัน

ป้องกันไม่ให้ติดไปยังอุปกรณ์และป้องกันไวรัสจากอุปกรณ์ไม่ให้
มาติดยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ด้วย เพ่ือยับย้ังการแพร่
กระจายของไวรัสต่างๆ

172

6ระวัง! แอพพลิเคชั่นอันตราย CHAPTER

มีภยั รา้ ยเกดิ ใหมท่ กุ วนั

เน่ืองจาก Android เป็นระบบปฏิบัติการท่ีใช้กันแพร่หลายมากท่ีสุดใน
สมารท์ โฟนและแทบ็ เลต็ ทง้ั รนุ่ ถกู สดุ ๆ ไปจนถงึ รนุ่ ทอ็ ปและยงั มสี ารพดั ยหี่ อ้ ถอื วา่
เปน็ เปา้ ใหญส่ ำ� หรบั ผทู้ ต่ี อ้ งการเจาะระบบเขา้ ไปโจมตหี รอื ขโมยขอ้ มลู สำ� คญั ตา่ งๆ
(เจาะระบบอนื่ ไมค่ มุ้ เหนอ่ื ย วา่ งน้ั ) ดจู ากรปู ดา้ นลา่ งซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู จาก F-Secure
ผผู้ ลติ ซอฟตแ์ วรร์ กั ษาความปลอดภยั และแอนตไ้ี วรสั รายหนงึ่ จะพบวา่ มผี พู้ ฒั นา
วธิ ีการโจมตีอุปกรณใ์ นระบบ Android ขน้ึ มาใหมเ่ รื่อยๆ เป็นจ�ำนวนมาก

p เปรียบเทยี บภยั คุกคาม (Threat) ใหม่ๆ ที่พบในระบบ
ปฏิบัตกิ าร Android, Symbian, Blackberrry, iOS และ
Windows Phone ในช่วง Q1-Q3 ของปี 2013

อ้างอิงจาก www.f-secure.com/static/doc/labs_global/
Research/Mobile_Threat_Report_Q3_2013.pdf

173

ซึ่งภัยคุกคามที่มีการตรวจพบในอุปกรณ์สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตใน Q3
ของปี 2013 พบว่าเปน็ โทรจนั ท่ชี อบแอบเขา้ มาลว้ งความลับเสยี มากถงึ 88%
เลยทีเดยี ว

เปรียบเทียบกับเปอร์เซ็นต์ของภัยคุกคามท่ีมีการตรวจพบในสมาร์ทโฟน
และแทบ็ เล็ตใน Q1 ของปี 2013 เปน็ โทรจนั เพยี ง 61.1% แสดงวา่ มีการเติบโต
ของโทรจันอยใู่ นระดบั สงู ขึ้นเปน็ อยา่ งมาก

อ้างองิ จาก www.f-secure.com/static/doc/labs_global/Research/Mobile_Threat_Report_Q3_2013.pdf
174

6ระวงั ! แอพพลเิ คชนั่ อนั ตราย CHAPTER

อา้ งองิ จาก www.mcafee.com/sg/resources/reports/rp-quarterly-threat-q4-2013.pdf

ข้อมูลจาก McAfee ผู้พัฒนาโปรแกรมป้องกันและ
กำ� จดั ไวรสั ชอื่ ดงั อกี รายหนงึ่ กแ็ จง้ วา่ ตง้ั แตช่ ว่ งปลายปี 2012
เปน็ ตน้ มา มโี ปรแกรมทเ่ี ปน็ ภยั คกุ คามหรอื ทเี่ รยี กวา่ มลั แวร์
(Malware) เกดิ ใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ (ขอ้ มลู แจง้ วา่ ในปี
2013 มมี ลั แวรเ์ กดิ ใหมถ่ งึ 2.4 ลา้ นตวั เพมิ่ ขนึ้ จากปี 2012
ถงึ 197% ทั้งนน้ี า่ จะนับในทุกระบบรวมกัน ทั้ง Windows,
สมารท์ โฟน และแท็บเล็ต)

175

7CHAPTER

Chat, Comment,
Like และ Share
อยา่ งไรใหป้ ลอดภยั

การเขียน Blog หรือสร้างเว็บไซต์ ท่ีให้มีการโพสต์เพ่ือ
แสดงความคิดเห็นในหน้าเว็บได้นั้นต้องระวังผู้อ่ืน
มาโพสต์ภาพหรือข้อความท่ีผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
เน่ืองจากเจ้าของเว็บหรือ Blog น้ันจะมีความผิดไป
ด้วย แม้แต่การแชทด้วยแอพต่างๆ กัน 2 คนก็ต้องระวัง
เรื่องการใช้ค�ำพูดด้วย เพราะอาจถูกจับภาพหน้าจอ
มาเปิดเผยได้เช่นกัน นอกจากนี้การใช้รูปภาพหรือ
ข้อความต่างๆ บนเว็บ ต้องระวังเร่ืองลิขสิทธิและการ
ให้เครดิตหรืออ้างอิงที่มาด้วย

7Chat, Comment, Like และ Share อย่างไรใหป้ ลอดภัย CHAPTER

ออนไลนอ์ ยา่ งไร
ไม่ใหผ้ ิด พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์

ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ในแต่ละประเทศจะ
มีกฏหมายควบคุม โดยมีข้อบัญญัติที่มีรายละเอียด
แตกต่างกันไป ส�ำหรับประเทศไทยจะใช้ พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ (ฉบับล่าสุดคือ พ.ศ. 2550) ซึ่งมี
ข้อที่ผู้ให้และผู้ใช้บริการต้องเกี่ยวข้องและควรทราบ พระราชบญั ญตั ิ
เพือ่ จะได้ใช้ความระมดั ระวงั ไมใ่ หก้ ระทำ� ผิด อาทเิ ชน่
วา่ ดว้ ยการกระทำ� ผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์
พ.ศ. ๒๕๕๐

การน�ำเขา้ ขอ้ มูลอันเปน็ เท็จ หรอื ก่อให้เกดิ ความเสยี หายหรอื เสอื่ มเสีย
ชือ่ เสียงตอ่ ผู้หนง่ึ ผใู้ ด ซึ่งรวมถึงการสง่ ต่อหรือแชรเ์ รอ่ื งเหล่านั้นตอ่ ๆ กันใน
ส่ือสังคมออนไลน์หรอื Social media เช่น เว็บบอรด์ Facebook และอ่ืนๆ
จดั เปน็ การกระทำ� ผิดตาม พ.ร.บ. นี้ ซ่ึงไมใ่ ชแ่ ต่เฉพาะผู้ท่ีเปน็ ต้นทางเท่าน้ัน
หากยงั รวมถงึ แตล่ ะคนท่สี ่งต่อๆ กนั ดว้ ย

แม้แตก่ ารเข้าไปโจมตี โต้แย้ง การกระท�ำดงั กลา่ ว เช่น เขา้ ไปตอ่ ว่าผู้ที่แชร์
ขอ้ มูลอันเปน็ การละเมิดเหล่านนั้ บน Facebook ก็อาจมผี ลในทางตรงขา้ มได้
เช่น กลับท�ำให้มีการแสดงข้อมูลดังกลา่ วใหเ้ หน็ กนั มากขึ้นไปอกี ทง้ั friend
ของฝ่ายผู้เสนอขอ้ มลู และผู้โตแ้ ยง้ ดังนนั้ ในกรณที ี่สงสยั วา่ อาจเปน็ ข้อมลู ที่
ไม่ควรเผยแพรต่ อ่ แทนที่จะโต้เถียงในหนา้ น้ันๆ โดยตรง อาจใชว้ ิธีแจง้ ไปยัง
ผู้ให้บริการ (เชน่ การ report ไปยัง Facebook) เพ่ือใหร้ ะงบั การเผยแพร่
ข้อมลู นน้ั ๆ แทน แต่จะได้ผลแค่ไหนก็ขนึ้ กับวา่ ผใู้ หบ้ รกิ ารนั้นๆ ยินดใี ห้ความ
รว่ มมือหรือไม่ เพราะบางรายเชน่ Facebook อาจไม่ได้เข้ามาตงั้ สำ� นักงานใน
ประเทศไทยหรอื อยู่ภายใตก้ ฏหมายไทย

