The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพยาบาลมารดา และทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมขณะตั้งครรภ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sutawadee.bb, 2021-05-31 10:46:00

การพยาบาลมารดา และทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมขณะตั้งครรภ์

การพยาบาลมารดา และทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมขณะตั้งครรภ์

การผดงุ ครรภ์ 1

การพยาบาลมารดา และทารกทมี ภี าวะแทรกซ้อนทาง
สตู กิ รรมขณะตงั ครรภ์

นางสาวสธุ าวดี กาวชิ ัย 6201210569
เลขที 27 SEC B

เสนอ
อาจารย์ อมรเลศิ พันช์วตั ร์

ภาวะถุงนาคราํ แตกกอ่ นกาํ หนด

ภาวะถุงนาคราแตกก่อนกําหนด (Premature Rupture Of Membranes : PROM) คอื การทีถงุ นาครามกี ารแตก หรือรวั ที
เกิดขนึ เองก่อนการเจ็บครรภ์ ไมว่ ่าจะเกิดขึนทีอายุครรภเ์ ท่าใดกต็ าม แบง่ เปน 2 ชนิด ดงั นี
1. ถุงนาคราแตกหรอื รัวกอ่ นกาํ หนดอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ เรยี กวา่ Preterm Premature Rupture of Membranes (PPROM)
2. ถุงนาคราแตกหรอื รวั เมอื อายคุ รรภ์ 37 สัปดาหข์ ึนไป เรยี กวา่ Term Premature Rupture of Membranes (Term PROM)

ยังไม่ทราบสาเหตุทีแท้จรงิ อาจมีปจจยั เสียงทีทาํ ใหถ้ งุ นาคราเกดิ ความออ่ นแอ ทําใหโ้ ครงสร้างไม่แข็งแรง จงึ ทําให้เกดิ การ

แตกหรอื รัวของถุงนาคราก่อนกาํ หนดสาเหตุและปจจัยเสียงดังกลา่ ว ได้แก่

1. การติดเชอื ทีถุงนาครา (chorioamnionitis) 2. การอกั เสบของช่องคลอดหรือปกมดลูก (vaginal or cervical infection)

3. ภาวะการอกั เสบเรอื รงั ของระบบทางเดินปสสาวะ 4. ภาวะปากมดลูกปดไม่สนิท (incompetent cervix)

5. ทารกอยู่ในทา่ หรอื ส่วนนําทีผดิ ปกต.ิ 6. การตงั ครรภแ์ ฝด และการตังครรภ์แฝดนา

7. การทําสูติศาสตรห์ ตั ถการตา่ งๆ เพือวินิจฉันโรคทารกก่อนคลอด. 8. เคยมีประวตั ิการเจ็บครรภค์ ลอดก่อนกาํ หนด

9. ปจจยั ส่วนบคุ คลอืนๆ เช่น เศรษฐานะตา การสูบบุหรี การทาํ งาน

สตรตี ังครรภ์

1. เกิดการติดเชือในโพรงมดลูก (metritis) โดยเฉพาะการตดิ เชอื ทีโพรงมดลูก หรอื ถุงนาครา
(chorioamnionitis) พบไดถ้ งึ ร้อยละ10-40 อายคุ รรภท์ นี ้อยจะมีความเสียง ในการตดิ เชอื เพิม
มากขึน
2. การคลอดก่อนกาํ หนด (preterm labor) เนอื งจากการแตกหรอื การอกั เสบของถุงนาครา
จะทําให้เกิดการหลังสาร prostaglandin ทาํ ให้เกดิ การเจบ็ ครรภค์ ลอดก่อนกาํ หนด

ทารก

1. ทารกเกิดการตดิ เชอื โดยเฉพาะเมือถงุ นาคราแตกตงั แต่ 6 ชวั โมง เปนตน้ ไป
2. ทารกคลอดก่อนกาํ หนด ทําให้เกิดปญหาเกยี วกบั ระบบทางเดนิ หายใจเนอื งจากปอด
ยงั เจริญเติบโตไม่เตม็ ที
3. ทารกในครรภ์เกดิ ภาวะขาดออกซิเจนจากการกดทับของสายสะดือ
4. ทารกในครรภพ์ ิการ หรือเกิดภาวะเจริญเติบโตชา้
5. ภาวะแทรกซอ้ นอืนๆ เช่นสายสะดือย้อย สายสะดอื ถูกกดทับ

