The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book เรื่องเล่าชาวชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by a.singhatragul, 2022-11-14 05:19:15

E-Book เรื่องเล่าชาวชุมชน

E-Book เรื่องเล่าชาวชุมชน

ความเชื่อเกี่ยวกับสระนํา้ ศกั ดิส์ ทิ ธใิ์ นเมอื งโบราณบา+ นคเู มอื ง
หมู 2 ตาํ บลทุงคลี อาํ เภอเดิมบางนางบวช จังหวดั สุพรรณบรุ ี20

วราลี นาทองแถม
บทนาํ

คําวา ความเช่ือ มีนักวิชาการและผูรูให
ความหมายไวอยางหลากหลาย สําหรับผูเขียน
คําวา ความเช่อื หมายถึง การยอมรับในสงิ่ ทพี่ ิสูจน
ไดและพิสูจนไมไดหรือเรียกวาสิ่งลี้ลับ โดย
ชาวบานหรือผูมีจิตศรัทธาใหความเคารพนับถือ
สืบตอกันมาหลายยุคหลายสมัย ส่ิงเหลาน้ีมัก
เ กิ ด ข้ึ น ภ า ย ใ น จิ ต ใ จ ข อ ง ม นุ ษ ย โ ด ย ผ า น ก า ร
พิจารณาของแตละบุคคล ซ่ึงมนุษยทุกคนลวนมี
ความเช่ือที่แตกตางกันขึ้นอยูกับวาในแตละพ้ืนที่มี
สิ่งศักด์ิสิทธ์ิใดเขามาเกี่ยวของกับชุมชนน้ัน ๆ เม่ือ
มีความเชื่อจึงมีพิธีกรรมและการบนบานเกิดข้ึน
โดยจุดประสงค อาจมีหลายเหตุผล คนสวนใหญมักทําเพ่ือตองการส่ือสารกับเทพเจาผานพิธีกรรมบางอยาง
หรือตองการขอพร หากทาํ แลวประสบผลสําเร็จจงึ กลับมาตอบแทนดวยสิง่ ของหรือส่ิงอ่ืน ๆ ตามที่ไดสัญญาไว
การกระทําน้จี งึ เรยี กวา “การแกบน”

จากประสบการณของผูเขียนที่ไดพบเปEนการบนบานสระน้ําศักด์ิสิทธ์ิในเมืองโบราณบานคูเมือง
ที่ชาวบานใหความเคารพนับถือกันมาต้ังแตด้ังเดิมโดยเช่ือวาใครทําดียอมประสบผลสําเร็จในชีวิต
หากใครที่เขามาเพื่อหาผลประโยชนในทางที่ไมดีจากสถานท่ีแหงนี้มักไดรับโทษกลับไปไมชาก็เร็ว ขอความน้ี
ไดจากการสัมภาษณเปEนคํากลาวของนายสุทิน กล่ินนํ้าหอม อดีตผูใหญบานและเปEนผูใหขอมูลเก่ียวกับ
สระนํ้าศักดิ์สิทธิ์ จากการสอบถามพบวามีบุคคลภายนอกใหความสนใจและไดมาเรียนรูผานการฟKง
จากประสบการณของอดตี ผใู หญบาน ซึง่ ผูท่ีมาศกึ ษาไดแก นักเรียนและบุคคลทเ่ี ดนิ ทางมาจากตางจงั หวดั

ท่ีมาและความสําคัญของสระนํา้ ศกั ดิส์ ิทธิใ์ นเมอื งโบราณบ+านคเู มอื ง

บานคูเมืองเปEนชุมชนท่ีอาศัยอยูบนเนินดินโดยมีคูน้ําลอมรอบ พ้ืนที่เกาะกลางมีสระนํ้าซ่ึงชาวบาน
เชื่อวาคือสระน้ําศักดิ์สิทธิ์เปEนที่เคารพบูชาของคนในพ้ืนท่ีและใหบุคคลภายนอกไดศึกษาเรียนรู บริเวณนี้
เปEนที่ราบทุงกวาง แตมีป?าไมเบญจพรรณข้ึนอยูท่ัวไป อดีตผูใหญบานไดเลาถึงการอพยพวา “ในสมัยกอน
บรรพบุรุษไดอพยพเขามาอยูอาศัยและทํามาหากินบริเวณพื้นท่ีนี้ จํานวน 9 คน ซึ่งแตละคนยายมาจาก
บานโพธิ์ชนไก อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี ยายมาจากบานจําลอง อําเภอแสวงหา จังหวัดอางทอง
และยายมาจากบานพระนอนจักรสีห จังหวัดสิงหบุรี จนมาถึงปKจจุบัน นอกจากนี้ยังเลาถึงสภาพการเปEนอยู
ในสมัยกอนเก่ียวกับการเดินทางเขา-ออกในหมูบาน เน่ืองจากสภาพพื้นที่ไมเอื้ออํานวยตอการเดินทาง
เพราะเปEนคูนํ้า มีทางเขา-ออก 4 ทาง ในชวงนํ้าข้ึนไมสามารถสัญจรโดยพาหนะได ตองใชสะพานไม
พาดไปยังอีกฝK`ง ตอมาไดขุดดินจากสระนํ้ามาทําถนนเพื่อใหสะดวกมากขึ้น เมื่อทําการขุดไปเรื่อย ๆ
จึงพบของโบราณและพระเครื่องท่ีแตกหักเปEนช้ินเล็ก รวมถึงตนเองไดขุดเจอหินและอุมขึ้นมาจากนํ้า

20 เปนE สวนหนง่ึ ของรายวิชาคตชิ นวทิ ยา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