การเผยแพรข่ ้อมลู อนั เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เชน่ อพั โหลดหนงั หรอื เพลง
ท่ลี ะเมิดลขิ สทิ ธิ์ข้ึนไปบนเว็บตา่ งๆ ผู้ให้บรกิ ารจะใชห้ ลักท่วี า่ ด้วย user-
generated content คอื เน้อื หาทสี่ ร้างโดยผใู้ ช้ ซึ่งไมส่ ามารถตรวจสอบได้
ครบถ้วน แตจ่ ะใชว้ ธิ ที เี่ รียกวา่ take-down notice คอื หากพบมีการละเมิด
ลขิ สิทธิ์ หรือรวมถึงการละเมิดในทางอืน่ ใด เชน่ ให้ข้อมลู เท็จ ท�ำให้เสือ่ มเสยี
หรอื หม่นิ ประมาท ผู้เสยี หายหรอื เจ้าของลขิ สทิ ธส์ิ ามารถท�ำเร่อื งแจ้งผใู้ ช้
บรกิ ารใหล้ บเนื้อหานนั้ ๆ ออกได้ ซ่งึ ผ้ใู ห้บริการจะต้องตรวจสอบและถ้าพบว่า
จรงิ ก็ตอ้ งด�ำเนินการตามท่ีถกู ร้องขอโดยเร็ว (ดเู พมิ่ เตมิ เร่ืองลขิ สิทธแ์ิ ละการ
อนุญาตให้ใชง้ านหรือ license ในแบบตา่ งๆ ในหัวข้อถดั ไป)

177

ตัวอย่างการกระท�ำที่มีความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระท�ำความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น

เข้าถึงระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ีมีมาตรการป้องกนั เอาไว้โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต
(แฮกระบบ) มโี ทษจำ� คุกสูงสุด 6 เดือน หรือปรบั ไม่เกิน 1 หม่ืนบาท หรือ
ทั้งจ�ำท้งั ปรบั

เขา้ ถงึ ขอ้ มลู คอมพิวเตอรท์ ่ีมีมาตรการป้องกันเอาไว้โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต
(ขโมยข้อมลู ) มีโทษจำ� คกุ สูงสุด 2 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 4 หมน่ื บาท หรอื
ท้ังจ�ำทั้งปรบั

ดกั จบั ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ของผอู้ ื่นด้วยวิธีการทางเทคนคิ ตา่ งๆ เพอื่ ดักฟัง
ตรวจสอบ ติดตามเนื้อหาของขา่ วสารท่สี ง่ ถึงกนั ระหว่างบคุ คล หรือแอบ
บนั ทกึ ขอ้ มูลที่อยรู่ ะหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเปน็ ข้อมลู
สว่ นบคุ คล ไมใ่ ชข่ ้อมลู สาธารณะ มีโทษจ�ำคุกสงู สุด 3 ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ
6 หมื่นบาท หรอื ท้ังจำ� ทั้งปรับ

โพสต์ข้อความเท็จเพอ่ื หลอกลวงผู้อ่านบนเว็บบอร์ดหรือสอ่ื สังคมออนไลน์
ต่างๆ รวมทงั้ การเผยแพรห่ รอื สง่ ตอ่ ข้อมลู ลามกอนาจาร/ข้อความเทจ็ ท่ีสง่
ผลกระทบต่อประเทศ หรือท�ำใหผ้ ้อู นื่ เสียหาย (เชน่ ส่งตอ่ ภาพโป๊หรอื คลิป
แอบถ่ายผ่านอีเมล์) มีโทษจ�ำคกุ สงู สดุ 5 ปี หรอื ปรับไมเ่ กิน 1 แสนบาท
หรือทัง้ จำ� ทัง้ ปรบั

ตดั ตอ่ ภาพของผ้อู น่ื ทำ� ให้ผอู้ ืน่ เสยี หาย มโี ทษจ�ำคกุ สงู สดุ 3 ปี ปรบั ไมเ่ กิน
6 หมืน่ บาท หรือทง้ั จ�ำท้งั ปรับ

จากตัวอยา่ งขา้ งตน้
อาจมีสง่ิ ทกี่ ระท�ำผดิ ไปโดยไม่ทนั ได้ระวังตวั
เช่น สง่ ต่ออีเมลท์ ีม่ ขี ้อมูลไมเ่ หมาะสม แชรภ์ าพ/คลิป
หลุดทท่ี ำ� ใหผ้ อู้ ่นื เส่ือมเสีย ส่งข้อมูลรบกวนการใชร้ ะบบ
คอมพวิ เตอรข์ องคนอืน่ (เช่น สแปมเมล์, ไวรัสคอมพวิ เตอร)์
น�ำรหสั ผ่านของผู้อื่นไปใช้แล้วเกิดความเสยี หาย หรือโพสต์
ข้อความแสดงความคิดเห็นโดยทไี่ มไ่ ตรต่ รองใหด้ ี สิ่งเหล่านเ้ี ม่อื
เกดิ ขนึ้ แลว้ กถ็ ือเป็นความผดิ ตาม พ.ร.บ. จงึ ควรใช้งานอย่าง
ระมดั ระวัง (ศกึ ษาข้อมลู เพิ่มเติมไดท้ ่ี www.mict.go.th
ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หรอื ICT)

178

7Chat, Comment, Like และ Share อย่างไรให้ปลอดภัย CHAPTER

ปทัญางหปัาญกญาราลอะเ่ืนมๆิดลบขิ นสอทิ นิ ธเ์แิทลอะรทเ์ นรัพต็ ย์สิน

ปัญหาอย่างหน่ึงที่ผู้ใช้อาจพบได้บ่อยในการสร้างงานหรือเผยแพร่เน้ือหา
บนอนิ เทอร์เนต็ คอื เรอ่ื งของการละเมิด ลขิ สทิ ธ์ิ (Copyright) และ ทรพั ย์สนิ
ทางปญั ญา (Intellectual Property) อน่ื ๆ ทั้งโดยจงใจและรู้เทา่ ไม่ถึงการณ์
ซ่ึงมีผลกระทบทั้งแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงาน ท่ีจะไม่ได้รับผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า
หมดกำ� ลงั ใจหรือทุนทจี่ ะสรา้ งผลงานใหมๆ่ ตอ่ ไป หรือในทางกลบั กนั ผูใ้ ชท้ ี่ขาด
ความเขา้ ใจไปกอ๊ ปปง้ี านของคนอนื่ มาเผยแพร่ กอ็ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาแกท่ ง้ั ตนเอง
หน่วยงานที่ท�ำงานให้ หรือผู้ให้บริการออนไลน์ที่เก่ียวข้อง เกิดความเสียหาย
กลายเปน็ คดคี วามฟอ้ งรอ้ งกนั ยดื ยาว ฯลฯ ดงั นน้ั ความรพู้ น้ื ฐานทถี่ กู ตอ้ งในเรอ่ื ง
นี้จงึ เปน็ ส่งิ จ�ำเป็นในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย

ตัวอย่างของงานลิขสิทธ์ิ กเ็ ช่น ขอ้ ความ ภาพถ่าย ภาพวาด วดิ โี อ หนงั
เพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานวรรณกรรมเช่นนิยาย ฟอนต์ (font) หรือ
โปรแกรมสรา้ งรูปแบบอกั ษร ฯลฯ

ปกติให้คิดง่ายๆ ว่าผลงานสร้างสรรค์ทุกอย่างท่ีเราเห็นบนเว็บ ถ้าไม่ได้มี
การบอกไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ “ไมส่ งวนลขิ สทิ ธ”์ิ หรอื ประกาศใหเ้ ปน็ ของสาธารณะ
(public domain) แลว้ ใหถ้ อื วา่ มลี ขิ สทิ ธห์ิ มด จะเอามาใชเ้ ลยไมไ่ ด้ ตอ้ งตรวจสอบ
จนแน่ใจก่อนว่ามีการอนุญาตให้น�ำไปใช้แบบใดบ้าง ไม่เช่นนั้นอาจถูกฟ้องเรียก
คา่ เสยี หายแพงๆ หรอื อย่างเบาะๆ กโ็ ดนบงั คบั ใหล้ บงานนน้ั ออก หรอื อาจโดน
ทัง้ สองอยา่ งก็ได้

