บทที่ ๑ เรอ่ื งที่ ๑
ประโยคซบั ซ้อน
ภาษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓
ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธบ์ิ วั ทิพย์
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
ประโยค
ประโยค คือ หนว่ ยทางภาษาทีป่ ระกอบดว้ ยคา หรือหลายๆคา
เรยี งต่อกนั
* ถา้ หลายคาเรยี งตอ่ กัน ตอ้ งมีความสมั พนั ธ์ทางไวยากรณ์
ประโยค เป็นหนว่ ยทางภาษาทีส่ ามารถใชส้ ่อื สารได้ โดยทั่วไป
ประกอบไปด้วย ๒ สว่ นคอื ภาคประธานและภาคแสดง หรือ นามวลีกับ
กริยาวลี
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ ัวทิพย์
ประโยค
สว่ นประกอบของประโยค
* ภาคประธาน คือ ประธานของประโยค
* ภาคแสดง คอื กริยาและกรรมของประโยค
***********************************************************
* นามวลี คือ วลีท่มี ีคานามเป็นส่วนประกอบหลกั ทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ประธาน
ของประโยค
* กริยาวลี คือ วลีทม่ี ีคากริยาเปน็ สว่ นประกอบหลกั เป็นส่วนประกอบที่
สาคัญของประโยค
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
ประโยค
สรปุ ส่วนประกอบของประโยค
ประธาน + กรยิ า + กรรม
* สามารถใชค้ าขยายในสว่ นประกอบแตล่ ะสว่ นได้
ประธาน + ขยายประธาน + กริยา + ขยายกรยิ า + กรรม + ขยายกรรม
* ประโยค อย่างนอ้ ยต้องมคี ากริยา
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ ัวทิพย์
ตัวอยา่ งประโยค
- สุวิมลทานข้าวม้อื เยน็
- นกแขกเต้าบนิ ถลาลม
- นภาลยั ซ้อื รม่ คันใหม่
- วภิ านุชตัดแตง่ ต้นไมใ้ นสวน
- แม่ค้าทอนเงินลกู ค้า
- แม่นงั่ พักผอ่ นทร่ี ะเบยี งหนา้ บ้าน
* แยกว่าแตล่ ะประโยค สว่ นไหนคือประธาน กริยา และกรรม
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
จากขอ้ ความต่อไปน้ี ให้พิจารณาว่าขอ้ ความใดเปน็ ประโยค
- กรณุ าลกุ ขึ้น
- ทา่ นผมู้ ีเกยี รติทัง้ หลาย
- อยา่ ยอมแพ้เปน็ อันขาด
- เจ้าหนา้ ท่ฝี ่ายฝึกอบรมทเ่ี พิงต้ังครรภ์
- รู้สกึ พะอืดพะอมมาตงั้ แตเ่ ช้าแล้ว
- พวกเรานกั เรียนประจาอาเภอทง้ั ๖ คน
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
ชนิดของประโยค
ประโยค สามารถแบ่งได้หลายชนดิ ตามเกณฑต์ า่ งๆ ดงั น้ี
๑. แบง่ ตามโครงสรา้ งของประโยค มี ๓ ชนิด ได้แก่
๑.๑ ประโยคความเดียว
๑.๒ ประโยคความรวม
๑.๓ ประโยคความซ้อน
* ถ้าเรยี กช่อื แบบใหมค่ ือ ประโยคสามญั ประโยครวมและ
ประโยคซอ้ น ตามลาดับ