กลไกเกียวกับการสรา้ ง Prostaglandin การคลอดครบกําหนดเชอื ว่าอาศัยปฏิกิริยาของนาครา และ
Chorionic Phospholipase A2 ซึงจะ Hydrolyzes Phospoholipid ในเนอื เยือรก ทาํ ใหเ้ กิด Free Arachidonic â
มากขนึ และมกี ารสังเคราะห์ Prostaglandin ทําใหม้ ดลูกหดรดั ตัวการสร้าง Prostaglandin ทชี ักนาํ ให้เกิดถงุ นาครา
แตกกอ่ นการเจ็บครรภ์

1. จัดให้นอนพักอย่บู นเตยี ง แนะนาํ ใหน้ อนตะแคงซ้ายซึงอาจจะชว่ ยเพิมการสะสม
ของปรมิ าณนาคราและหลีกเลยี งการตดิ เชอื เพิมได้
2. หลกี เลยี งการตรวจภายในชอ่ งคลอดหรือทวารหนัก
3. ประเมนิ สัญญาณชพี ทุก4 ชัวโมงเพือประเมินอาการและอาการแสดงของการ
ตดิ เชือ
4. ประเมนิ สุขภาพของทารกในครรภ์โดยการฟงเสียงเตน้ ของหวั ใจทารกทุก1 ชวั โมง
5. ประเมินและบนั ทกึ การหดรัดตัวของมดลูก
6. ใส่ผา้ อนามยั เพือสังเกตจํานวนสีและกลินของนาครา
7. แนะนําใหส้ ตรีตงั ครรภ์รักษาความสะอาดของอวยั วะสืบพันธุ์ภายหลงั การขับถา่ ย
8. ดูแลให้ได้รับยาในกลุ่ม corticosteroids ตามแผนการรักษา
9. ดูแลใหไ้ ด้รับยายบั ยังการหดรัดตวั ของมดลูก
10. ใหก้ ารประคบั ประคองทางด้านจิตใจ
11. ในกรณีทนี าคราหยุดไหลและแพทยอ์ นุญาตใหก้ ลับบ้านแนะนาํ ใหพ้ ักผ่อนใหม้ ากที
สุดหลีกเลยี งการทํางานหนกั งดการมีเพศสัมพันธ์

1. อธบิ ายและแนะนาํ ภาวะแทรกซ้อนทีอาจเกิดขนึ รวมถงึ แผนการรกั ษาทจี ะไดร้ บั
2. ประเมนิ สัญญาณชพี ทุก 4 ชัวโมงเพือประเมนิ อาการและอาการแสดงของการตดิ เชอื
3. ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์โดยการฟงเสียงเตน้ ของหวั ใจทารกทุก1 ชวั โมง
4. ประเมินและบันทกึ การหดรัดตัวของมดลูก
5. ในรายทีไม่มขี อ้ หา้ มควรตรวจความกา้ วหนา้ ของการคลอดทางช่องคลอดโดยใช้วิธี
ปราศจากเชือให้มากทสี ุดเพือปองกันการติดเชือ
6. ดูแลใหไ้ ด้รับยาปฏชิ วี นะแผนการรกั ษา
7. ดูแลใหไ้ ด้รับสารนาตามแผนการรกั ษา

1. สังเกตลกั ษณะสีและกลนิ ของนาคาวปลา
2. วดั ระดบั ยอดมดลูกทกุ วนั โดยปกตมิ ดลูกจะลดระดบั ลงวันละประมาณ½ -1 นิว
ถา้ มดลูกไม่ลดขนาดลงแสดงว่ามกี ารติดเชือทมี ดลกู
3. ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชัวโมงติดต่อกันอยา่ งน้อย 3 วันเพือประเมินการตดิ เชือ