รูปแบบการอนุญาต หรอื license ก็มีหลายแบบ ซึ่งพอจะอธิบายครา่ วๆ
ได้ดงั น้ี

COPYRIGHTED (C) สงวนลิขสทิ ธ์ิ

... อนั น้ีหา้ มเอาไปใช้อย่างเด็ดขาด นอกจากจะตดิ ต่อขออนญุ าตเปน็

ลายลกั ษณอ์ ักษร เช่นทางจดหมายหรอื อีเมล์ จากเจ้าของกอ่ น ซ่งึ จะ
อนุญาตโดยคดิ ค่าตอบแทนในเงื่อนไขอย่างไรก็แล้วแต่เจา้ ของ

179

ตรงนมี้ ีข้อยกเวน้ บางกรณี เช่น
หากเป็นการเอาไปใช้เพ่ือการอธิบาย แนะนำ� ถงึ งานนัน้ ๆ ว่าคืออะไร เป็น

อยา่ งไร เชน่ เอารปู ตวั การ์ตูนมาลงในเว็บ เพ่อื บอกว่า ตัวการ์ตูนชอื่ น้ี หนา้ ตา
แบบนี้ ใครเป็นคนวาด ใครเปน็ เจา้ ของลิขสทิ ธ์ิ อยา่ งน้ที �ำได้ แตถ่ า้ จะน�ำไปใช้ใน
กรณอี ื่นๆ ตอ้ งอยู่ภายใต้เง่ือนไขการใชง้ านอยา่ งเหมาะสมหรือ Fair Use ด้วย
เชน่ จะเอาไปสกรีนลงเสอื้ ยืดแจกหรอื ขายไม่ได้
ใช้เพ่ือการศึกษา การเรียนการสอน เป็นการใชต้ ามหลักการนำ� ไปใช้อยา่ ง
เหมาะสม (Fair Use) เชน่ เปิดหนงั หรอื เพลงใหน้ ักเรียนดใู นห้องเรียนเฉพาะ
บางสว่ น บางทอ่ น บางฉาก เพื่อใช้ในการสอน วิพากษ์วิจารณ์ ไม่ใช่เปิดให้ดทู ้งั
เร่ืองหรือเอาไปลงในเวบ็ แลว้ ให้เปิดดเู อง โดยอ้างวา่ เพื่อการสอน อยา่ งนไ้ี ม่ได้

CREATIVE COMMONS (CC)

หรือบางทเี รยี กว่า Copyleft (ลอ้ คำ� ว่า Copyright) เปน็ การอนญุ าตให้เอาไปใช้
หรือไปท�ำต่อยอดได้เป็นบางกรณี ซึ่งมเี งือ่ นไขปลีกยอ่ ยอกี เยอะ เชน่

ใช้ในทางการค้าได้หรือไม่ หรือได้เฉพาะแจกฟรี เช่นไปลงเวบ็ ให้อา่ นฟรีได้ แต่
ห้ามไปขายเป็นคลปิ อารต์ เพ่ือท�ำอยา่ งอ่นื ตอ่

ดัดแปลงไปใช้ในรูปแบบอ่ืนๆ ได้ หรือต้องใชต้ ามต้นแบบเทา่ น้นั เช่น หา้ ม
เอาภาพไปรที ชั หรอื ตกแตง่ เป็นรูปใหม่หรือรวมกบั รูปอนื่

งานท่ีเอาไปใช้จะต้องอนุญาตต่อในแบบเดียวกับท่ีอนุญาตไว้เดิม คอื ให้
คนอ่ืนเอางานนัน้ ๆ ไปท�ำต่อยอดไดอ้ กี ใชห่ รอื ไม่ (หา้ มเอาไปใชแ้ ล้วต้ังว่าเป็น
Copyright ของตัวเองใหม)่

กรณนี ต้ี อ้ งระบชุ อ่ื เจา้ ของงาน แหลง่ ทมี่ า พรอ้ มรปู แบบการอนญุ าตหรอื license
น้นั ๆ วา่ เจ้าของเดมิ อนญุ าตไวแ้ บบไหนดว้ ย เชน่ CC BY-SA 3.0 (ดูรายละเอยี ดเพิ่ม
ท่ี https://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/th)

PUBLIC DOMAIN ไมส่ งวนลขิ สิทธ์ิ

เป็นผลงานที่เจ้าของประกาศใหเ้ ป็นสาธารณะ จะเอาไปใชง้ านอะไรกไ็ ด้ แต่โดย
มารยาทแล้วก็ยังควรให้เครดิตหรือลงชื่อเจ้าของผู้สร้างผลงานก�ำกับไว้เสมอ และ
ห้ามน�ำไปแอบอ้างว่าเป็นงานของตนเองแล้วสงวนลิขสิทธิ์ใหม่ (นอกจากจะมีการไป
ดดั แปลง ประกอบ หรือท�ำเพมิ่ เติมใหแ้ ตกตา่ งออกไปแลว้ มากพอสมควร)

180

7Chat, Comment, Like และ Share อยา่ งไรให้ปลอดภัย CHAPTER

งานประเภทนี้รวมถงึ ขอ้ เท็จจรงิ (fact) เชน่ ขา่ วหรือเหตกุ ารณ์ (แปลว่าเอา
เรอื่ งทเี่ ปน็ ขา่ วไปบอกเลา่ ตอ่ ดว้ ยการเรยี บเรยี งใหมเ่ องได้ เพราะเปน็ ของสาธารณะ
แตจ่ ะเอาขอ้ ความทเ่ี วบ็ หนงั สอื พมิ พห์ รอื สอื่ รายหนงึ่ เขยี นขา่ วลงเนต็ ไปเผยแพรต่ าม
ต้นฉบบั เดิมทกุ ค�ำไมไ่ ดเ้ พราะอนั นั้นกลายเปน็ งานท่มี ลี ขิ สทิ ธิไ์ ปแล้ว)

สว่ นกฏหมาย ประกาศ หรอื ขอ้ มลู ของทางราชการทเี่ ผยแพรต่ อ่ สาธารณะ ถอื
เปน็ ข้อมูลที่ไม่มกี ารสงวนลิขสทิ ธิ์ สามารถน�ำไปเผยแพรต่ ่อได้

อนำ�ยภ่าลาพืมใหหร้เคอื รขด้อติความของผู้อ่นื ไปใช้

จากทกี่ ลา่ วมาในหวั ขอ้ กอ่ นหนา้ สรปุ ไดว้ า่ ภาพหรอื ขอ้ ความทเ่ี ผยแพรอ่ ยู่
บนอนิ เทอรเ์ นต็ นน้ั ไมว่ า่ จะใสช่ อื่ หรอื ไม่ กล็ ว้ นแลว้ แตม่ ลี ขิ สทิ ธทิ์ ง้ั สนิ้ ถา้ จำ� เปน็
ตอ้ งนำ� มาใชห้ รอื แชรห์ รอื สง่ ตอ่ กค็ วรใหเ้ ครดติ เจา้ ของไวด้ ว้ ย และถา้ เปน็ ทมี่ าจาก
แหล่งออนไลน์ ควรท�ำเป็นลงิ คใ์ ห้คลกิ กลบั ไปยังที่มาตน้ ทางได้ด้วย (link back)
แต่กม็ กี รณที ่ีแชรต์ ่อๆ กนั มาจนไม่รู้ว่าใครเปน็ เจ้าของกม็ ี

มอี กี กรณหี นงึ่ คอื การเอาขอ้ ความหรอื รปู ภาพของคนอน่ื มาแอบ๊ วา่ เปน็ ของ
ตวั เอง ไมว่ ่าจะบอกวา่ ถา่ ยเอง วาดเอง สรา้ งสรรค์ภาพขน้ึ มาด้วยตัวเอง แถมใส่
ลายน้�ำแสดงความเปน็ เจา้ ของเสียเสร็จสรรพ โลกอนิ เทอร์เน็ตเร่มิ แคบลง อาจ
มคี นมาพบเหน็ รู้จกั กับเจา้ ของตัวจรงิ หรือเจา้ ของมาเหน็ เองไดง้ า่ ยๆ อยา่ งงผ้ี ดิ
เตม็ ๆ เป็นเร่อื งเปน็ ราวกนั มาหลายรายแลว้