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บัวทิพย์
ชนิดของประโยค
๒. แบ่งตามเจตนา มี ๙ ชนิด ได้แก่
๒.๑ ประโยคบอกให้ทราบ ๒.๖ ประโยคประโยคขู่
๒.๒ ประโยคเสนอแนะ ๒.๗ ประโยคขอรอ้ ง
๒.๓ ประโยคสัง่ ๒.๘ ประโยคคาดคะเน
๒.๔ ประโยคหา้ ม ๒.๙ ประโยคถาม
๒.๕ ประโยคชักชวน
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
ชนิดของประโยค
๓. แบง่ ตามมาลา แบ่งได้ ๔ ชนิด ไดแ้ ก่
๓.๑ ประโยคบอกเลา่
๓.๒ ประโยคคาถาม
๓.๓ ประโยคคาส่งั
๓.๔ ประโยคปฏิเสธ
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ ัวทิพย์
ประโยคซบั ซอ้ น
ประโยคซบั ซอ้ น เกดิ จากการนาเอาประโยคหลายๆ
ประโยคมารวมกัน อาจเปน็ ประโยคชนิดเดียวกนั หรือประโยค
ต่างชนิดกันกไ็ ด้
เพื่อใหส้ ามารถเข้าใจประโยคซบั ซ้อนไดง้ า่ ยข้นึ จาเป็นตอ้ ง
เรียนประโยคพื้นฐานกอ่ น ในท่นี ี้จะอธิบายชนิดของประโยคทีแ่ บง่
ตามโครงสรา้ ง กอ่ นนาเขา้ สู่การสกู่ ารสรา้ งประโยคซบั ซ้อน
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บัวทิพย์
ชนิดของประโยคแบ่งตามโครงสร้าง
แบ่งตามโครงสร้างของประโยค มี ๓ ชนิด ไดแ้ ก่
- ประโยคความเดียว (ประโยคสามญั )
- ประโยคความซ้อน (ประโยคซ้อน)
- ประโยคความรวม (ประโยครวม)
* เพ่อื ให้งา่ ยต่อการอธิบาย จึงจะใชค้ าว่า ประโยคสามัญ
ประโยคซอ้ นและประโยครวม
ภาษาไทยกับครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
๑. ประโยคสามัญ
ประโยคสามัญหรอื ประโยคพื้นฐาน คือ ประโยคที่ประกอบไป
ดว้ ย
- นามวลี ทาหน้าที่เปน็ ประธานของประโยค
- กรยิ าวลี ทาหนา้ ทีเป็นภาคแสดงของประโยค
* ต้องไม่มคี าเชอ่ื มกรยิ า ถ้าคาเช่อื มกรยิ าวลี หรือคาเชอ่ื ม
ประโยค
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
ประโยคสามญั ตัวอย่างเชน่
- นกั เรียนทาการบ้าน
- ฉนั กนิ ผลไม้
- พ่อกบั พี่กาลงั รดนา้ ต้นไม้
- สมชายโบกมือลาเพือ่ นๆ
- สดุ าทาอาหารกนิ เอง
- เขาซักผ้าสะอาดดี
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
• ๒. ประโยคซอ้ น
ประโยคซ้อน คือประโยคทีป่ ระกอบดว้ ยประโยคหลกั
(มุขประโยค) และประโยคยอ่ ย(อนุประโยค) มารวมเป็นประโยค
เดยี วกัน โดยมี ประพันธสรรพนาม(ผ,ู้ ท่ี, ซ่งึ อัน) ประพนั ธวเิ ศษณ์
หรอื บพุ บทเปน็ บทเชื่อม
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
•
- ประโยคหลกั (มขุ ประโยค) คือ ประโยคท่เี ป็นใจความ
สาคญั ท่ตี ้องการสื่อสาร
- ประโยคย่อย (อนปุ ระโยค) คือ ประโยคท่ที าหน้าทขี่ ยาย
