The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแสดงทรรศนะโต้แย้ง (เนื้อหาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Methawee Thongkoom, 2021-02-21 09:52:29

การแสดงทรรศนะโต้แย้ง

การแสดงทรรศนะโต้แย้ง (เนื้อหาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6)

การโตแ้ ย้ง
ครูเมธาวี ทองคุ้ม

การโต้แยง้ ลักษณะ

คอื การแสดงทรรศนะระหวา่ ง 2 ฝ่าย ท่ตี รงขา้ มกัน

โดยแต่ละฝ่ายจะใชข้ อ้ มลู สถติ ิ หลักฐาน

เหตุผล เพ่อื สนับสนุนทรรศนะของตน
และคดั ค้านทรรศนะของอีกฝ่ายหนึง่

ให้ทรรศนะของตนได้รับการยอมรบั

องค์ประกอบของการโตแ้ ยง้

เหตุผล ขอ้ สรปุ (ทรรศนะ)

หลักการ ขอ้ เทจ็ จริงทีป่ รากฏ ส่วนสาคัญทแ่ี สดงทรรศนะ ข้อเสนอแนะ
ทย่ี กขนึ้ มาเพือ่ ช้แี จงหรือโต้แยง้
ข้อสนั นษิ ฐานหรอื ประเมินคา่ ในลกั ษณะการโตแ้ ยง้

เพื่อนามาเสนอให้ผอู้ นื่ พจิ ารณาข้อมูลฝั่งตรงขา้ ม

ตวั อย่างการโต้แย้ง

ทรรศนะที่ 1 นกั เรียนระดับมธั ยมตอนปลายของโรงเรยี นนีส้ ่วนใหญต่ ้องการออกไปประกอบ
อาชีพ เม่อื สาเร็จการศึกษาแล้ว (เหตผุ ล) ดงั นนั้ โรงเรยี นของเราจงึ ควรเปิดรายวชิ าเลือกวชิ า
พ้นื ฐานอาชพี ที่มอี ยูใ่ นหลักสตู รใหม้ ากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะมากได้ (ขอ้ สรุป = ข้อเสนอทรรศนะ)

ทรรศนะท่ี 2 (โตแ้ ยง้ ทรรศนะ 1) เรายงั ไม่ไดส้ ารวจอยา่ งเปน็ กจิ จะลกั ษณะเลยวา่
เม่ือสาเรจ็ การศึกษาแล้วนักเรียนของเราในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายมุง่ หมาย
ท่ีจะไปทาอะไรตอ่ ไป จะมีก็เพยี งแตก่ ารคาดคะเนเอาเองเท่านั้น (เหตุผล)
ฉะนั้นเราอาจประสบความล้มเหลวกไ็ ด้ ถา้ เรามุง่ ทีจ่ ะเปิดวิชาพน้ื ฐานอาชีพใหม้ ากยิง่ ขึน้ กว่า
ทีไ่ ดเ้ คยเปดิ มาแล้ว (ข้อสรปุ = ข้อโต้แย้งทรรศนะท่ี 1)

ตัวอย่างการโตแ้ ยง้

ทรรศนะที่ 3 การสอบเข้ามหาวทิ ยาลัย น่าจะสอบครัง้ เดียวก็พอ
จะได้ลดภาวะความเครยี ดของเดก็ สอบคร้งั เดียวกน็ ่าจะตดั สนิ ได้เพราะเดก็ ที่มีความสามารถ
จะสอบก่ีคร้งั ก็ได้คะแนนดีทกุ ครั้ง

ทรรศนะที่ 4 (โตแ้ ย้งทรรศนะ 3) เด็กท่จี ะเรียนในมหาวิทยาลยั น้ัน
ควรตอ้ งผ่านการทดสอบหลาย ๆ ด้าน การวัดเฉพาะความรู้เพยี งอย่างเดียวคงไมพ่ อ
ต้องมกี ารวดั ด้านความถนัดดว้ ย เพราะการเรยี นในระดับสูงเด็กตอ้ งวเิ คราะหเ์ ป็น
สังเคราะห์ได้รจู้ ักเชือ่ มโยง และการสอบหลายคร้งั ทาให้เด็กได้มีทางเลอื กมากกว่า
และทาให้ไม่กดดนั กบั การสอบเพยี ง 1 ครั้ง