ร ะ วั ง !
ย่ิงถ้าน�ำไปใช้ในทางการค้า
เชน่ เวบ็ ของบรษิ ทั หรอื รา้ นคา้ อาจถกู
เรยี กคา่ เสยี หายหลกั หมน่ื แสน หรอื ลา้ น
บาทได้ (มีคนโดนกนั มาแลว้ )

$

181

ขห้อรือคแวอรพระแวชังทในอก่ืนาๆรใช้ LINE

การแชทใน LINE และแอพแชทต่างๆ น้ันแม้วา่ จะแชทกนั 2 คนก็
ไมใ่ ชพ่ ื้นที่สว่ นตัวแตอ่ ย่างใด อกี ฝ่ายสามารถจบั ภาพหน้าจอออกมา
แชร์จนเป็นข่าวอยเู่ ป็นประจำ� ซ่ึงเป็นหลักฐานท่ีปฏเิ สธได้ยาก แม้ว่า
จะมีบางกรณที เ่ี ป็นภาพตดั ตอ่ แตก่ ค็ อ่ นข้างจะพสิ ูจน์ได้ล�ำบาก ผใู้ ช้
จึงควรระวังเรอ่ื งการใชค้ ำ� พดู ท่จี ะส่งผลเสียกับตนเองและการพาดพิง
ถงึ ผอู้ ืน่ รวมถึงการแชรภ์ าพและขอ้ ความตา่ งๆ ดว้ ย

เมอื่ ส่งขอ้ ความไปแล้วจะตามไปลบทผี่ ูร้ บั ไมไ่ ด้ จงึ ตอ้ งระมดั ระวงั
เรอ่ื งการใชค้ �ำพดู ใหม้ าก ควรคดิ ดๆี ก่อนสง่

คุณสมบัตใิ หม่ของ LINE เรยี กวา่
Hidden Chat สามารถซอ่ นข้อความ
แชทได้ โดยจะลบข้อความอัตโนมัติ
ภายในเวลาทีต่ ัง้ ไว้ โดยจะลบทง้ั ของ
เราและคู่สนทนาด้วย แตก่ ็ยงั เส่ียง
ต่อการจบั ภาพหน้าจอไว้ก่อนอย่ดู ี

แนะน�ำให้ลงทะเบยี นผกู LINE กบั
อเี มล์เพอ่ื ยืนยันตัวตนไว้เสมอ เมื่อ
ย้ายหรือเปลี่ยนเครอื่ งใหม่จะดึง
ขอ้ มูลเดิม (บางอย่าง) กลบั มาได้

ระวังเรื่องการ Auto Add Friends
ใน LINE ถา้ เปดิ ใช้งานเอาไวก้ ็จะ
คอยดงึ ชอ่ื เพ่ือนจากเบอร์โทร, อีเมล์
หรือ Social Network ต่างๆ มาแสดงใน LINE ซึง่ บางทกี เ็ ยอะแยะ
จนไมร่ ู้ว่าใครเปน็ ใคร (ดหู นา้ 71)

182

7Chat, Comment, Like และ Share อยา่ งไรใหป้ ลอดภยั CHAPTER

ระวงั การเปิดใช้ Allow Others to Add
ใน LINE ถ้าเปดิ ไว้เม่ือมคี นมาเพมิ่ คุณก็
จะทำ� ไดท้ นั ทีโดยไมต่ อ้ งขออนุญาตก่อน
อาจมคี นแปลกหน้าทีไ่ ม่รู้จกั เพ่มิ ชื่อเข้า
มาได้ (ดหู น้า 72)

ปกติ LINE จะไมบ่ ันทกึ ประวตั ิ
การสนทนาเอาไว้ ถา้ เปลยี่ น
เครือ่ งหรอื ลบแอพไปก็จะ
หายหมด ถา้ ตอ้ งการเก็บไว้
ให้แบค็ อัพหรอื Export ไป
เก็บไว้เอง

แชทและแชร์อยา่ งไรดี

แม้จะแชทกันสองคนก็ต้องระวงั เร่ืองการพดู จา เพราะอกี ฝ่ายสามารถ
จับภาพหน้าจอไปแชรไ์ ด้ (เปน็ ขา่ วบอ่ ยๆ)

อยา่ แชทหรือแชร์เร่ืองไมจ่ ริงหรือเร่อื งไมด่ ีของคนอืน่ ที่อาจกลาย
เป็นการหมิน่ ประมาทบคุ คลอืน่ ได้ ซ่ึงจะมีขอ้ มลู ทแ่ี ชทเปน็ หลกั ฐาน
ยืนยันการกระทำ� ไดอ้ ยา่ งดี

ไม่แชทหรอื แชร์ขอ้ ความเสียดสี ประชดประชนั หมิ่นพระบรม-
เดชานุภาพ ละเมดิ สิทธิส่วนบุคคล ซึ่งจะมโี ทษตามกฏหมายดว้ ย

ระวงั การแชรข์ อ้ มลู ที่สร้างความเกลียดชัง (hate speech) ตอ่ ๆ กนั ไป
ซึง่ จะสร้างความแตกแยกของคนในชาติ

ไมแ่ ชรค์ วามเชอ่ื ท่ีผิดตามๆ กนั งมงาย ขัดกับหลกั วิชาการ ท�ำตาม
แล้วเกิดอนั ตราย บอกตอ่ ๆ กันโดยไมต่ รวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ก่อน หรอื
อยา่ งนอ้ ยถ้าจะแชรก์ ค็ วรบอกที่มา คนอา่ นจะได้ใช้วิจารณญาณดเู อง
วา่ ควรเชอ่ื ถือและแชร์ต่อหรือไม่

183

ระวัง! แอพท่ตี ิดตงั้ ใน Social media

การตดิ ต้ังแอพเพม่ิ ใน Social media อยา่ ง Facebook อีกทีหน่งึ ก็ตอ้ ง
ระมดั ระวงั มบี างแอพซงึ่ ทำ� งานไมต่ รงกบั ทบ่ี อกไว้ เชน่ เคยมแี อพกลมุ่ Inwapp
(ไมเ่ กย่ี วกบั lnwshop.com) ทตี่ อนตดิ ตงั้ จะใหค้ ณุ ยอมเปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั
ทอ่ี ยู่ใน Facebook และให้สทิ ธแ์ิ อพในการโพสต์ในนามของคณุ ดว้ ย ซง่ึ เมอ่ื
คุณเปิดเข้าไปดูเพจใดใน Facebook แอพจะกด Like และแชร์หนา้ น้นั ๆ ออก
ไปในชื่อของคุณ พร้อมใส่ comment (ที่ตดั มาจากเนอ้ื หาน้ันๆ โดยอัตโนมตั ิ)
ให้โดยไม่บอกไม่กล่าว ถ้าติดต้ังไปแล้วก็ไปลบออกได้เช่นเดียวกับแอพอ่ืนๆ
ของ Facebook ดังนี้

เคสน้ีเจ้าของแอพอธิบาย
วา่ ไมม่ เี จตนารา้ ย แคท่ ำ� เพอ่ื เปน็
เครอื่ งมอื ใหผ้ อู้ นื่ มาสรา้ งแอพได้
เทา่ นนั้ แตผ่ ทู้ เี่ ขา้ มาใชเ้ ครอื่ งมอื
น้ีอาจจะน�ำไปใช้สร้างแอพที่ก่อ
ใหเ้ กดิ ความเสยี หายกับผ้อู ่นื ได้

Mobile เปิดแอพ Facebook
แตะเมนู เพม่ิ เตมิ 4การตง้ั คา่ แตะ
หวั ขอ้ แอพ แลว้ แตะชอื่ แอพทจ่ี ะลบ
จากนัน้ แตะปุ่ม ลบ ชอ่ื แอพ แตะปุม่
ลบออก เพื่อลบแอพนั้นออกจาก
Facebook