ภาวะเจ็บครรภแ์ ละคลอดกอ่ นกาํ หนด

ภาวะเจบ็ ครรภ์คลอดกอ่ นกาํ หนด (preterm contraction & Preterm labor) หมายถงึ การเจบ็ ครรภค์ ลอดทเี กิดขึนก่อน
อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ (259 วนั ) ของการตงั ครรภ์ทอี ายุครรภส์ ามารถเลียงรอดได้ เปนสาเหตสุ ําคัญของการตายและ
ทพุ พลภาพของทารก เนอื งจากอวยั วะต่างๆ ยงั เจรญิ ไมเ่ ตม็ ที แบง่ ออกเปน 2 ชนิด
1. ภาวะเจบ็ ครรภ์คลอดกอ่ นกําหนดคุกคาม (threatened preterm labor) ภาวะทเี จ็บครรภค์ ลอดทีเกิดขึนก่อนอายุครรภ์
37 สัปดาห์โดยมีการหดรัดตวั ของมดลูกอยา่ งสมาเสมออยา่ งนอ้ ย 1 ครงั ทกุ 1 0 นาทโี ดยใชเ้ วลาประเมินอยา่ งน้อย 30 นาที
แต่ไม่มีการเปลียนแปลงของปากมดลูก
2. การคลอดกอ่ นกําหนด (preterm labor) การคลอดทีมีอายุครรภ์ตังแต่ 28 สัปดาห์ และก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาหห์ าก
ทารกทคี ลอดมีนาหนักน้อยกวา่ 2,500 กรัม เรยี กว่า ทารกนาหนักแรกคลอดน้อย

สาเหตทุ แี ทจ้ ริงยงั ไมท่ ราบชดั เจน แต่เชือว่าอาจเกดิ จากปจจัยเสียงหลายอย่างรวมกัน
ทีอาจทําใหเ้ กิดภาวะนี ไดแ้ ก่
1.มปี ระวัตกิ ารคลอดก่อนกาํ หนดหรอื ประวตั แิ ทง้ ในระยะหลงั ของการตังครรภ์
2.ภาวะแทรกซอ้ นทเี กดิ ขนึ ในระหว่างตงั ครรภ์
3.ปจจยั ส่วนบคุ คลและพฤติกรรมสุขภาพ
4.การติดเชอื ได้แก่ การตดิ เชอื ระบบทางเดนิ ปสสาวะ การตดิ เชือทรี ะบบสืบพันธ์ุ
การติดเชือทีรกและ ถุงนาครา

สตรตี ังครรภ์

1. เสียงตอ่ การไดร้ บั ผลกระทบจากการนอนบนเตียง และถกู จํากัดกจิ กรรมเปนเวลานาน
2. เสียงตอ่ การเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการไดร้ ับยายับยงั การหดรดั ตัวของมดลกู
3. เกิดภาวะเครยี ดและความวติ กกงั วลเกยี วกบั สุขภาพของทารกในครรภ์

ทารก

1. ภาวะแทรกซอ้ นในระยะแรกของทารกทมี กั พบในทารกแรกเกดิ ไดแ้ ก่ ภาวะหายใจลม้ เหลว
ภาวะเลือดออกในสมอง ภาวะติดเชอื ในระบบทางเดินอาหาร และการติดเชือในกระแสเลอื ด
2. ภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังการคลอดของทารกแรกเกิด ได้แก่ ภาวะปอดเรอื รัง สมองพิการ
สมองฝอ พัฒนาการทางระบบประสาทลา่ ชา้
3. ทารกคลอดก่อนกาํ หนดมคี วามเสียงต่อการเสียชวี ิตถงึ 15 เทา่ เมอื เทยี บกับทารกครบกาํ หนด

กระบวนการทกี ่อขนึ เอง (idiopathic processes) การเริมเจ็บครรภ์เปนกระบวนการปกติ ของ
ร่างกายทเี ชือวา่ เกิดจากการหลังของออกซโิ ตซนิ (oxytocin release) และการขาดโปรเจสเตอโรน
(progesterone withdrawal) แตพ่ บวา่ ระดับออกซโิ ตซินไม่ไดเ้ พิมขึนกอ่ นเริมเจ็บครรภ์คลอด
กอ่ นกําหนด และในระยะทา้ ยของการตงั ครรภ์มกี ารหลังอะดรโิ นคอร์ติโคโทรปกฮอร์โมน
(adrenoocorticotropic hormone: ACTH) ซึงกระต้นุ ให้หลังคอรต์ ซิ อล (cortisol) ส่งผลให้
ระดับโปรเจสเตอโรนลดลง และระดับเอสโตรเจนเพิมขึน ทาํ ให้มดลกู หดตัว