ตัวอย่างการโต้แย้ง

ทรรศนะที่ 3 การสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั นา่ จะสอบครั้งเดียวกพ็ อ จะได้ลดภาวะความเครียด
ของเดก็ สอบครง้ั เดยี วก็นา่ จะตดั สนิ ได้ (ข้อสรุป = ขอ้ เสนอทรรศนะ)
เพราะเด็กท่มี ีความสามารถจะสอบกคี่ รัง้ กไ็ ดค้ ะแนนดที กุ ครัง้ (เหตผุ ล/ขอ้ สนับสนนุ )

ทรรศนะที่ 4 (โต้แย้งทรรศนะ 3) เด็กทีจ่ ะเรยี นในมหาวทิ ยาลยั น้นั
ควรตอ้ งผา่ นการทดสอบหลาย ๆ ด้าน การวดั เฉพาะความรู้เพยี งอย่างเดยี วคงไมพ่ อ
ต้องมกี ารวัดดา้ นความถนัดดว้ ย (ข้อสรุป = โต้แย้งทรรศะ 3) เพราะการเรยี นในระดับสงู
เดก็ ต้องวิเคราะห์เปน็ สงั เคราะหไ์ ด้รูจ้ กั เชอื่ มโยง และการสอบหลายคร้ังทาใหเ้ ด็กได้มี
ทางเลอื กมากกวา่ และทาให้ไม่กดดนั กบั การสอบเพียง 1 คร้ัง (เหตผุ ล/ขอ้ สนบั สนนุ )

สรุปลกั ษณะการโตแ้ ย้งทด่ี ี

ผรู้ เิ ร่มิ การโตแ้ ยง้ ควรเสนอส่ิงทีจ่ ะก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลง
ท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ละสรา้ งสรรค์
ฝา่ ยท่ีไม่เห็นด้วยกพ็ ยายามหาเหตผุ ล หลกั ฐานตา่ ง ๆ
มาคดั ค้านเพ่อื ช้ีไหเ้ ห็นว่าข้อเสนอนั้นไม่เหมาะสม ไม่มีประโยชน์

กระบวนการโตแ้ ย้ง

กาหนดประเด็นการโต้แย้ง
นิยามคาหรือกลุ่มคาสาคัญ
ค้นหา เรียบเรยี งข้อสนบั สนุนทรรศนะ

ชใี้ ห้เห็นจุดอ่อนทรรศนะฝา่ ยตรงขา้ ม

กระบวนการโต้แยง้

กาหนดประเดน็ การโตแ้ ยง้

ผู้เสนอประเด็นต้องเลอื กประเด็นท่สี ร้างสรรค์ เกดิ ประโยชน์
เปน็ กลาง ไมอ่ คติ และไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกแยก

การตั้งประเด็นในการโตแ้ ย้ง หมายถึง คาถามที่ก่อใหเ้ กิดการโตแ้ ยง้ กัน

การโต้แย้งจะต้องรวู้ า่ กาลังโต้แย้งเก่ยี วกบั ทรรศนะประเด็นใดเพื่อจะได้ไม่ได้แย้ง
ออกนอกประเด็น แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ดังน้ี