ความประโยคหลกั ใหส้ มบูรณ์
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
• ตวั อย่างประโยคซ้อน เช่น
- ฉันรกั เพอ่ื นทม่ี ีนสิ ยั เรียบรอ้ ย
- พ่อแมท่ างานหนักเพ่อื ลกู จะมอี นาคตสดใส
- เขาบอกใหฉ้ ันลุกขึน้ ยืนทันที
* ตัวท่พี ิมพ์ตวั เอน คอื อนุประโยค
* คาที่ขดี เสน้ ใต้ คือ คาเช่อื มมขุ ยประโยคกับอนปุ ระโยค
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
• อนุประโยคแบ่งออกเปน็ ๓ อยา่ ง คือ
๒.๑ นามานปุ ระโยค คือ ประโยคยอ่ ยทาหน้าทเ่ี หมือนคานาม
โดยจะทาหน้าทีเ่ ปน็ ประธานหรอื กรรมของประโยค คาเช่อื มนา
มานุประโยค ได้แก่ ที่ ที่วา่ วา่ ให้
ตัวอยา่ งเช่น
- ฉันรักเพื่อนท่มี นี ิสยั เรียบร้อย
- ทเ่ี ขาเลา่ มาน้นั ถูกตอ้ งแน่นอน
- ครดู ใี จทน่ี กั เรียนสอบผ่านหมดทกุ คน
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
• ๒.๒ คณุ านปุ ระโยค คือ อนปุ ระโยคที่ทาหนา้ ที่ขยายนามหรอื
สรรพนามใหไ้ ดค้ วามชัดเจนย่งิ ขึ้น ทาหน้าทีเ่ ชน่ เดียวกับวิเศษณ์
คุณานปุ ระโยคมักจะใชป้ ระพันธสรรพนาม (ที่ ซึ่ง อัน วา่ ผู้) เป็น
ตัวเชอ่ื ม เชน่
- เสื้อที่พตี่ ีต่ ีใ๋ ส่สวยมาก
- ผลของการไมร่ ับผดิ ชอบอนั เกิดจากความขี้เกยี จย่อมเปน็
ผลเสีย
- พีต่ ่ตี ซ๋ี ้อนท้ายรถหน่มุ ใหญท่ อ่ี ย่ขู ้างบา้ น
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
• ๓.๓ วเิ ศษณานุประโยค คือ อนุประโยคทท่ี าหนา้ ทีข่ ยาย
กรยิ าหรอื วเิ ศษณ์ โดยสังเกตจากสนั ธาน ก็ เม่อื จน เพราะ
ตั้งแต่ จงึ เลย ถึง ระหวา่ งท่ี ฯลฯ เช่น
- เมื่อพีต่ ่ตี ไ๋ี ม่อยากเป็นดาราก็อยา่ ไปบังคับเลย
- เน่อื งจากเศรษฐกิจไมด่ ี ประชาชนจึงประหยัดค่าใชจ้ า่ ย
- เพราะมวั แต่คยุ โทรศพั ท์เลยเกิดอุบัติเหตุ
- พีต่ ต่ี ไ๋ี ปทางานตง้ั แต่เพง่ิ จะฟา้ สางเทา่ น้นั เอง
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
•
ประโยครวม คือ ประโยคทร่ี วมเอาประโยคสามญั ต้ังแต่ ๒
ประโยคขึน้ ไปมารวมกัน หรอื เปน็ ประโยคซ้อนก็ได้ โดยใช้
สนั ธานเป็นตัวเช่อื ม แต่ก็สามารถแยกออกเปน็ ประโยคสามญั
และประโยคซ้อน ทม่ี ีใจความสมบูรณ์ได้เหมือนเดิมโดยไมต่ ้อง
เพิม่ สว่ นใดสว่ นหนึง่ ในประโยค
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
• ๓.๑ ประโยครวม ทเ่ี กิดจากประโยคสามัญกับประโยค
สามญั สามารถแบง่ ได้เป็น ๔ ลักษณะ ไดแ้ ก่
- ประโยคท่มี ีเน้อื ความคล้อยตามกนั
- ประโยคทีม่ เี นือ้ ความขัดแย้งกนั
