The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by icenavinta5, 2021-01-18 21:36:20

Ebook

Ebook

พระอจั ฉริยภาพ

ดา้ นดนตรี

ของในหลวงรชั กาลท่ี



- คาํ นาํ -
หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-book) ฉบับนีเ้ ป� นส่วนหน่ึงของวิชา ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ชัน้ ป� ท่ี ๒
สาขาชวี วิทยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่อง
พระอัจฉริยภาพของพระราชา ทั้งนี้ ในรายงานนี้มีเนื้อหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพด้านตนตรี
ทัง้ ประวตั ิความเป� นมา พระอจั ฉริยภาพดา้ นดนตรตี ่าง ๆ ตลอดจนผลงานและบทประพันธ์เพลงต่าง ๆ ของพระองค์
ผู้จัดทาํ ได้เลอื กหัวขอ้ นีใ้ นการทาํ รายงานเน่ืองมาจากเป� นเรอ่ื งท่ีน่าสนใจ รวมทัง้ แสดงให้เห็นถึงพระอจั ฉริยภาพ

ของพระองค์ พระองค์ทรงสร้างสรรค์ผลงานไว้เป� นคุณูปการแก่แผ่นดินเป� นจาํ นวนมาก โดยเฉพาะในด้านดนตรี
เน่ืองจากพระองค์ทรงมีความสนพระราชหฤทัยทางด้านนีม้ ากตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จนอาจกลา่ วได้ว่าพระองค์ทรงเป� น

“คตี ราชนั ” โดยอย่างแท้จรงิ คณะผู้จดั ทาํ ขอขอบคณุ อาจารย์ ปทุมไฉไล สิงหนาถ ผู้ให้ความรูแ้ ละแนวทางการศึกษา
หวังว่ารายงานฉบับนีจ้ ะให้ความรูแ้ ละเป� นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผู้จัดทาํ ขอรบั
ไว้ด้วยความขอบพระคุณย่ิง
คณะผู้จัดทาํ



CONTENT ทรงสอนดนตรีใหผ้ ู้อืน่ เล่นดว้ ย
เคยเล่าพระราชทานว่า

“ ไดส้ อนคนตาบอดเลน่ ดนตรี สอน
ลาํ บาก เพราะเขาไมเ่ ห็นท่าทาง เม่อื
พยายามอธบิ ายจนเขา้ ใจสามารถเป� าออกมา.....” อ่านต่อหน้า ๗

๑ ทรงเริ่มเรียนดนตรี เพลงพระราชนิพนธ์ ระหว่างป�พทุ ธ
เมื่อมพี ระชนมายุ ๑๓ ศักราช ๒๔๘๙-๒๕๓๘ มีจาํ นวน ๔๘
พรรษา ขณะท่ปี ระทบั เพลง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
อยู่ที่ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ กับครชู าวอลั ซาส ชอ่ื ทรงมคี วามร้อู ย่างแตกฉานในทฤษฎกี ารประพันธ์ ทรงเป� นผูน้ าํ ในดา้ นการประพนั ธ์ทาํ
นองเพลงสากลของเมอื งไทย โดยทรงใส่คอร์ดดนตรที ี่..... อ่านต่อหน้า ๑๓
นายเวย์เบรชท์ โดยทรงเรียนการเป� า แซกโซโฟน
วิชาการ ดนตรี การเขยี นโน้ต… อ่านต่อหนา้ ๑



“…ดนตรีทุกชนิดเป� นศิลปะที่สาํ คญั อย่างหน่ึง มนุษย์เกือบทัง้ หมดชอบและรู้จักดนตรี ตัง้ แต่เยาวว์ ยั
คนเริ่มรูจ้ กั ดนตรบี ้างแล้ว ความรอบรูท้ างดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมขนึ้ กับเชาวน์ และความสามารถ
ในการแสดงของแต่ละคน อาศัยเหตุนีจ้ งึ กล่าวได้วา่ ในระหว่างศิลปะนานาชนิด ดนตรเี ป� นศิลปะที่แพร่
หลายกว่าศิลปะอ่นื ๆ และมีความสาํ คัญในด้านการศึกษาของประชาชนทุกประเทศดว้ ย…”