1. อายุครรภร์ ะหว่าง 24-37 สัปดาห์
2. มกี ารหดรัดตัวของมดลกู สมาเสมออยา่ งน้อย 4 ครังใน 20 นาทหี รือ 6 ครงั ใน 60 นาที
รว่ มกับมีการเปลยี นแปลงของปากมดลกู
3. ปากมดลูกเปดมากกว่า 1 เซนติเมตร
4. ปากมดลูกบางตวั ตงั แตร่ ้อยละ 80 ขนึ ไป
5. มีอาการและอาการแสดงอืน ๆ ทีอาจจะนาํ มาช่วยในการวินิจฉัย ไดแ้ ก่ มีมูกปากมดลกู
ออกมาทางช่องคลอด มกั มีเลอื ดปนเล็กน้อย ปวดหลังส่วนลา่ ง

1. การประเมินหาสาเหตุทีชัดเจนเปนหลกั สําคญั ในการวางแผนการรักษาต่อไป
2. ประเมนิ อายุครรภ์และสภาวะของทารกในครรภเ์ พือวางแผนการรักษาต่อไป
3. แนวทางการรกั ษาภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาํ หนด
4. การใหย้ ายับยังการหดรดั ตวั ของมดลกู โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พือยดื ระยะเวลาการตงั ครรภ์
ออกไปอย่างนอ้ ย 48 ชวั โมง เพือให้เสตียรอด์ออกฤทธไิ ดม้ ากทีสุด

5. การให้ยาปฏิชีวนะในระยะคลอดกรณีทไี มส่ ามารถยบั ยงั การคลอดได้ เพือปองกันการ
ติดเชือ GBS ในทารกแรกเกดิ ซงึ รนุ แรงถงึ ชีวิตได้
6. ตรวจ NST หรือ การตดิ ตามภาวะสุขภาพของทารกโดย EFM
7. การนอนพัก (bed rest) ช่วยลดแรงดันตอ่ ปากมดลกู ไมใ่ หข้ ยายออกไป และยังเปนการ
เพิมปรมิ าณเลอื ดมาเลยี งมดลูก

1. การปองกันภาวะเจบ็ ครรภค์ ลอดก่อนกําหนด
ใหข้ ้อมูลและเฝาสังเกตในสตรตี งั ครรภ์ทมี ภี าวะเสียงต่อการเกดิ ภาวะเจบ็ ครรภค์ ลอด
ก่อนกาํ หนด
บรหิ ารยาโปรเจสเตอโรน ในสตรตี งั ครรภ์กลมุ่ เสียงสูงทีมปี ระวัตกิ ารคลอดกอ่ นกาํ หนด
ตงั แตอ่ ายคุ รรภ์ 16-20 สัปดาหจ์ นถึง 37 สัปดาห์
แนะนาํ ให้หลกี เลยี งปจจยั เสียง เชน่ ความเครียด การทาํ งานหนักการพักผอ่ นทไี มเ่ พียงพอ
ค้นหา แนะนํา และส่งตอ่ เพือรกั ษาภาวะตดิ เชอื
ให้ความรู้แกส่ ตรตี ังครรภ์และครอบเกยี วเพือสังเกต อาการ และอาการแสดงของภาวะ
เจบ็ ครรภ์คลอดกอ่ นกําหนด และอาการผดิ ปกติทคี วรมาพบแพทย์ก่อนวนั นดั

1. อธบิ ายให้เขา้ ใจเกียวกบั ภาวะเจ็บครรภ์คลอดกอ่ นกําหนด ปฏบิ ตั ิตวั เพือคลายความวติ กกังวล
2. ให้นอนพักในทา่ นอนตะแคงซา้ ย เพือลดแรงดนั ตอ่ ปากมดลกู ไม่ใหข้ ยายออกไป และเพิมปริมาณเลอื ดมาเลยี งมดลูก
3. ตรวจรา่ งกาย
4. ดแู ลใหไ้ ด้รับยายบั ยงั การหดรดั ตัวของมดลูก ตามแผนการรักษา พร้อมทังเฝาระวังภาวะแทรกซ้อนของยาทไี ดร้ ับ
5. ดแู ลและติดตามผลการตรวจ NST และ External fetal monitoring (EFM)
6. กรณีทีไมส่ ามารถยบั ยังการคลอดได้ พยาบาลผดุงครรภจ์ ําเปนอย่างยิงทตี อ้ งให้การ พยาบาลในขณะคลอดเพือให้ทารก
คลอดออกมาอย่างปลอดภัย ดังนี