- ประโยคท่มี ีเนือ้ ความให้เลือกเอาอยา่ งใดอย่างหน่งึ
- ประโยคทม่ี ีเนือ้ ความเปน็ เหตุเป็นผล
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
- ประโยคทีม่ เี นือ้ ความคล้อยตามกัน
คือ ประโยคสามัญ ๒ ประโยค ที่นามารวมกนั โดยมีเนอ้ื ความสอดคลอ้ งกนั
มีสนั ธาน และ แล้ว แลว้ ...ก็ ครนั้ ...จึง พอ...ก็ เปน็ ตวั เชือ่ ม เช่น
- พอฉันทาการบ้านเสร็จกไ็ ปดูโทรทศั นท์ ันที
* แยกได้เป็น พอฉันทาการบา้ นเสรจ็ / ฉนั ไปดูโทรทศั นท์ นั ที
- สมุ าลีและจินดาเรียนยุวกาชาดเหมือนกนั
* แยกไดเ้ ปน็ สมุ าลีเรียนยวุ กาชาด / จินดาเรียนยุวกาชาด
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
- ประโยคทีม่ เี น้อื ความขัดแย้งกัน
คือ ประโยคสามญั ๒ ประโยคที่นามารวมกนั โดยมเี นอ้ื ความ
ขดั แย้งกัน กริยาในแต่ละประโยคตรงกันข้ามกัน ส่วนใหญจ่ ะมสี นั ธาน
แต่ แตท่ ว่า กวา่ ...ก็ เป็นตวั เช่อื ม เชน่
- ฉนั รกั เขามากแต่ทว่าเขากลับไม่รักฉนั เลย
* แยกได้เป็น ฉันรกั เขามาก / เขากลบั ไม่รกั ฉันเลย
- พ่ตี ีต่ ีก่ ินเก่งมากแต่ไม่อว้ นเลย
* แยกได้เปน็ พี่ตีต่ ีก่ ินเกง่ มาก / ไม่อว้ นเลย
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
- ประโยคทีม่ เี นอ้ื ความใหเ้ ลือกเอาอย่างใดอยา่ งหนง่ึ
คือ ประโยคที่มกี ริยา ๒ กริยาทีต่ ่างกัน มสี นั ธาน หรือ หรือไม่ก็ มิ
ฉะนั้น...ก็ เป็นตัวเช่อื ม เช่น
- แก้วหรือไม่ก็ก้อยไปชว่ ยแมย่ กของหน่อยจะ้
* แยกไดเ้ ปน็ แกว้ ไปช่วยแม่ยกของหนอ่ ยจ้ะ / กอ้ ยไปชว่ ยแม่ยกของ
หนอ่ ยจะ้
- จะทาการบา้ นหรือจะไปอ่านหนังสือ
* แยกไดเ้ ปน็ จะทาการบ้าน / จะไปอ่านหนงั สือ
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
- ประโยคทีม่ เี น้อื ความเป็นเหตุเปน็ ผล
คือ ประโยคที่มปี ระโยคสามัญประโยคหนึ่งมีเนือ้ ความเปน็ ประโยค
เหตแุ ละอกี ประโยคหนึง่ มเี น้อื ความเป็นประโยคผล
มสี ันธาน จึง ฉะนน้ั ดงั นนั้ เพราะฉะนนั้ เป็นตวั เชื่อม เชน่
- เพราะเธอเปน็ คนเหน็ แกต่ วั จึงไมม่ ใี ครคบค้าสมาคมดว้ ย
* แยกได้เป็น เธอเปน็ คนเห็นแกต่ วั / ไม่มใี ครคบค้าสมาคมดว้ ย
- เนอ่ื งจากตัง้ ใจเรียน ผลการเรยี นจึงออกมาอย่างที่คาดหวัง
* แยกไดเ้ ป็น ตง้ั ใจเรยี น / ผลการเรยี นออกมาอยา่ งที่คาดหวัง
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ ัวทิพย์
๓.๒ ประโยครวม ทเ่ี กิดจากประโยคสามัญกบั ประโยคซ้อน
ตวั อยา่ งเชน่
- หมอจะไปหาคนไขห้ รือจะใหค้ นไข้ไปหาหมอ