184

7Chat, Comment, Like และ Share อย่างไรใหป้ ลอดภัย CHAPTER

Computer ขณะเปิดใช้ Facebook ให้คลิก ทมี่ มุ ขวาบนของ
หนา้ เวบ็ เลอื ก การตงั้ ค่า (หรือเข้าไปที่ www.facebook.com/settings)
แลว้ คลกิ หวั ขอ้ แอพ จากนน้ั คลกิ ที่ แกไ้ ข ตรงแอพทจี่ ะลบ จากนน้ั คลกิ ท่ี
ลบแอพ คลิกปุ่ม ลบออก ลบแอพนน้ั ออกจาก Facebook

ลบแอพทีไ่ ม่ตอ้ งการใช้งาน
ร่วมกับ Facebook อกี ตอ่ ไป

อันตรายมาก! ถ้าการแชร์จากแอพนี้
(โดยทเี่ ราไมร่ ตู้ วั ) เรอ่ื งทไ่ี มด่ ซี ง่ึ อาจสรา้ งความ
เสียหายกับผ้อู นื่ หรอื ผิดกฎหมาย เราอาจตอ้ ง
รบั โทษไปด้วยโดยไม่รูต้ วั

185

8CHAPTER

ระวงั อนั ตรายอน่ื ๆ
จากการออนไลนห์ รอื
ใช้อุ ปกรณไ์ มเ่ หมาะสม

การออนไลน์ผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ก็มีข้อควรระวังหลาย
อย่าง ทั้งการแฮกหรือดักจับข้อมูลท่ีรับเข้าส่งออก
ดักจับการพิมพ์เพื่อขโมยช่ือผู้ใช้และรหัสผ่าน การ
เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน Wi-Fi ในท่ีสาธารณะ
ก็อาจเป็นอันตราย โดยเฉพาะ Wi-Fi ที่ให้ใช้ได้ฟรี
อาจมีคนปล่อยสัญญาณให้เหยื่อเข้าไปใช้งานแล้ว
ดักจับข้อมูลเอาไปท�ำเร่ืองไม่ดีก็เป็นได้

8ระวงั อันตรายอ่ืนๆ จากการออนไลน์หรือใช้อปุ กรณไ์ ม่เหมาะสม CHAPTER

ใช้ Wi-Fi สาธารณะฟรีต้องระวงั

การใช้อินเทอร์เน็ตโดยการเชื่อมต่อ Wi-Fi ใน
สถานที่สาธารณะน้ันต้องระวังการดักจับข้อมูลจาก
บุคคลไม่หวังดี โดยเฉพาะ Wi-Fi ที่ให้ใช้ได้ฟรีโดย
ไม่ต้องใส่รหัสผ่านก่อนเข้าใช้งาน โชคไม่ดีคุณอาจไป
เจอ Wi-Fi ปลอมที่มจิ ฉาชีพทำ� ไวห้ ลอกโดยตัง้ ชอ่ื ให้
เหมือนกบั ของจริง เช่น ตั้งชอ่ื .@TREUWIFI (ของ
จริงต้องเป็น .@TRUEWIFI), Dtac Wi-Fi เป็นต้น
เมื่อเหยื่อหลงเข้าไปเกาะ Wi-Fi ปลอมก็จะดักจับข้อมูลที่รับส่งระหว่างใช้งาน
Wi-Fi ปลอมไปได้

ป้ องกนั ตวั ไมใ่ หโ้ ดนแฮก

หลกี เลย่ี งการใช้ Wi-Fi สาธารณะทไี่ ม่น่าไวใ้ จ เชน่ Wi-Fi ชอ่ื แปลกๆ
หรือเข้าใช้ได้ฟรๆี โดยไม่ตอ้ งกรอกชื่อและรหัสผา่ นกอ่ นเขา้ ใช้

ถ้าเลีย่ งไมไ่ ดก้ อ็ ย่าท�ำธุรกรรมหรือใช้
บรกิ ารทีต่ อ้ งกรอกชอ่ื , รหัสผา่ น รวมถงึ
ข้อมูลสว่ นตวั เพราะอาจมคี นกำ� ลังคอย
ดักจับขอ้ มูลท่คี ณุ กรอกลงไปอยกู่ ็ได้

ตรวจสอบวา่ กำ� ลังใช้งานแบบ https อยู่
หรอื ไม่ (ดูหนา้ 85)

ถา้ จำ� เป็นจริงๆ กค็ วรเชอื่ มต่อ
อนิ เทอรเ์ น็ตผ่าน 3G/4G แทน (อาจ
ไมป่ ลอดภัย 100% แต่ปลอดภัยกว่า
Wi-Fi ฟรี)

ใชแ้ อพตรวจสอบกอ่ นวา่ เปน็ Wi-Fi ที่
ปลอดภัยหรอื ไม่ (ดูหวั ขอ้ ถัดไป)

187

เชค็ Wi-Fi ท่ปี ลอดภยั ก่อนเขา้ ใช้

ถา้ จำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใช้ Wi-Fi ในทสี่ าธารณะ
แต่กังวลใจว่าจะไม่ปลอดภัย ก็ตรวจสอบ
ได้ว่าเครือข่าย Wi-Fi ที่เข้าใช้นั้นเชื่อถือได้
หรือไม่ โดยติดต้ังแอพ SSLSTRIPGuard
(ใน Android ใช้ช่ือ StripGuard) แอพฟรี
ของคนไทย ดาวนโ์ หลดได้ท้งั จาก App Store
(iOS) และ Play Store (Android)

วิธีใช้งานให้เช่ือมต่อ Wi-Fi ท่ีจะเข้าใช้
แลว้ เปดิ แอพ SSLSTRIPGuard จากนนั้ แตะ
ปุ่ม CHECK NOW รอสกั ครู่ก็จะแจง้ ผลการ
ตรวจสอบใหท้ ราบ

Warning : You are in SSLStrip
environment, please close all

connections from network
immediately

p PASS คือยนื ยันว่าปลอดภยั p Warning คือเตือนว่าไมป่ ลอดภยั

188

8ระวังอันตรายอืน่ ๆ จากการออนไลน์หรอื ใชอ้ ุปกรณไ์ ม่เหมาะสม CHAPTER

แนะนำ� ใหอ้ ัพเดท OS เป็นรุน่ ล่าสดุ

ถา้ ตอ้ งใช้ Wi-Fi ในทส่ี าธารณะบอ่ ยๆ เชน่ สนามบนิ รา้ นกาแฟ หา้ งสรรพสนิ คา้
หรอื อน่ื ๆ ควรทจ่ี ะอพั เดท OS หรอื ระบบปฏบิ ตั กิ ารของอปุ กรณท์ ใี่ ชเ้ ชอ่ื มตอ่ เนต็ ให้
เปน็ รนุ่ ลา่ สดุ อยเู่ สมอ เนอ่ื งจากเวอรช์ น่ั ลา่ สดุ จะมกี ารแกไ้ ขบก๊ั (ขอ้ ผดิ พลาด) และ
ชอ่ งโหวท่ ไ่ี มป่ ลอดภยั ตา่ งๆ ใหด้ ขี น้ึ กวา่ รนุ่ กอ่ น เชน่ ถา้ ใชโ้ นต้ บคุ๊ ไปใชน้ อกสถานท่ี
บ่อยๆ ก็ควรอพั เดทเปน็ Windows เวอรช์ ัน่ ลา่ สุดเสมอ และเปดิ การทำ� งานของ
Windows Update เอาไวใ้ หอ้ พั เดทอตั โนมตั เิ มอื่ มเี วอรช์ นั่ ใหมห่ รอื มี patch แกไ้ ข

ส�ำหรับมือถือและแท็บเล็ตก็ควรจะอัพเดท
OS ให้ใหม่อยู่เสมอเช่นเดียวกัน แต่ถ้าคุณไม่ได้
ใช้อินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะ Wi-Fi ในที่สาธารณะ
บ่อยๆ และไม่แน่ใจว่าอัพเดทแล้ว OS ใหม่จะ
ใช้งานได้ดีหรือคุ้นเคยเหมือน OS เดิมหรือไม่
(เนื่องจากการอัพเดทบางรุ่นอาจเปล่ียนหน้าตา
ใหมห่ มดกม็ )ี อาจรอใหม้ นั่ ใจกอ่ นคอ่ ยอพั เดทกไ็ ด้

p OS ลา่ สุดใน Android ท่ีใช้งานกนั อยู่คือเวอร์ช่ัน p ตัวอย่างคณุ สมบัตทิ ่เี พิม่ มาใน
4.4 (หรอื อกี ช่อื หนงึ่ เรียกวา่ Kitkat) และก�ำลังจะมี iOS 8 (ล่าสุด ณ ขณะน้ี) จะใหเ้ ด็ก
เวอรช์ ัน่ ใหม่ 5.0 หรืออีกชอื่ หน่ึงคอื Lollipop ขออนญุ าตผู้ปกครองเพือ่ ซื้อแอพ
ใน App Store ได้ (ดูเพมิ่ หน้า 127)