STORY กระแสพระราชดาํ รัสในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช
ภายหลังทีส่ ถาบนั ดนตรแี ละศิลปะแห่งกรุงเวียนนาทลู เกล้าฯ ถวาย
ประกาศนียบตั รเกียรติคุณชนั้ สูง ให้ทรงดาํ รงตาํ แหน่งสมาชกิ กติ ติมศักด์ิ
เมื่อวันที่ ๕ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๐๗

ทรงเร่มิ เรียนดนตรเี ม่ือมีพระชนมายุ ๑๓ พรรษา ขณะที่ประทับอยู่
ท่ีประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ กับครูชาวอลั ซาส ช่ือ นายเวย์เบรชท์
โดยทรงเรยี นการเป� า แซกโซโฟน วิชาการ ดนตรี การเขยี นโน้ต และ
การบรรเลงดนตรสี ากลต่างๆ ในแนวดนตรีคลาสสิคเบือ้ งต้น



ต่อมาจึงเรม่ิ ฝ� กดนตรีแจส๊ โดยทรงหัดเป� าแซกโซโฟนสอดแทรกกับ
แผ่นเสียงของนักดนตรที ่ีมีช่ือเสียงไดเ้ ป� นอย่างดี เชน่ Johnny Hodges
และ Sidney Berchet เป� นต้น จนทรงมีความชาํ นาญ และทรงโปรด
ดนตรปี ระเภท Dixieland Jazz เป� นอย่างมาก

พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงเคร่อื งดนตรไี ดด้ ีหลายชนิด ทัง้ ประเภทเคร่อื งลม เชน่ แซกโซโฟน คลารเิ นต ประเภทเคร่อื ง
ทองเหลอื ง เชน่ ทรมั เป� ต รวมทัง้ เป� ยโน และกีตารท์ ่ีทรงฝ� กเพิ่มเติมในภายหลังเพ่ือประกอบการพระราชนิพนธเ์ พลงและเพ่ือทรงดนตรี

รว่ มกับวงดนตรีส่วนพระองคเ์ อง ๔

ทรงเร่มิ พระราชนิพนธ์เพลงอย่างจรงิ จงั เม่ือมีพระชนมายุ ๑๘ พรรษา
ทรงพระราชนิพนธท์ าํ นองเพลง “แสงเทียน” เป� นเพลงพระราชนิพนธเ์ พลงแรก
จนถึงป� จจบุ ันมีเพลงพระราชนิพนธท์ ัง้ สิน้ ๔๘ เพลง แต่ละเพลงมีท่วงทาํ นองท่ี
ไพเราะประทับใจผู้ฟ� ง สอดคลอ้ งกับเนือ้ หาเพลงซ่ึงมีความหมายดงี าม ทัง้ ในแง่
ของภาษาและการส่ือถึงเร่อื งราวต่างๆ ไดอ้ ย่างลึกซึง้



ป� พ.ศ ๒๕๐๗ สถาบันการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุงเวยี นนา

ถวายประกาศนียบัตรและสมาชกิ กิตติมศักด์ิ ลาํ ดับที่ ๒๓ แดพ่ ระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หัว พระบรมนามาภิไธย “ภูมิพลอดุลยเดช” ปรากฏอยู่บนแผ่น
จาํ หลักหินของสถาบันทรงเป� นสมาชิกกิตติมศักด์ิท่ีมีอายุน้อยที่สุดและเป� น
ชาวเอเชยี เพียงผู้เดียวท่ีไดร้ บั เกียรติอันสูงสุดนี้



ทรงสอนดนตรีใหผ้ ู้อื่นเล่นดว้ ย เคยพระราชทานเล่าว่า

“ ไดส้ อนคนตาบอดเล่นดนตรี สอนลาํ บาก เพราะเขาไม่เหน็ ท่าทาง
เมอ่ื พยายามอธบิ ายจนเข้าใจสามารถเป� าออกมาเป� นเพลงไพเราะได้
หรอื แมแ้ ต่โนต้ เดยี วในตอนแรก ดูสหี น้าเขาแสดงความพอใจและภูมใิ จมาก ”

ทรงแนะนาํ วิธีการเลน่ ดนตรีพระราชทานผอู้ ืน่ ที่มาเล่นดนตรีถวาย หรือเล่นร่วมวง
ดูเหมอื นจะเคยมีรบั สั่งว่าการเลน่ ดนตรที าํ ใหเ้ กิดความสามคั คเี ป� นนกั ดนตรีเหมือนกนั



เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลง ล้วนแสดงออกถึงพระมหากรุณาธิคณุ ท่ีมีต่อพสกนิกรทุกหมูเ่ หลา่ โดยถ้วนหน้า
เพลงใกลร้ ุง่
บรรเลงเป� นปฐมฤกษ์ในงานของ
สมาคมเลยี้ งไก่แห่งประเทศไทย

เพลงความฝ� นอันสูงสุด
พระราชทานแก่

ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีเพ่ือประเทศชาติ

และมีเพลงประจาํ สถาบันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน ได้แก่ เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เพลงธรรมศาสตร์ เป� นต้น ๙

โปรดเกลา้ ฯ ให้จัดตัง้ สถานีวิทยุ อ.ส. (อัมพรสถาน) ในป� พุทธศักราช ๒๔๙๕
เพ่ือให้เป� นส่ือกลางให้ความบันเทิงและสารประโยชน์ในด้านต่าง ๆ พระราชทานช่ือ

วา่ “วงลายคราม” ได้มีการออกอากาศส่งวทิ ยุกระจายเสียงกับวงดนตรตี ่างๆ ๑๐

ต่อมาโปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ักดนตรรี นุ่ หนุ่มมาเล่นดนตรรี ว่ มกบั วงลายคราม จงึ เกดิ เป� น วงดนตรี อ.ส.วนั ศกุ ร์ ขึน้ มลี ักษณะพิเศษ คอื
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ทรงร่วมบรรเลงกบั สมาชิกของวง ออกอากาศกระจายเสียงทางสถานวี ทิ ยุประจาํ วนั ศุกร์ และยงั ทรงจดั
รายการเพลงเอง ทรงเลอื กแผ่นเสียงเองในระยะแรก บางครงั้ กโ็ ปรดเกล้าฯ ใหม้ กี ารขอเพลงและจะทรงรบั โทรศัพทด์ ว้ ยพระองค์เอง

นอกจากนีย้ ังทรงไดร้ เิ ร่มิ ให้นาํ เพลงสากลมาแต่งเป� นแนวเพลงไทย โดยโปรดเกล้าฯ ให้ นายเทวาประสิทธ์ิ พาทยโกศล นาํ
ทาํ นองเพลงพระราชนิพนธ์ มหาจฬุ าลงกรณ์ มาแต่งเป� นแนวไทยบรรเลงดว้ ยวงป่� พาทย์ เพื่อนาํ ขนึ้ บรรเลงถวายแล้วก็พระราชทานชอ่ื
ว่า เพลงมหาจุฬาลงกรณ์ เชน่ เดยี วกัน นับเป� นเพลงไทยเพลงแรกท่ีประดษิ ฐ์ขนึ้ จากเพลงไทยสากลตามพระราชดาํ ริท่ีทรงสรา้ งสรรค์

เพลงพระราชนิพนธ์ ระหวา่ งป� พุทธศักราช ๒๔๘๙-๒๕๓๘ มีจาํ นวน ๔๘ เพลง

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงมีความรู้อย่างแตกฉานในทฤษฎีการประพันธ์
ทรงเป� นผู้นาํ ในดา้ นการประพันธท์ าํ นองเพลงสากลของเมืองไทย
โดยทรงใส่คอร์ดดนตรที ี่แปลกใหม่และซับซอ้ น
ทาํ ให้เกิดเสียงประสานท่ีเขม้ ข้นในดนตรี เม่ือประกอบกับลลี าจงั หวะเต้นราํ ท่ีหลากหลาย.....