- เกษตรกรแถบน้นี ยิ มทานาและเลี้ยงปลาที่สามารถกนิ วชั พืชได้
- แก้วใบที่แตกนนั้ ตดิ กาวแล้วแต่ยงั ใส่นา้ ไมไ่ ด้
- ครูสั่งใหน้ ักเรียนอ่านหนังสือและทาแบบฝึกหดั บทที่ ๓
* ท่ขี ีดเสน้ ใตค้ ือ ประโยคซ้อน
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
๓.๒ ประโยครวม ทเ่ี กิดจากประโยคซอ้ นกบั ประโยคซ้อน
ตัวอย่างเชน่
- คุณจะเลือกประชาธิปไตยทีน่ กั การเมืองคอร์รปั ชน่ั หรือเลือก
เผด็จการท่ผี นู้ ามคี ุณธรรม
- พีต่ ต่ี ๋รี ับประทานแต่อาหารทีม่ ปี ระโยชน์และดื่มเฉพาะนา้ สะอาด
- แฟนพี่ต่ตี บ๋ี อกวา่ จะมาถงึ พร่งุ นี้แต่ไมไ่ ดบ้ อกว่าจะมาถงึ กีโ่ มง
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
จากเนื้อหาเรื่องประโยคทีผ่ า่ นมา คงพอเปน็ พืน้ ฐานในการทา
ความเขา้ ใจ ประโยคซบั ซอ้ น ได้ง่ายขึน้ โดยจะเริ่มจากการอธิบาย
ลกั ษณะของประโยคซบั ซ้อนและตัวอย่างของประโยคซับซ้อน
ตามลาดบั
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
ประโยคซับซอ้ น มีลักษณะทพ่ี อสรุปได้ดังนี้
๑. ประโยคซบั ซอ้ น ทเ่ี กิดจากประโยครวม มีคาเชื่อมหลายคา
เชื่อมประโยคยอ่ ยหลายประโยคให้เปน็ ประโยคเดยี วกัน
ตัวอยา่ งเช่น
- ผมรักครอบครัวและเพื่อนๆ แต่ผมรักประเทศชาตบิ า้ นเมือง
มากกวา่ คนในครอบครัวและเพื่อนพ้องท้งั หลายของผม
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
จากตวั อยา่ ง สามารถวเิ คราะห์ส่วนประกอบไดด้ ังนี้
“ผมรกั ครอบครวั และเพื่อนๆ แต่ผมรกั ประเทศชาติ
บ้านเมืองมากกว่าคนในครอบครัวและเพือ่ นพอ้ งทัง้ หลายของผม”
*ประโยคซับซ้อนประกอบไปด้วย ๓ ประโยคย่อย ไดแ้ ก่
- ผมรกั ครอบครวั - ผมรักเพื่อนๆ
- ผมรกั ประเทศชาติบา้ นเมืองมากกวา่ คนในครอบครัวและเพือ่ น
พอ้ งทง้ั หลายของผม
* มคี าเช่อื ม ๒ คา ไดแ้ ก่คาวา่ และ, แต่
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
กรณีที่ประโยคซับซ้อนประกอบดว้ ยประโยคย่อยหลายประโยค
เชือ่ มเขา้ ด้วยกันด้วยคาเชื่อม และ, หรือ เราสามารถใช้คาเช่อื ม
เพียงครงั้ เดยี ววางไว้หนา้ ประโยคยอ่ ยสุดทา้ ย
ตวั อย่างเชน่
- เรารักพ่อ เรารกั แม่ เรารกั ลูกเมียและก็รักบา้ นเกิดเมืองนอน
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ ัวทิพย์
จากตัวอยา่ ง สามารถวเิ คราะหป์ ระโยคย่อยได้ดังนี้
“เรารักพอ่ เรารักแม่ เรารกั ลูกเมยี และก็รักบา้ นเกดิ เมืองนอน”
* เกิดจากประโยคสามญั ๔ ประโยค ได้แก่
- เรารักพ่อ
- เรารกั แม่
- เรารักลูกเมยี