- ประเมินการเต้นของหัวใจทารก และการหดรัดตวั ของมดลกู - ดแู ลให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจน
- หลีกเลียงการให้ยาระงบั ความเจ็บปวด
- เตรียมอปุ กรณก์ ารช่วยฟนคนื ชพี และเตรียมทีมกมุ ารแพทย์และพยาบาลในการให้การช่วยฟนคืนชพี ทารกแรกเกิด
- การคลอดทางช่องคลอด หลีกเลยี งการทาํ หัตถการต่าง ๆ โดยไมจ่ าํ เปน
- ให้การชว่ ยเหลอื ทารกเมอื แรกเกดิ ทนั ที โดยรีบดดู สิงคัดหลงั ออกจากปากและจมูก และรบี ผูกและตดั สายสะดอื ทนั ที
เพือลดจํานวนเลอื ดจากมารดาไปสู่ทารก
- ให้ยาปฏชิ ีวนะเมอื เขา้ สู่ระยะคลอด เนืองจากการคลอดกอ่ นกําหนดถือวา่ เปนกลมุ่ เสียงตอ่ การตดิ เชือ
- ส่งเสรมิ สัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก โดยให้มารดาไดด้ ู สัมผัส และโอบกอด ทารกตามความเหมาะสมกับภาวะ
สุขภาพของทารกแรกเกิด
- การดแู ลหลังคลอด ใหข้ อ้ มูลต่าง ๆ กับมารดาหลงั คลอด และครอบครวั ในกรณที บี ุตรเสียชีวติ หรอื มภี าวะแทรกซอ้ น
ควรดแู ลให้การประคับประคองด้านจิตใจ

1. ยากลุ่ม beta-adrenergic receptor agonists (Terbutaline®, Bricanyl®)

ออกฤทธโิ ดยปดกันการออกฤทธขิ องสาร catecholamines ทีมีตอ่ beta 2 receptors
ปองกนั ฮอรโ์ มน norepinephrine และ epinephrine จับกับ receptors ทีปลายประสาท
ฮอรโ์ มน norepinephrine และ epinephrine จะสรา้ งจากต่อม หมวกไตทําหนา้ ทกี ระตนุ้ ให้
หัวใจบบี แรง ความดันโลหติ สูงขึน

การบรกิ ารยา

1. เรมิ Loading dose ด้วย bricanyl 0.25 mg (1/2 amp) ทางหลอดเลอื ดดาํ ทนั ที
2. จากนันให้ bricanyl 2.5 mg (5 amp) ผสม D/W 500 cc (1cc= 5 ug) โดยเรมิ ใหท้ างหลอดเลือดดํา โดยกําหนดหยดเรมิ ตน้ ที
10 ug/min (120 cc/hr.) จากนนั ปรบั เพิมยาครงั ละ 5 ug/min (30 cc/hr.) ทกุ 10 นาที
3. เมือไมพ่ บว่ามกี ารหดรดั ตวั ของมดลกู แล้ว ใหค้ งระดบั ยาเดมิ ต่ออีก 2 ชัวโมง จนถึงระดบั นอ้ ยทีสุด ทีไม่มกี ารหดรดั ตัวของมดลกู
ให้เหลอื ยาเพียง 30 cc/hr. แล้วคงระดับยาตอ่ ไว้อกี 8 ชัวโมง
4. จากนันให้ bricanyl 0.25 mg (1/2 amp) subcutaneous ทุก 4 ชวั โมง อีก 6 ครัง

อาการขา้ งเคยี ง

อาการขา้ งเคียงในสตรีตงั ครรภ์ทีพบ ไดแ้ ก่ มอื สัน ใจสัน ปวดศีรษะ นาทว่ มปอด ชีพจรเต้นเรว็ หวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะ
ความดนั โลหิตตา และmetabolic problems เช่น hyperinsulinemia, hyperlacticaemia, hypocalcemia เปนตน้
อาการข้างเคียงของทารกในครรภ์ได้แก่ หวั ใจเตน้ เรว็ นาตาลในเลอื ดสูงในครรภ์ นาตาลในเลือดตาหลงั คลอด และ ความดันโลหติ
ตาหลงั คลอด