PLAYLIST

๑. มารช์ ราชวลั ลภ (Royal Guards March) ๑๔
๒. มหาจุฬาลงกรณ์ (Maha Chulalongkorn)
๓. พรป� ใหม่

๔. มารช์ ธงไชยเฉลมิ พล (The Colours March)
๕. ศุกร์สัญลกั ษณ์ (Friday Night Rag)
๖. มาร์ชราชนาวิกโยธิน (Royal Marines March)
๗. แผ่นดินของเรา (Alexandra)
๘. พระมหามงคล
๙. ยูงทอง
๑๐. เกษตรศาสตร์
๑๑. เรา-เหลา่ ราบ ๒๑ (We-Infantry Regiment 21)

๑๒. ดวงใจกับความรัก (Never Mind the Hungry Men’s Blues)

๑๓. เทวาพาคู่ฝ� น (Dream of Love Dream of You) ๑๕
๑๔. คาํ หวาน (Sweet Words)
๑๕. แก้วตาขวญั ใจ (Lovelight in My Heart)
๑๖. รักคนื เรือน (Love Over Again)
๑๗. ภิรมย์รัก (A Love Story)
๑๘. รัก

๑๙. ยามเย็น (Love at Sundown)
๒๐. สายฝน (Falling Rain)
๒๑. ใกลร้ ุง่ (Near Dawn)
๒๒. อาทิตย์อบั แสง (Blue Day)
๒๓. ยามค�า (Twilight)
๒๔. เม่ือโสมส่อง (I Never Dream)

๒๕. ลมหนาว (Love in Spring) ๑๖
๒๖. ค�าแล้ว (Lullaby)
๒๗. สายลม (I Think of You)
๒๘. แสงเดือน (Magic Beams)
๒๙. ไร้เดอื น (No Moon), ไร้จันทร์

๓๐. แสงเทียน (Candlelight Blues)
๓๑. ชะตาชีวติ (H.M. Blues)
๓๒. ยิม้ สู้ (Smiles)
๓๓. ไกลกังวล (When) /เกิดเป� นไทยตายเพ่ือไทย
๓๔. ฝ� น (Somewhere Somehow) / เพลนิ ภพู ิงค์
๓๕. ในดวงใจนิรนั ดร์ (Still on My Mind)
๓๖. เตือนใจ (Old-Fashioned Melody)

๓๗. เกาะในฝ� น (Dream Island) ๑๗
๓๘. แวว่ (Echo)
๓๙. ความฝ� นอันสูงสุด (The Impossible Dream)
๔๐. เราสู้
๔๑. เมนูไข่

๔๒. Oh I say
๔๓. Can’t You Ever See
๔๔. Lay Kram Goes Dixie
๔๕. Nature Waltz
๔๖. The Hunter
๔๗. Kinari Waltz
๔๘. Blues for Uthit

“…ทรงเป� นเอตทัคคะ และทรงเป�่ ยมไปดว้ ยพระปรีชาสามารถทางศิลปกรรม ประกอบดว้ ย
จติ รกรรม ประติมากรรม การถ่ายภาพ หตั ถกรรม และดนตรี จนไดร้ บั การถวายพระราชสมญั ญาว่า

“อคั รศิลป� น”

หมายถงึ ผมู้ ศี ลิ ปะอนั เลอเลศิ
หรอื ผู้เป� นใหญ่ในศลิ ป� น...”

- อ้างองิ -

MY King. สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 15 มกราคม 2564, จากเวบ็ ไซต์ htpp://joessattes.github.io/work/
ex/track.html

ปรยี านชุ คลอวฒุ วิ ฒั น์. (2560). ในหลวงรัชกาลที่ 9 กับพระอจั ฉริยภาพทางดนตร.ี สถานีวทิ ยุ
กระจายเสยี งรัฐสภา. http://library2.parliament.go.th/giventake/content_royrueng/
2560/rr2560-aug2.pdf

พระอจั ฉริยภาพของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช. สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 15 มกราคม
2564, จากเวบ็ ไซต์ htpp://www.midscaleoff3.com/km/information/012/01/k0004.pdf

- คณะผจู้ ดั ทาํ -

นางสาวนวนิ ตา ลีส้ ุริยะกุล ๖๒๔๐๑๑๖๑๑๓
นางสาวลภัสสร ป� กการะโถ ๖๒๔๐๑๑๖๑๒๐
นายจรี ฐั ติกลุ สีระสูงเนิน ๖๒๔๐๑๑๖๑๒๘
นานชนาธิป สนนา ๖๒๔๐๑๑๖๑๒๙
นายป� ยวฒั น์ อินทรหะ ๖๒๔๐๑๑๖๑๓๑
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑติ สาขาชวี วิทยา ป� ๒




Click to View FlipBook Version