- เรารักบ้านเกิดเมอื งนอน
* คาเชอ่ื มหน้าประโยคย่อยลาดบั สุดท้าย คือคาว่า และ
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
๒. ประโยคซอ้ นท่มี ีอนุประโยค หลายอนปุ ระโยคซ้อนอยู่
ตวั อย่างเชน่
- แผน่ ดินทบ่ี รรพบุรษุ ของเราตอ้ งแลกมาดว้ ยเลอื ด ซ่งึ ชโลม
หล่งั ลงดินผนื นี้ จะยอมใหค้ นทเ่ี อาแตก่ อบโกยทาลายพินาศลงไป
ไมไ่ ด้
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
จากตัวอย่างสามารถวอเคราะหส์ ่วนประกอบไดด้ งั นี้
“แผ่นดินท่ีบรรพบรุ ษุ ของเราตอ้ งแลกมาด้วยเลอื ด ซ่งึ ชโลมหล่ัง
ลงดินผนื น้ี จะยอมให้คนทเ่ี อาแต่กอบโกยทาลายพินาศลงไปไมไ่ ด้”
* ประโยคซับซอ้ นนเ้ี กิดจากประโยคสามัญวา่ แผ่นดินผืนนี้ จะ
ยอมใหค้ นทาลายพนิ าศลงไปไม่ได้
** แผน่ ดิน มอี นปุ ระโยค ที่บรรพบุรุษของเราตอ้ งแลกมาด้วยเลือด
** คน มอี นปุ ระโยค ทีเ่ อาแต่กอบโกย
*** เลือด มีอนปุ ระโยค ซึง่ ชโลมหลง่ั ลงดิน ซอ้ นอยู่อีกชั้นหน่งึ
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ ัวทิพย์
๓. ประโยคที่ทั้งลักษณะของประโยคซ้อนและประโยครวมอยู่
ด้วยกนั
ตวั อย่างเชน่
- เขาสอนลูกชายวัยเรยี นวา่ ควรมีความรกั แตไ่ มไ่ ด้สอนลกู ชาย
วา่ จะต้องมีแฟนในขณะที่ยงั เรียนหนงั สืออยู่
ภาษาไทยกับครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ ัวทิพย์
จากตัวอย่างวิเคราะห์ส่วนประกอบของประโยคได้ดังนี้
“เขาสอนลูกชายวัยเรยี นว่าควรมีความรกั แต่ไมไ่ ดส้ อนลกู ชาย
ว่าจะตอ้ งมีแฟนในขณะท่ยี งั เรยี นหนังสืออย”ู่
* ประโยคซบั ซอ้ นมีโครงใหญ่เป็นประโยครวม เชอ่ื มด้วยคาวา่ แต่
* ประโยคย่อยคอื เขาสอนลูกชายวยั เรียนวา่ ควรมคี วามรัก กับประโยค
ไม่ได้สอนลูกชายว่าจะต้องมีแฟนในขณะที่ยังเรยี นหนังสอื อยู่
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
เพื่อให้เขา้ ใจมากยิ่งขึน้ จะอธิบายจากการยกตวั อยา่ งตาม
โครงสร้างของประโยค คือ ประโยคสามญั ประโยคซ้อนและประโยค
รวม ที่เชื่อมหลายๆ ประโยคขึน้ จนกลายเป็นประโยคสามัญท่ี
ซบั ซ้อน ประโยคซอ้ นท่ซี บั ซ้อนและประโยครวมทซ่ี ับซ้อน
ตามลาดับ
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
๑. ประโยคสามญั ที่ซบั ซอ้ น
คือ ประโยคสามัญ ท่มี สี ่วนประกอบของประโยคเปน็ กลมุ่ คาที่
มีขนาดยาว หรือประโยคสามัญหลายๆ ประโยคมาเรยี งตอ่ กัน
ตัวอย่างเช่น
ชาวไทยในถ่นิ อ่นื เช่น ไทใหญ่ ไทลือ้ และลาว เป็นตน้ มคี ติความ
เชอ่ื เรอ่ื งขวัญทานองเดียวกนั