ข้อหา้ มในการใช้ ควรหลีกเลยี งการใช้ยากล่มุ beta-adrenergic receptor agonists ในสตรี ตังครรภท์ ีมีโรคหัวใจ
hyperthyroidism, เบาหวานทคี วบคมุ ไม่ไดด้ ี ความดนั โลหิตสูงทคี วบคุมได้ไม่ด,ี severe hypovolemia, ครรภแ์ ฝด
และครรภ์แฝดนา

2. ยากลุ่ม Calcium-channel blocking drugs

ออกฤทธิโดยการยบั ยงั การหดรัดตัวของกลา้ มเนอื เรียบมดลูกโดยการขัดขวางการเขา้ เซลลข์ อง แคลเซยี มที cell membrane

การบริหารยา

1. เริมให้ Nifedipine 10 mg oral ทกุ 15 นาที 4 ครงั (ใหย้ าได้ไมเ่ กนิ 40 mg ใน 1 ชวั โมง แรก)
2. หลงั จากนันอีก 4-6 ชัวโมงจงึ ให้ Nifedipine 20 mg oral ทกุ 8 ชวั โมง เปนเวลา 48 – 72 ชัวโมง
3. หลงั จากครบ 72 ชวั โมง ให้ maintenance ยาดว้ ย Nifedipine 30-60 mg oral วนั ละ ครัง ไม่ควรให้ยานานเกนิ
กวา่ 7 วัน

อาการข้างเคียง

อาการข้างเคียงของสตรตี ังครรภ์ ร้อนวูบวาบ ปวดศีรษะ คลนื ไส้ ความดันโลหิตตา ใจสัน หวั ใจเต้นเรว็
อาการขา้ งเคยี งของทารกในครรภ์ พบนอ้ ยมาก หรอื อาจพบหวั ใจเต้นเร็ว

ข้อหา้ มในการใช้

ยากล่มุ Calcium-channel blocking drugs ในสตรีตงั ครรภท์ ีมคี วามดัน โลหติ ตากว่า 90/60 mmHg โรคหวั ใจ
การทํางานของตับบกพรอ่ ง และได้รับยาลดความดนั โลหติ ตวั อืนร่วมด้วย หรอื ระมัดระวงั ในกรณีได้รับยา MgSO4

3. ยากลุม่ Calcium antagonist (MgSO4) Magnesium sulfate

ออกฤทธิยบั ยังการหดรดั ตวั ของมดลกู โดยยบั ยงั แคลเซยี ม (calcium antagonist)
ไม่ให้ แคลเซยี มเขา้ สู่เซลลก์ ล้ามเนอื มดลกู ทําให้กล้ามเนอื มดลกู คลายตัว

การบริการยา

1. เริมให้ยา loading dose 10% MgSO4 40 cc (4 gm) ทางหลอดเลอื ดดําช้า ๆ ในเวลา 15-30 นาที
2. จากนันให้ 50% MgSO4 IV drip ในอัตรา 2 gm/hr. โดยขนาดของยาทใี ห้ไดส้ ูงสุดไมเ่ กนิ 3.5 gm/hr. ปรบั ขนาดเพิมหรอื
ลดตาม clinical response (therapeutic level 4-7 mEq/L)
3. หากไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกแลว้ อาจให้เปน Terbutaline (Bricanyl®) ฉีดทาง subcutaneous 0.25 mg (1/2 amp)
ทุก 4 ชวั โมง อีก 6 ครัง จนครบ 24 ชวั โมง

อาการข้างเคยี ง

อาการข้างเคยี งในสตรตี ังครรภ์ทีพบ ไดแ้ ก่ รอ้ นวบู วาบ ปวดศีรษะ กลา้ มเนอื ออ่ นแรง คลนื ไส้อาเจยี น pulmonary edema
ความดนั โลหิตตา
อาการข้างเคียงของทารกในครรภไ์ ดแ้ ก่ ทารกแรกเกดิ เซอื งซมึ และออ่ นแรง อาจกดการหายใจของทารกแรกเกดิ ภายหลังคลอด

ขอ้ ห้ามในการใช้
ยากลุ่ม Calcium antagonist (MgSO4) ในสตรีตังครรภ์ทมี ีภาวะของโรค myasthenia gravis โรคหัวใจ
และมกี ารทาํ งานของไตผิดปกติ

4. ยากลุ่ม glucocorticoid (dexamethasone®, betamethasone®)