ประเดน็ การโตแ้ ย้ง
1 ข้อโตแ้ ยง้ เชิงข้อเทจ็ จรงิ

2 ข้อโต้แยง้ เชิงคุณค่า
3 ข้อโตแ้ ยง้ เชิงนโยบาย

การโต้แยง้ เชงิ ข้อเทจ็ จรงิ

การโตแ้ ย้งเก่ียวกบั ข้อเทจ็ จรงิ มีประเด็นสาคญั คอื
ประเดน็ ที่ 1 ข้อเทจ็ จรงิ ท่อี ้างถงึ
มีหรอื เป็นเช่นนน้ั จริงหรือไม่ ปรากฏหลกั ฐานท่ไี หน
ประเด็นท่ี 2 การตรวจสอบสิ่งทีอ่ า้ งถงึ มาน้ัน
สามารถทาไดห้ รอื ไมด่ ้วยวธิ ีใด น่าเช่ือถอื เพยี งใด

ตัวอย่างประเดน็ การโต้แย้งเชิงข้อเท็จจรงิ

ประเด็นท่ี 1 เรือ่ งนามาอ้างมีอยู่จรงิ ประเด็นท่ี 1 แยง้ วา่ เร่อื งน้ันไม่มีอย่จู รงิ
อยทู่ ีไ่ หน
ประเดน็ ท่ี 2 การตรวจสอบว่าเร่อื ง ประเด็นท่ี 2 แยง้ วา่ ไดต้ รวจสอบแล้ว
นน้ั มจี ริง ๆ สามารถตรวจสอบได้ แตไ่ ม่ปรากฏวา่ มี

ตวั อย่างประเดน็ การโต้แยง้ เชงิ ข้อเทจ็ จรงิ

ตวั อย่างประเดน็ การโต้แยง้ เชงิ ข้อเทจ็ จรงิ

การโต้แย้งเชิงคณุ ค่า

การโต้แย้งประเภทน้จี ะมคี วามรูส้ กึ สว่ นตัวแทรกอยู่ดว้ ย
โดยพจิ ารณาโตแ้ ยง้ ถงึ ประโยชน์/โทษ
ความเหมาะสม/ไม่เหมาะสมตามทรรศนะของแต่ละคน

ตวั อยา่ งประเดน็ การโต้แย้งเชงิ คุณคา่

ประเดน็ ที่ 1 ประเมนิ ค่าหรือตัดสนิ ประเดน็ ท่ี 1 แยง้ วา่ สิง่ นน้ั เปน็ ส่ิงทีไ่ มด่ ี
สง่ิ ใดสิ่งหนงึ่ ว่าดี(หรอื ไม่ด)ี (หรือดี = ตรงขา้ มกบั ฝา่ ยเสนอ)
ประเดน็ ท่ี 2 บอกหลกั ฐานที่ ประเด็นท่ี 2 แย้งวา่ หลักฐานของฝา่ ย
นามาสนบั สนุนความคดิ เชน่ เสนอไม่น่าเชือ่ ถือ หรือได้ตรวจสอบ
ผลการวจิ ยั ผลการทดลอง แลว้ แตไ่ มป่ รากฏวา่ มี

ตวั อยา่ งประเดน็ การโตแ้ ยง้ เชงิ คณุ คา่

การโต้แยง้ เชงิ นโยบาย

การโตแ้ ยง้ เก่ยี วกับนโยบายหรอื ขอ้ เสนอทใ่ี หเ้ ปลี่ยนแปลงสภาพเดมิ

ชี้ให้เหน็ วา่ หลักการเดมิ นั้นมจี ดุ ออ่ นจาเป็นตอ้ งเปล่ียนแปลงแลว้ เสนอหลกั การใหม่

ทจี่ ะแก้ไขจดุ ออ่ นนนั้ ไดแ้ ละชใ้ี หเ้ หน็ ผลดที ไ่ี ดร้ ับจากหลักการใหมน่ ั้น มีประเดน็ คอื
ประเดน็ ที่ 1 สภาพเดิมทเ่ี ปน็ อยนู่ ้ัน มขี ้อบกพร่องหรอื ไม่ อย่างไร
ประเดน็ ท่ี 2 ขอ้ เสนอเพอ่ื การเปลยี่ นแปลงจะแก้ไขขอ้ บกพร่องหรือ
ปัญหาที่มไี ด้หรือไม่ เพียงใด
ประเดน็ ที่ 3 ผลดีที่เกิดจากขอ้ เสนอน้นั มอี ย่างไร มากน้อยเพียงใด