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
“ชาวไทยในถ่นิ อน่ื เช่น ไทใหญ่ ไทลือ้ และลาว เปน็ ตน้ มคี ติความ
เช่อื เร่อื งขวัญทานองเดียวกัน”
- ภาคประธาน คือ ชาวไทยในถน่ิ อื่น เช่น ไทใหญ่ ไทลือ้ และลาว เป็นตน้
* ประธาน คือ ชาวไทย
* ขยายประธาน คือ ในถิน่ อ่นื เชน่ ไทใหญ่ ไทล้อื และลาว เปน็ ต้น
- ภาคแสดง คือ มีคตคิ วามเชือ่ เรอ่ื งขวญั ทานองเดียวกนั
* กริยา คือ มี
* กรรม คือ คตคิ วามเชือ่
* ขยายกรรม คือ เรือ่ งขวัญทานองเดียวกนั
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ ัวทิพย์
“สมเด็จเจ้าแตงโม บคุ คลสาคัญ ชาวเมืองเพชรสมยั กรงุ ศรี
อยุธยาตอนปลาย ในหนงั สอื ตานานเมอื งเพชรบรุ แี ละบรุ ษุ เรืองนาม
ของเสวกเอกพระยาปรยิ ัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษณ)์ และในสมุด
ราชบรุ ีของจางวางโทพระยาคทาธรบดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลราชบรุ ี
ระบวุ า่ สมเด็จเจา้ แตงโมมีความอดทน”
- ภาคประธาน คือ สมเด็จเจ้าแตงโม...
* ประธาน คือ สมเดจ็ เจ้าแตงโม
* ขายประธาน คือ ข้อความทีเ่ หลือยาวๆ
- ภาคแสดง คือ มีความอดทน **ม(ี กริยา) และ ความอดทน(กรรม)
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บวั ทิพย์
๒. ประโยครวมทซ่ี บั ซ้อน
คือ ประโยครวมท่ปี ระกอบดว้ ยประโยคสามญั มากกวา่ ๒
ประโยค การสื่อความหมายจึงอาจมากกวา่ ๑ จุดประสงค์ หรืออาจ
เกิดจากประโยคสามัญรวมกับประโยคซ้อน และประโยคซอ้ นรวมกับ
ประโยคซอ้ นก็ได้
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
“ธรรมทานบวชเณรแล้วหดั เทศนธ์ รรมวัตรและเรยี นภาษาบาลี”
สามารถแยกสว่ นประกอบของประโยคได้ดังนี้
๑. ธรรมทานบวชเณร
๒. ธรรมทานหัดเทศนธ์ รรมวัตร
๓. ธรรมทานเรียนภาษาบาลี
เป็นประโยคความรวมที่มใี จความคล้อยตามกัน
* ใชค้ าเชื่อมคือ แล้ว, และ
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บวั ทิพย์
“พระปดิ ทวารไม่ไดช้ ่วยให้อยู่คงกระพนั หรือฟนั ไม่เขา้ ยิงไม่ออกแต่จะ
ชว่ ยปิดปกความช่วั ”
สามารถแยกส่วนประกอบของประโยคไดด้ ังนี้
๑. พระปิดทวารไมไ่ ด้ช่วยใหอ้ ยคู่ งกระพนั
๒. พระปิดทวารไม่ได้ชว่ ยให้ฟันไม่เข้ายงิ ไมอ่ อก
๓. พระปิดทวารจะช่วยปดิ ปกความช่วั
เปน็ ประโยคความรวมที่มีใจความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนง่ึ และ
ขัดแยง้ กนั
ภาษาไทยกบั ครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
๓. ประโยคซอ้ นทซ่ี บั ซ้อน