189

อัพเดท OS ใหเ้ ป็นเวอรช์ ่ันล่าสดุ

iOS iOS เมอื่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารมเี วอรช์ น่ั อพั เดทจะแสดงหนา้ จอแจง้ เตอื นดงั รปู
ใหแ้ ตะปมุ่ Details เพอ่ื เปดิ เขา้ ไปดรู ายละเอยี ดและตดิ ตง้ั (แลว้ ทำ� ตามข้ันตอน
ในหัวข้อน)้ี หรอื แตะป่มุ Close หากยังไม่ตอ้ งการดูและตดิ ต้ังในตอนน้ี

1 แตะ Details (รายละเอยี ด) เมอ่ื แจง้ เตอื น 1
ใหอ้ พั เดท หรอื สงั่ อพั เดทเองโดยเขา้ ไปที่
Settings4General4Software Update
(การตงั้ คา่ 4ทวั่ ไป4รายการอพั เดท
ซอฟตแ์ วร)์

2 จะแสดงเวอรช์ ัน่ ใหมท่ ่อี พั เดทได้ (ถ้ามี)
พรอ้ มรายละเอียดหรือข้อมลู ทแี่ กไ้ ขเพิม่ เตมิ
ใหแ้ ตะที่ Install Now (ตดิ ตงั้ เดย๋ี วน)ี้

3 จะมีขอ้ กำ� หนดและเงอ่ื นไขตา่ งๆ แสดง
ขึ้นมา ใหแ้ ตะที่ Agree (ยนิ ยอม) แลว้
แตะ Agree (เหน็ ดว้ ย) เพอื่ ยอมรบั

2 ขอ้ ตกลง แนะน�ำใหเ้ สียบชาร์จไฟไว้
ด้วยในขณะที่ดาวนโ์ หลด เพอ่ื ไม่ให้แบต
หมดขณะติดต้งั และควรตอ่ ผ่าน Wi-Fi
เพราะไฟล์อัพเดทมกั มีขนาดใหญ่ (ถา้
ไฟลใ์ หญ่มากระบบอาจบงั คบั ให้อัพเดท
ผ่าน Wi-Fi เท่าน้นั )

4 เมอ่ื อพั เดทเสรจ็ แลว้ เครอ่ื งจะบตู๊ ใหม่ (หากหนา้ จอดบั ไปใหเ้ ปดิ เครอ่ื งเอง)
รอบ๊ตู จนเข้าหน้า Lock Screen และใชง้ านไดป้ กติ
เช็คเวอรช์ ั่นเฟิรม์ แวรไ์ ดท้ ่ี Settings4General4About4Version
(การตง้ั คา่ 4ทวั่ ไป4เกยี่ วกบั 4เวอรช์ นั่ )

190

8ระวังอนั ตรายอืน่ ๆ จากการออนไลน์หรอื ใชอ้ ปุ กรณ์ไม่เหมาะสม CHAPTER

Android

Android แตะไอคอน การต้งั คา่ 4
เกีย่ วกับอุปกรณ4์ อัพเดทซอฟท์แวร4์
อัพเดทตอนน้ี (Settings4About
device4Software Update4Update
now) แล้วแตะ ตกลง (OK)

นอกจากนหี้ ากมกี ารแจง้ เตอื นการอพั เดทซอฟทแ์ วร์ ใหแ้ ตะลากแถบ
สถานะจากขอบบนของจอลงมา แลว้ แตะที่ อพั เดทซอฟทแ์ วร์ (Software
update) สงั เกตวา่ จะมรี ายละเอยี ด เชน่ ขนาดไฟล์ เพอ่ื ใหก้ ารอพั เดทไมส่ ะดดุ
แนะน�ำให้เลอื กใช้ Wi-Fi เปน็ หลกั จากนั้นแตะ ดาวนโ์ หลด (Download)
รอดาวนโ์ หลดและอพั เดทซอฟตแ์ วรส์ กั ครจู่ นเครอื่ งรสี ตารท์ หรอื แตะ ตกลง
(OK) เพอื่ รีสตาร์ททนั ที

191

ระวงั ! แอพแอบบนั ทกึ การพมิ พ์

แอพประเภท Key logger เป็นแอพที่จะคอยแอบเก็บบันทึกการคีย์
ข้อความต่างๆ บนแป้นคีย์บอร์ด ไม่ว่าจะเป็นชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน เลขบัญชี
เบอรโ์ ทรศัพท์ หรอื อน่ื ๆ ท่ีเรากรอกขณะใช้งานเครอ่ื งจะถูกบันทกึ ไวท้ งั้ หมด
ถึงแม้ว่าเราจะไม่ให้จ�ำรหัสผ่านหรือไปลบข้อมูลการใช้อินเทอร์เน็ตในเคร่ือง
นน้ั แลว้ ก็ตาม เราไม่สามารถไปตามขอ้ มูลที่ Key logger เกบ็ ไปแลว้ ได้ ซ่ึง
ขอ้ มลู ทเี่ กบ็ ไดก้ จ็ ะสง่ กลบั ไปยงั ผทู้ ส่ี รา้ ง Key logger นน้ั ขน้ึ มา ทำ� ใหค้ วามลบั
รั่วไหลไปโดยไม่ร้ตู วั

Key logger นมี้ กั จะแอบเขา้ มาในเครอื่ งแบบเนยี นๆ เชน่ หลอกวา่ เปน็
แอพแปน้ คยี ์บอร์ดทีใ่ หต้ ดิ ตัง้ เพิม่ , ติดมากบั โปรแกรมหรอื แอพท่ีไปโหลดมา
โดยเฉพาะแอพแป้นพิมพ์ หรือถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ก็อาจติดมาตอนที่เสียบ
แฟลชไดรว์หรืออุปกรณ์เก็บข้อมลู ต่างๆ โดยโปรแกรมอาจจะตดิ ตงั้ ตัวเองลง
ไปอตั โนมตั ทิ นั ทที เ่ี ชอื่ มตอ่ อปุ กรณไ์ ดเ้ ชน่ กนั ซง่ึ คณุ ไมร่ เู้ ลยวา่ โดนแอบตดิ ตงั้
ลงไปตอนไหน แม้ว่าจะใชเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอร์สว่ นตัวกไ็ ม่สามารถม่ันใจไดว้ า่
ไม่มี Key logger ติดตงั้ อยู่

ส�ำหรับเคร่ืองสาธารณะไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองในร้านเน็ตหรือเครื่องส่วน
รวมท่ีใชร้ ว่ มกันในออฟฟศิ ยงิ่ ต้องใชง้ านอย่างระมดั ระวงั เป็นอย่างมาก

192

8ระวังอันตรายอืน่ ๆ จากการออนไลนห์ รือใชอ้ ุปกรณไ์ ม่เหมาะสม CHAPTER

วธิ ปี ้ องกนั ตัวเองจาก Key logger

ตดิ ตง้ั โปรแกรมป้องกนั และก�ำจัดไวรัส บางตัวจะ
สามารถตรวจพบโปรแกรม Key logger ได้ โดยจะ
ต้องอพั เดทข้อมลู โปรแกรมปอ้ งกันไวรัสนี้บ่อยๆ ด้วย

ถ้าไมม่ นั่ ใจว่ามี Key logger ในเครอ่ื งหรอื ไม่ ควร
หลกี เล่ียงการพิมพ์ขอ้ มลู ส่วนตวั ลอ็ กอินบรกิ ารต่างๆ
หรอื ท�ำธรุ กรรมผ่านเน็ต อยา่ งเด็ดขาด