เปนยากระตุ้นให้ปอดสรา้ งและหลังสาร surfactant จากเซลล์เข้าสู่ถงุ ลมปอด และเรง่ การเจรญิ ของโครงสร้างของปอด
ยาจะใหผ้ ลเตม็ ทภี ายหลงั ฉีด 24 ชัวโมง และจะคงสภาพนีอยูไ่ ดน้ าน 7 วนั หรอื แม้ใหไ้ มค่ รบ 24 ชวั โมง

การบริหารยา

1. ให้ dexamethasone 6 mg ฉีดทางกลา้ มเนือ ทุก 12 ชวั โมง จาํ นวน 4 ครัง หรอื
2. อาจเลอื กให้ Betamethasone 12 mg ฉดี ทางกล้ามเนือ ทุก 24 ชวั โมง จํานวน 2 ครัง

ขอ้ หา้ มในการใช้

ในการใชย้ ากลมุ่ glucocorticoid ให้ยานีในสตรตี งั ครรภท์ ีมีการตดิ เชือในร่างกาย โรคเบาหวานชนิดทคี วบคมุ ไมไ่ ด้
ความดันโลหติ สูงมาก และภมู คิ ุ้มกนั บกพร่อง

การตังครรภเ์ กินกาํ หนด/การตงั ครรภย์ าวนาน

การตงั ครรภเ์ กนิ กาํ หนด หมายถึง การตังครรภท์ มี อี ายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วนั ) หรอื มากกว่า โดยนบั จากวนั
แรกของประจาํ เดือนครังสุดท้าย (LMP)

สาเหตุทีแทจ้ ริงยงั ไม่ทราบชัดเจนแต่เชือว่าเกดิ จากปจจัยเสียง ดังนี
1. ปากมดลกู ไม่ตอบสนองตอ่ สารprostaglandin ทําให้ไมม่ อี าการเจ็บครรภ์คลอด
2. อายุสตรตี ังครรภท์ อี ายนุ ้อยกวา่ 25 ปหรอื มากกว่า35 ป
3. มปี ระวตั เิ คยตังครรภ์เกินกําหนดมาในครรภ์ครงั ก่อน
4. ทารกในครรภ์มภี าวะพิการเช่นต่อมหมวกไตฝอสมองเล็กเปนตน้
5. การไหลเวียนเลือดของมดลูกและรกผิดปกติ
6. สตรตี ังครรภท์ ีไดร้ บั ยายับยังการคลอด
7. มารดาของสตรตี ังครรภเ์ คยคลอดบตุ รเกินกาํ หนดมากอ่ น

สตรตี งั ครรภ์

1.เกดิ ความวติ กกงั วล เครยี ด เกรงว่าทารกในครรภจ์ ะเสียชวี ติ หรืออยู่ในภาวะอันตราย
2.การคลอดยาก เนอื งจาก ทารกตวั โตกว่าปกตทิ าํ ใหอ้ าจได้รบั บาดเจบ็ จากการคลอดจาก
การทาํ สูติหัตถการตา่ งๆ

ทารก

1.เสียชวี ิตในครรภ์ และการเจบ็ ปวยปรกิ ําเนิดเพิมมากขึนส่วนใหญ่เกิดจากทารกขาด
ออกซิเจน และสําลักขเี ทา
2.เสียงต่อการเกดิ ภาวะขาดออกซเิ จน เนอื งจากการตงั ครรภเ์ กินกาํ หนดจะทาํ ใหน้ าครํา
มีปริมาณนอ้ ยลงทําให้สายสะดือถูกกดทารกอาจเสียชวี ติ ได้
3.กลุม่ อาการสําลักขเี ทา (meconium aspiration syndrome: MAS) พบวา่ เมอื เกิดการ
ตงั ครรภเ์ กินกาํ หนดทารกจะถา่ ยขเี ทาออกมาปนเปอนในนาครํา ซึงทําให้เกดิ อาการแสดง
ของระบบหายใจล้มเหลวอาจพบเพียงเล็กนอ้ ย หรอื รุนแรงถึงขนั เสียชวี ติ ได้