ตัวอย่างประเด็นการโต้แย้งเชิงนโยบาย

ฝา่ ยเสนอ ประเดน็ ท่ี 1 ช้ีแจงวา่ ไมม่ ีขอ้ เสียหาย

ประเด็นที่ 1 ชี้ให้เห็นขอ้ เสยี หาย หรอื มกี ็ไม่มากนกั
ประเด็นท่ี 2 แยง้ วา่ ข้อเสนอนนั้ ปฏิบตั ไิ ด้
ของสภาพเดิม
ประเด็นท่ี 2 เสนอวา่ การเปลีย่ นแปลง ยาก ไมค่ มุ้ ค่าหรอื ไมค่ วรปฏบิ ัติ
ประเด็นท่ี 3 แย้งใหเ้ หน็ ว่าเปน็ ตรงกัน
สามารถแกไ้ ขข้อเสยี หายได้
ประเด็นท่ี 3 ชใ้ี หเ้ ห็นผลดขี องขอ้ เสนอ ขา้ ม บอกขอ้ เสียของฝา่ ยเสนอ

ตวั อยา่ งประเดน็ การโตแ้ ยง้ เชงิ นโยบาย

ตวั อยา่ งประเดน็ การโตแ้ ยง้ เชิงนโยบาย

?

นยิ ามคาหรอื กลุม่ คาสาคญั

การนิยามคาหรอื กล่มุ คาสาคัญ หมายถึง การกาหนดความหมายของคา
หรือกลุ่มคาสาคญั ที่ใช้ในการโต้แยง้ ให้ชัดเจน เข้าใจตรงกัน ไมใ่ หส้ ับสน
การนิยามคาหรอื กลุ่มคาสาคัญทาไดห้ ลายวธิ ี เช่น อาศัยพจนานุกรม
หรือสารานุกรม คาอธบิ ายของผู้รู้ ค้นหาข้อมลู จากแหลง่ ต่าง ๆ
หรอื ใช้การเปรียบเทยี บด้วยวิธกี ารยกตัวอย่าง

ค้นหา เรยี บเรยี งขอ้ สนับสนนุ ทรรศนะ

ทรรศนะนั้นจะนา่ เช่อื ถอื มากนอ้ ยเพียงใดขึน้ อยกู่ ับขอ้ สนับสนุน ซ่งึ มาจาก
หลักฐาน สถติ ิ ข้อเทจ็ จรงิ ตา่ ง ๆ จะตอ้ งทาให้ผฟู้ ังเขา้ ใจทรรศนะของเราชัดเจน

และดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง
ในการเรียบเรยี งจะตอ้ งมีส่วนนาให้ชวนใหต้ ดิ ตาม เสนอสาระสาคัญของทรรศนะ

เปน็ ลาดบั ขั้นตอน ชี้ให้เหน็ ประเดน็ ชัดเจนแสดงข้อสนบั สนุนอย่างหนักแน่น
มกี ารอา้ งท่มี าของข้อมลู ทัง้ ควรมีการสรุปสาระสาคญั ของทรรศนะทเ่ี สนอให้ชดั เจน

ช้ีให้เหน็ จุดออ่ นทรรศนะฝ่ายตรงข้าม

4.1 จดุ อ่อนในการนยิ าม ไดแ้ ก่ นยิ ามวกวน ไม่ชัดเจน ฟังแล้วไม่เขา้ ใจ
อคติ มุ่งแตป่ ระโยชนฝ์ า่ ยตน และอาจบดิ เบอื นความหมาย

4.2 จุดอ่อนในด้านปริมาณและความถกู ต้องของขอ้ มลู
ชี้ไห้เห็นวา่ ทรรศนะน้ันมีข้อมูลน้อยเกนิ ไป มีข้อมูลท่ีผิดพลาด ไมน่ ่าเชื่อถือ