ประโยคซอ้ นท่ซี บั ซอ้ น คือ ประโยคซ้อนท่มี ีอนปุ ระโยคมากกว่า ๑
ประโยค เปน็ ส่วนประกอบ
- นามานุประโยคซ้อนนามานุประโยค
- คุณานุประโยคซอ้ นคุณานุประโยค
- วเิ ศษณานุประโยถซ้อนวเิ ศษณานุประโยค
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
- นามานุประโยคซ้อนนามานปุ ระโยค
“เรายอ่ มร้ไู ดเ้ องวา่ การทาความดที าให้ความสขุ เกิดขึน้ ในใจ”
* มุขยประโยค คือ เราย่อมรู้ได้เอง
* อนุประโยค คือ การทาความดี และ ความสุขเกิดข้นึ ในใจ
* คาเช่อื ม คอื ว่า (เชอ่ื ม มขุ ยประโยคกับอนปุ ระโยค)
ทาให้ (เชอ่ื มอนปุ ระโยคกบั อนปุ ระโยค)
ภาษาไทยกบั ครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิ์บัวทิพย์
- คุณานปุ ระโยคซอ้ นคุณานปุ ระโยค
“เรื่องส้ันทม่ี ีคุณค่าจะต้องแสดงแนวคิดซ่งึ เพม่ิ พนู ภูมิปญั ญา”
* มขุ ยประโยค คือ เรือ่ งสนั้ จะตอ้ งแสดงแนวคดิ
* อนปุ ระโยค คือ มีคุณคา่ และ เพม่ิ พนู ภมู ิปญั ญา
* คาเช่อื ม คือ ท่ี , ซง่ึ
ภาษาไทยกับครูพีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
- วเิ ศษณานุประโยถซอ้ นวเิ ศษณานุประโยค
“เขาเอามือตบอกเด็กเบาๆ เมื่อเขารบั ขวัญเดก็ เพอ่ื ขวัญจะได้
อยู่กบั ตวั เดก็ ”
* มขุ ยประโยค คือ เขาเอามือตบอกเด็กเบาๆ
* อนุประโยค คือ เขารบั ขวญั เด็ก และ ขวญั จะไดอ้ ยกู่ ับเด็ก
* คาเชอ่ื ม คือ เมือ่ (เช่อื มมขุ ยประโยคกับอนปุ ระโยค)
เพื่อ (เชอ่ื มอนปุ ระโยคกบั อนปุ ระโยค)
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิ์บัวทิพย์
แบบฝึกทบทวน
ภาษาไทยกับครูพีต่ ีต่ ี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ุทธิบ์ วั ทิพย์
จากประโยคทก่ี าหนดให้ วเิ คราะห์วา่ แต่ละประโยคมี
สว่ นประกอบใดบ้าง
๑. แม่ไกโ่ ต้งของหนแู หวนเลย้ี งลกู เจีย๊ บตวั น้อยๆ ท่ลี านดนิ
อย่างนา่ อบอนุ่
* มขุ ยประโยค คือ...................................................
* อนุประโยค คือ ...................................................
* คาเช่อื ม คือ ...................................................
ภาษาไทยกับครพู ีต่ ี่ตี๋ – อ. พรี ะเสก บรสิ ทุ ธิบ์ วั ทิพย์
๒. อากาศทส่ี มทุ รปราการวนั นี้ร้อนอบอา้ วเหมือนเชน่ เคย
* มุขยประโยค คือ ...................................................
* อนุประโยค คือ ...................................................
* คาเชือ่ ม คือ ...................................................