เครือ่ งสาธารณะในรา้ นเนต็ บางรา้ นจะมีโปรแกรมรเี ซต็
เคร่ืองใหเ้ หมือนเครื่องใหมท่ กุ ครง้ั ทรี่ สี ตาร์ทเคร่ืองจะ
ค่อนข้างปลอดภัยกวา่

ระวังแอพแปน้ คยี ์บอร์ดทใ่ี หต้ ิดตั้งเพม่ิ ทั้งใน iOS
(iOS 8 ขนึ้ ไป) และ Android ให้เลอื กติดตั้งเฉพาะตัว
ดังๆ ทีค่ นสว่ นใหญใ่ ช้กันและมชี ื่อเสียงวา่ ไม่มปี ัญหา
อยา่ ไปลองตวั แปลกๆ นอกจากคุณจะมัน่ ใจจริงๆ

193

สรุปขอ้ ควรระวงั ในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็

เมอ่ื ยคุ สมยั เปลยี่ นไป เดก็ ๆ ในยคุ ทกี่ ารสอ่ื สารออนไลนม์ อี ทิ ธพิ ล
ในการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ไมว่ า่ จะคน้ ขอ้ มลู ทำ� การบา้ น งานกลมุ่ สง่ งาน
ปรึกษางานกลุ่ม ก็ต้องมีการใช้อินเทอร์เน็ตแทบท้ังน้ัน นอกจากนี้
หลายคนยงั มเี นต็ ซมิ ใชอ้ อนไลนไ์ ดต้ ลอดเวลาอกี ดว้ ย แตด่ ว้ ยวฒุ ภิ าวะ
ที่ยังไม่มากพออาจท�ำให้หลงผิดไปกับส่ิงย่ัวยุหรือการหลวกลวง
ในอินเทอร์เน็ตได้ รวมถึงผู้ใหญ่บางคน แม้ว่าจะระวังตัวอย่างดีก็
อาจมีบางคร้ังที่พลั้งเผลอไปได้ ซึ่งพอจะสรุปข้อควรระวังในการใช้
อนิ เทอร์เนต็ ใหป้ ลอดภัยได้ 10 ข้อดงั นี้

01 ออนไลนแ์ ตพ่ อดีไมม่ ีโทษ
การออนไลน์ใช้ Social Network มากไปหรือ
ไม่ดูเวล่�ำเวลาก็อาจท�ำให้เกิดอันตรายและเสียสมาธิ
เช่น เสียเวลางาน ขาดปฏิสัมพันธ์กับคนตอบข้าง ถ้าควบคุม
เครอื่ งจักร ขับรถ หรือข้ามถนน ไปดว้ ยเล่นไปดว้ ย ก็อาจเสยี สมาธิ
เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย นอกจากนี้ยังเสียสุขภาพ ใช้สายตามาก อาจ
ปวดหวั ปวดคอ

เก็บเรอ่ื งสว่ นตัวไวไ้ มต่ อ้ งบอกใคร 02
ไม่เปดิ เผยเร่อื งส่วนตวั จนเกนิ ไปนกั โดยเฉพาะ
ชื่อ ท่อี ยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ ต�ำแหนง่ ทีอ่ ยู่ รวมถงึ ชื่อและ
เบอร์โทรของผปู้ กครองหรือบุคคลอนื่ ๆ ในบา้ น การใหข้ ้อมลู กบั
เวบ็ ต่างๆ ก็ควรตรวจสอบวา่ เปน็ เวบ็ ท่ีเชื่อถอื ได้ เชน่ มปี ระกาศ
ชัดวา่ ไม่มีนโยบายนำ� ขอ้ มูลส่วนตัวของเราไปขายหรือให้คนอื่นหา
ประโยชน์อกี ต่อหนึ่ง

194

8ระวังอันตรายอืน่ ๆ จากการออนไลน์หรือใชอ้ ุปกรณ์ไมเ่ หมาะสม CHAPTER

03 รหัสผา่ นควรเป็นความลบั
ไม่บอกรหัสผ่านต่างๆ กับใคร ต้ังรหัสผ่านให้
คาดเดาไดย้ าก และหา้ มใชร้ หสั เดยี วกนั กบั ทกุ ทที่ กุ เวบ็

ไม่นดั พบกบั คนแปลกหนา้ 04
ไมน่ ัดพบกับใครทไ่ี ด้พดู คยุ กนั ในโลกออนไลน์
คนทรี่ ู้หน้ายงั ไม่อาจรใู้ จ แล้วนหี่ น้าก็ยังไม่เคยเห็น
ด้วยซำ้� รปู ท่ีใช้เปน็ รปู โปรไฟล์กอ็ าจเป็นรปู ปลอมก็ได้

05 โพสต์สิง่ ใดให้ท�ำดว้ ยความระมดั ระวงั
ไมโ่ พสตข์ อ้ ความหรอื รปู ภาพทไี่ มเ่ หมาะสม หรอื
กลา่ วหาผอู้ ื่นโดยท่ีไม่รจู้ ริง หรอื ไม่ไดอ้ ยู่ในเหตกุ ารณ์
ด้วย ระวังค�ำพูดค�ำจา ไม่ข้องแวะกับคนที่พูดจาหยาบคายหรือหา
เรือ่ งชวนทะเลาะ

แชรต์ อ่ อยา่ งมสี ติ 06
ไมก่ ุขา่ ว เมาทเ์ ร่อื งทไ่ี มไ่ ด้ร้จู รงิ สรา้ งเรื่องเท็จ
เผยแพรห่ รอื สง่ ต่อคลปิ หลดุ ขา่ วลอื เรอ่ื งเสยี ๆ หายๆ
ที่ท�ำให้เกิดความเข้าใจผดิ ท�ำให้ผูอ้ ่นื เสียช่อื เสยี ง และสง่ ผลเสียตอ่
ประเทศชาติ

195

07 ไม่หลงผดิ ไปกบั สงิ่ ผิดกฎหมาย
ไม่ข้องแวะกับการพนัน ยาเสพตดิ สิ่งลามก

อนาจาร เร่อื งที่ผิดศีลธรรม หรอื ผิดกฎหมายต่างๆ

เสพส่อื อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 08
อยา่ ไปหลงเชอ่ื ข้อความหรอื รปู ภาพใดๆ ใน
อนิ เทอรเ์ น็ตโดยไม่วิเคราะห์เหตุและผลกอ่ น เพราะ
บางอยา่ งในเนต็ อาจไม่ใช่เรื่องจรงิ เสมอไป ควรใช้วจิ ารณญาณเปน็
อย่างมากในการเสพส่อื ไมว่ ่าจะไดพ้ บเหน็ อะไรใหฟ้ ังหไู ว้หู บางที
นำ� เสนอขา่ วเสียน่าเชอ่ื ถอื พอความจรงิ เปิดเผยก็หงายหลังมา
นกั ต่อนกั แลว้

09 ระวังรา้ นออนไลน์ไม่ซ่ือสตั ย์
ชอ้ ปปง้ิ ออนไลนก์ บั ร้านทเ่ี ชื่อถอื ได้ หาขอ้ มูล
รา้ นกอ่ นซอ้ื อา่ นเงอื่ นไขของรา้ นใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นสงั่ ซอ้ื
ถา้ โอนเงนิ แลว้ ใหเ้ กบ็ หลกั ฐานการโอนไวเ้ ปน็ อยา่ งดจี นกวา่ จะไดข้ อง
ครบเรยี บรอ้ ย

ระวังการละเมดิ ลิขสิทธ์ิ 10
ภาพและข้อความตา่ งๆ ในอินเทอรเ์ นต็ ลว้ นมี
เจา้ ของ ถ้านำ� ไปใช้หรือแชร์ต่อก็ควรใหเ้ ครดิตเจา้ ของ
ไว้ด้วย (บางกรณีอาจตอ้ งขออนุญาตกอ่ นดว้ ยซ้�ำ -ดูหน้า 179)

196

8ระวงั อนั ตรายอืน่ ๆ จากการออนไลนห์ รือใชอ้ ุปกรณ์ไม่เหมาะสม CHAPTER

ขอ้อุปคกวรรณร์มะวืองั ถในือกแาทรใบ็ ชเ้ลงต็านและอ่นื ๆ

ท้ังโทรศัพท์มือถือและแท็บเล็ตกลายเป็นสิ่งจ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวันของคนรุ่น
ใหม่ บางคนกจ็ ะมีอุปกรณ์เหลา่ น้ตี ดิ ตัวอยเู่ กือบจะตลอดเวลา ซึ่งการใช้งานอุปกรณ์
ก็มีเรื่องทค่ี วรระวงั ทีผ่ ใู้ ชค้ วรทราบอยูด่ ้วย ดงั น้ี