อาจเกดิ การความผิดปกตขิ องทารกในครรภ์ เชน่ Anencephaly ต่อมใต้สมองผิดปกติ
ตอ่ มหมวกไตฝอ และการขาดฮอรโ์ มน Placental sulfatase deficiency ทาํ ใหก้ าร
สรา้ งฮอร์โมนเอสโตรเจนลดนอ้ ยลง จึงไมม่ อี าการเจบ็ ครรภร์ วมถึงปากมดลกู ไม่พรอ้ มที
จะนําไปสู่กระบวนการคลอด

1. การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ เช่นNST หรอื FAST, CST, BPP, การตรวจด้วยคลืนเสียงความถสี ูง
เพือประเมินปรมิ าณนาครา
2. การวัดปรมิ าณนาคราโดยการตรวจดว้ ยคลนื เสียงความถีสูง สัปดาห์ละ 2ครัง เรมิ ตงั แต่อายคุ รรภ์ 40-41สัปดาห์
3. เมือตรวจพบนาครานอ้ ยควรพิจารณายุติการตงั ครรภ์ทันที
4. เนอื งจากครรภเ์ กินกาํ หนดถือวา่ เปนการตังครรภท์ ีมคี วามเสียงสูง จงึ ควรนดั ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์สัปดาห์
ละ 2 ครัง หรืออาจจะพิจารณายตุ ิการตังครรภเ์ ลยก็ไดใ้ นกรณที ที ราบอายคุ รรภท์ แี น่นอน
5. การยุติการตงั ครรภค์ วรพิจารณาอายคุ รรภ์ และลกั ษณะอืน ๆ มาประกอบการตัดสินใจรว่ มดว้ ย

1. ยืนยันอายุครรภ์ควรไดร้ บั การตรวจสอบอายคุ รรภ์ทแี ม่นยําเพือช่วยยนื ยนั ว่าเปนการ
ตังครรภเ์ กินกําหนดอย่างแท้จรงิ
2.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์เพือยืนยนั สุขภาพทารกในครรภ์และเฝาระวังขณะรอการ
เจ็บครรภ์
3. ดแู ลและให้คาํ อธบิ ายเกยี วกบั การตรวจดว้ ยคลนื เสียงความถีสูง
4.ประเมินความพรอ้ มของปากมดลูก เพือชกั นาํ ใหเ้ กิดการคลอดโดยการประเมิน Bishop
score ถ้า Bishop score มีคะแนนมากกวา่ หรือเท่ากบั 6 แสดงวา่ ปากมดลกู มคี วามพร้อม
มแี นวโน้มทจี ะชกั นาํ สู่การคลอดไดส้ ําเรจ็
5. อธิบายให้สตรตี งั ครรภ์ และครอบครัวทราบเกียวกับการตังครรภเ์ กินกําหนด การมา
ตรวจตามนดั การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ การสังเกตการดินของทารกในครรภ์ และ
อาการผิดปกตทิ คี วรมาพบแพทยท์ นั ที
6. อธบิ ายใหส้ ตรตี งั ครรภ์ และครอบครวั ทราบเกียวกับแนวทางการดแู ลรกั ษากรณีทตี อ้ ง
รบั ไว้ในโรงพยาบาลเพือยตุ ิการตงั ครรภ์ รวมถึงภาวะแทรกซ้อนทีอาจเกดิ ขนึ
7. เมอื เข้าสู่ระยะคลอดตดิ ตามความก้าวหน้าของการคลอดโดยการตรวจทางช่องคลอด
และประเมนิ การหดรัดตวั ของมดลูก
8.ส่งเสรมิ สัมพันธภาพระหว่างมารดากบั ทารก โดยให้มารดาได้ดู สัมผสั และโอบกอดทารก
ตามความเหมาะสมกบั ภาวะสุขภาพของทารกแรกเกดิ
9.การดแู ลหลงั คลอด ให้ขอ้ มูลตา่ ง ๆ กบั มารดาหลงั คลอด และครอบครวั ในกรณที ีบตุ ร
เสียชวี ติ หรือมีภาวะแทรกซ้อน ควรดแู ลให้การประคับประคองดา้ นจติ ใจ
10. การดูแลทารกแรกคลอดควรมกี ุมารแพทยอ์ ย่ดู ว้ ยในระยะคลอด เพือคอยช่วยฟนชพี
ทารกแรกเกิดให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอดูดเมอื กและขีเทาจากปากและจมูกของทารกแรก
เกิดใหโ้ ลง่


Click to View FlipBook Version