4.3 จดุ ออ่ นในด้านสมมติฐานและวิธกี ารอนุมาน ช้ีให้เห็นวา่ สมมติฐาน
มจี ดุ อ่อนไมค่ วรคา่ แกก่ ารยอมรบั ทาใหท้ รรศนะน้ันมีน้าหนักน้อย ไม่นา่ เชื่อถอื

มารยาทในการพดู โตแ้ ยง้

หลีกเลี่ยงการใชอ้ ารมณ์ การโต้แย้งจะจบลง

ดว้ ยการแพช้ นะ คอื การแพช้ นะด้วยเหตุผล
ควรทาใจเปน็ กลางยอมรับเหตุผล

ต้องมีมารยาทในการใช้ภาษาใหถ้ ูกต้อง
เหมาะสมกบั ระดับของบุคคล สถานท่ี
ใช้ภาษาสุภาพ ออ่ นนอ้ ม เคารพซง่ึ กนั และกนั

ใชว้ จิ ารณญาณตดั สนิ เกยี่ วกบั ประเดน็ ในการโตแ้ ยง้
ประเดน็ ใดสรา้ งสรรค์ ประเดน็ ใดไมเ่ กดิ ประโยชน์

การวนิ ิจฉัยเพ่ือตัดสนิ ข้อโตแ้ ย้ง

การท่ีจะตดั สนิ วา่ ทรรศนะของฝ่ายใดควรแก่การยอมรับหรอื ไมย่ อมรบั นั้น
มี 2 วธิ ี คือ
1. พจิ ารณาเฉพาะเน้ือหาสาระที่นามาโตแ้ ย้งกันเทา่ น้นั
ไม่กลา่ วโยงถึงบคุ ลกิ ลักษณะของผูแ้ สดงทรรศนะ
2. พิจารณาโดยใชด้ ลุ พินิจในคาโต้แยง้ ของทงั้ สองฝ่ายโดยละเอยี ด
โดยใชว้ จิ ารณญาณ รับฟังโดยไมอ่ คติ

ข้อควรสังเกตในการโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรสังเกตในการโตแ้ ยง้ มีดังนี้

1. การโต้แย้งทาใหม้ คี วามคดิ ทีก่ วา้ งไกลขึ้น มองเหน็ ผลดแี ละผลเสียชดั เจนขึน้
2. การโตแ้ ยง้ ไม่กาหนดระยะเวลา วธิ กี าร จานวนบุคคล

และสถานะของผโู้ ตแ้ ยง้ ใชภ้ าษาเขยี นหรอื ภาษาพดู ก็ได้

3. การโตแ้ ย้งแตกตา่ งจากการโตเ้ ถียง เพราะเป็นการใช้ความคดิ

และวจิ ารณญาณที่อาศัยเหตผุ ลและหลักฐานเป็นสาคัญ

ขอ้ ควรระวงั ในการยกเหตผุ ลมาโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรระวงั ในการยกเหตผุ ลมาโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรระวงั ในการยกเหตผุ ลมาโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรระวงั ในการยกเหตผุ ลมาโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรระวงั ในการยกเหตผุ ลมาโตแ้ ยง้

ขอ้ ควรระวังในการยกเหตุผลมาโตแ้ ยง้

นี่เปน็ เพียงส่วนหนงึ่ ของตรรกะวบิ ัติเทา่ นั้นจริง ๆ
แลว้ การใชเ้ หตุผลท่ผี ิดยังมอี กี หลายข้อ
หากเรยี นรูแ้ ละนาไปใชอ้ ย่างระมดั ระวังและถกู ตอ้ ง
กจ็ ะทาใหก้ ารใหเ้ หตุผลของเรามนี า้ หนักมากยงิ่ ข้นึ
อยา่ ลมื วา่ การโตเ้ ถียงต้องต้ังอย่บู นพ้นื ฐาน
ของเหตุและผล ไม่ใช้อารมณ์กนั นะ

ตวั อย่างตรรกะวบิ ัติ….


Click to View FlipBook Version