แชร์เน็ตให้คนอ่ืนต้องระวัง

ถา้ แชรเ์ นต็ จากมือถือ แท็บเลต็ หรือแมแ้ ตเ่ นต็ บ้าน ใหค้ นอื่นใชด้ ว้ ย (ทเ่ี รียกว่า
Hotspot, Tethering) ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอรแ์ ล้วถ้าผ้ทู ี่ใชเ้ นต็ ของเราทแี่ ชร์ไปน้นั
เกดิ ไปโพสตข์ อ้ ความ รปู ภาพ หรอื กระทำ� การทผ่ี ดิ กฎหมายใดๆ ขน้ึ มา เราอาจจะตอ้ ง
รับผดิ ชอบสิ่งท่ีคนนั้นทำ� ด้วยเสมือนว่าเราเป็นผกู้ ระทำ� การนั้นเองด้วย ฉะนน้ั จงึ ควร
แชรใ์ หเ้ ฉพาะคนทรี่ ้จู ักดี เพ่อื นสนิท หรอื คนในครอบครัว โดยทำ� เม่ือจำ� เปน็ เท่าน้ัน

ระวังคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ า

การใชโ้ ทรศพั ทน์ านๆ หรอื วางเครอื่ งไวใ้ กลต้ วั เวลานอนหลบั คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้
อาจรบกวนการนอนหรอื เปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพ (จากขา่ ว เตอื น! “คล่นื แมเ่ หลก็ ใน
มอื ถอื ” เสยี่ งเนื้องอกในสมอง 24 ชม. อ่านเพ่ิมท่ี www.thairath.co.th/content/
191229) แม้ว่าจะยังไม่มีข้อพิสูจน์แน่ชัด แต่ถ้าเลี่ยงการวางไว้ใกล้ตัวตอนนอนได้
กด็ ี (ยกเว้นอปุ กรณ์พวก Wearable เชน่ Smart watch และอน่ื ๆ ทีอ่ อกแบบให้
ตดิ ตัวตลอดเวลาได้)

เปิ ดดูไฟลใ์ นแฟลชไดรว์ท่เี ก็บได้อาจตดิ ไวรัส

ถา้ เกบ็ แฟลชไดรวไ์ ด้ จะนำ� ไปเสยี บกบั คอมพวิ เตอรห์ รอื โนต้ บคุ๊ เพอ่ื เปดิ ดู (รวมถงึ
แฟลชไดรวข์ องคนอนื่ ๆ ทมี่ าขอเสยี บเขา้ กบั คอมของคณุ ) ควรตรวจดวู า่ คอมของคณุ
ติดตั้งโปรแกรมป้องกันและก�ำจัดไวรัสไว้หรือไม่ เพราะแฟลชไดรว์เป็นอุปกรณ์แพร่
กระจายไวรัสเป็นอันดับต้นๆ เลยทีเดียว (ถึงแม้ว่าจะมีโปรแกรมป้องกันไวรัสก็ยัง
ปอ้ งกันไดไ้ มถ่ งึ 100% ถ้าไม่มั่นใจกไ็ ม่ควรเสย่ี ง) นอกจากนี้ยังมีไฟล์อืน่ ๆ ทีแ่ ชร์กัน
มาทางเวบ็ หรอื Cloud ก็ติดไวรสั ไดเ้ ชน่ กัน

197

9CHAPTER

ระวงั ผลกระทบทาง
สงั คมและวฒั นธรรม

ปัจจุบันได้เกิดภาวะสังคมก้มหน้า ท่ีแต่ละคนเอาแต่
ก้มหน้าก้มตา กดๆ จ้ิมๆ หน้าจอมือถือหรือแท็บเล็ต
ไม่ว่าจะเป็นตอนอยู่บ้าน, ท่ีท�ำงาน, ร้านอาหาร, รถเมล์,
รถไฟฟ้า, เดินข้างทางหรือสถานที่ต่างๆ ไม่เว้นแม้กระทั่ง
ตอนขับรถ เรียกว่าหยิบขึ้นมาใช้งานทุกที่ท่ีมีโอกาส ซึ่ง
หลายคนอาจมีความเข้าใจไม่ถูกต้องท�ำให้ใช้อุปกรณ์ไม่
ถูกกาละเทศะ ไม่รู้เวล่�ำเวลา ไม่รู้จักยับย้ังชั่งใจ นอกจากน้ี
ยังมีบางคนที่ใช้งานโดยไม่รู้ว่ามีค่าใช้จ่ายแอบแฝง โดย
เฉพาะผู้เยาว์ที่ยังมีวุฒิภาวะไม่เพียงพอ

9ระวังผลกระทบทางสังคมและวฒั นธรรม CHAPTER

มารยาทในการใช้ เน็ตซิ ม

ไมม่ กี ฎขอ้ ใดทห่ี า้ มไมใ่ หผ้ ใัู ชโ้ หลดขอ้ มลู หนกั ๆ จากเนต็ ผา่ นเนต็ ซมิ
แต่เนื่องจากการโหลดไฟล์ขนาดใหญ่ (เช่น โหลดบิต (Bittorrent),
วิดีโอ Full HD เปน็ ตน้ ) ดว้ ยเนต็ ซมิ จะใชค้ วามสามารถของระบบเครือข่าย
อย่างมาก ภาษาเทคนิคเรียกวา่ กนิ แบนด์วิธ (Bandwidth) มาก สง่ ผลท�ำให้
ผใู้ ชท้ ว่ั ไปทใ่ี ชแ้ คร่ บั สง่ ไฟลเ์ ลก็ ๆ รบั สง่ อเี มล์ ซงึ่ อาจจะเปน็ งานส�ำคญั มากๆ ตอ้ ง
มาใช้เน็ตที่ช้ากว่าปกติ เพราะแบนด์วิธถูกดึงไปใช้กับผู้ที่รับส่งไฟล์หนักๆ จน
เกอื บหมด ซง่ึ เปน็ มารยาททางสงั คมในการใชง้ านเนต็ ซมิ ซงึ่ ผใู้ ชท้ ด่ี จี ะไมท่ ำ� กนั

นอกจากน้ีแพก็ เกจอนิ เทอรเ์ น็ตบนมอื ถอื มกั เปน็ แบบความเรว็ 3G/4G
ที่มีจ�ำนวนจ�ำกัดก่ีกิ๊กกะไบต์ก็แล้วแต่แพ็กเกจ ถ้าใช้ครบจ�ำนวนตามแพ็กเกจ
แล้วก็ต้องลดลงมาใชค้ วามเรว็ แบบ EDGE แทนซ่ึงช้ากวา่ มาก การใชเ้ นต็ ซมิ
จึงมักสงวนไว้ใช้กับเร่ืองส�ำคัญๆ ซึ่งถ้าจะส่งไฟล์หนักๆ ให้กับคนอื่นก็ควร
พิจารณาว่าตอ้ งเปน็ เร่อื งส�ำคญั ส�ำหรบั ผูร้ ับ ไม่ใช่ไฟลไ์ รส้ าระที่โหลดมาแลว้

กต็ อ้ งลบทงิ้ เพราะถา้ ผรู้ บั ใชเ้ นต็ ความเรว็ แบบ EDGE กจ็ ะตอ้ งดาวนโ์ หลด
กนั นาน ถา้ ใชแ้ บบ 3G/4G กจ็ ะเปลอื งแบนดว์ ธิ ทำ� ใหใ้ ชห้ มดเรว็ ดงั นนั้

ถ้าไมใ่ ชเ่ ร่ืองส�ำคัญผรู้ บั กจ็ ะเสยี ท้ังเวลาดาวนโ์ หลดไฟล์ เสียเวลา
เปิดไฟล์ เสียปริมาณอินเทอร์เน็ตในแพ็กเกจท่ีมีจ�ำกัด
และยังเสียความรู้สึกอีกด้วย

199


Click to View FlipBook Version