49


เพียงคนเดียว ในขณะที่ชาวบานยืนดูและสงเสียงดวยความดีใจ” จากน้ัน นางสําเริง กล่ินนํ้าหอม
ไดอธิบายเสริมวา “ลักษณะของสระนํ้าศักด์ิสิทธ์ิเปEนแองกระทะ หลังจากขุดดินข้ึนมาใชจึงมีความลึก
และเม่ือชาวบานทราบเรื่องราวจึงไดมีการตั้งศาลตายายข้ึน เปEนส่ิงศักด์ิสิทธิ์ใหผูคนกราบไหว นอกจากนี้
นางสําเริง ไดพูดถึงความเชื่อของตนเองท่ีมีตอสระนํ้าแหงน้ีวา ตนเองไดบนบานแลวประสบผลสําเร็จจึงจะนํา
หนังตะลุงมาแกบน ซึ่งกอนหนานี้มีคนจากภาคใตมาบนบานทําใหประสบผลสําเร็จจึงไดนํารํากลองยาวและ
หนังตะลงุ มาถวาย” เหตุผลดังกลาวทาํ ใหผูคนท่มี าบนบานทาํ ตามกนั เรือ่ ยมาเพราะเช่ือวาจะไดในสงิ่ ทีข่ อ

ภาพท่ี 1 ภาพสระนาํ้ ศักดิส์ ิทธิ์ ภาพท่ี 2 ภาพหินท่นี าํ ขึน้ มาจากสระนาํ้ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์
ถายภาพเม่ือวนั ท่ี 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2565 ถายภาพเม่ือวันที่ 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2565

สถานที่แหงน้ีนอกจากจะเปEนแหลงรวมความศรัทธาของผูคนยังเปEนแหลงโบราณสถานที่มีคุณคา

ไมเปลี่ยนแปลงไปเน่ืองจากเปEนพื้นที่ท่ีมีเจาของ โดยนายสุทิน กล่ินน้ําหอม อดีตผูใหญบานเลาวา

“ในสมัยกอนท่ีบริเวณน้ีไมมีการซ้ือขายเพียงแตเปEนการบอกใหปากเปลาจากบรรพบุรุษ” ซึ่งปKจจุบันไดมีการ
ขุดพบช้ินสวนตาง ๆ ที่หลงเหลืออยูโดยสํานักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี ไดบันทึกขอมูลไวบนแผนหินออน
ทตี่ ั้งอยบู รเิ วณหนาทางเขากอนถึงสระนํ้าศักด์ิสทิ ธิ์

ภาพที่ 3 ศาลตายายใกลบรเิ วณสระนํ้าศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ภาพท่ี 4 ขอมลู จากการขุดพบช้ินสวนตาง ๆ

ถายภาพเมือ่ วันท่ี 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2565 ถายภาพเม่ือวันท่ี 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2565

ความเชือ่ เก่ียวกับการแกบ+ นและแนวทางปฏบิ ัติที่สืบตอกันมาของชมุ ชน

เม่ือมีการบนบานเกิดขึ้นชาวบานบานคูเมืองยอมทราบกันดีวา ตองแกบนดวยหนังตะลุงหรือกลองยาว
ซ่ึงเปEนอัตลักษณของชุมชนท่ีสืบตอกันมาและเช่ือกันวาส่ิงศักด์ิสิทธิ์ที่สิงสถิตอยู ณ สถานท่ีแหงน้ีช่ืนชอบ
แตหากบนส่งิ ใดไวแลวไมทาํ ตามจะเกิดเรื่องไมดขี ึน้ โดยนางสาํ เรงิ เลาวา “จากเหตุการณท่เี กิดข้นึ ทาํ ใหไมมีใคร
กลาผิดสัจจะวาจาอีก เพราะกลัวเกิดอาเพศกับตนเองเน่ืองจากมีคนบนบานหนังตะลุงแตนํานักรองมาแทน
ทาํ ใหมฝี ูงผ้ึงบินมาตอย” ดวยเหตุน้ีชาวบานจึงไมมใี ครแสดงอาการลบหลหู รือผดิ คาํ พดู

การสร+างแหลงทองเที่ยวของชุมชนในอนาคต

นายประหยัด ทองสุข ผูชวยผูใหญบานคนปKจจุบัน ไดอธิบายวา ในอนาคตอาจจะมีการตอยอดใหชุมชน
เปนE แหลงทองเทยี่ วแหงแรกของตาํ บลทุงคลี สิง่ ทีจ่ ะทําในอนาคตคือ จดั เปนE โฮมสเตยและอาจจะทาํ ตลาดนํ้า

จ า ก ก า ร ที่ ไ ด ไ ป ศึ ก ษ า แ ล ะ เ ก็ บ ข อ มู ล ทํ า ใ ห เ ห็ น ถึ ง พ ลั ง ค ว า ม เ ชื่ อ ค ว า ม ศ รั ท ธ า ข อ ง ผู ค น ท่ี มี ต อ
สระน้ําศักด์ิสิทธิ์เพมิ่ มากขึ้น แมวาเวลาจะเปลี่ยนไปแตสถานที่บรเิ วณนยี้ งั ไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม

50


แหลงโบราณคดบี า+ นโปงI มะนาว
เรอ่ื งราวของอดตี ในป7จจบุ ันท่เี ลาผานกาลเวลา และคุณคาที่เหลอื อยู

ศจุ นิ ธรา ศรสี อน

โลกเกิดข้ึนมาเปEนระยะเวลายาวนานมีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยูมากมายทั้งมนุษย สัตว และพืชท่ีวนเวียน
ตามวฏั จักรของมนั เองไปเรื่อย ๆ ผานไปหลายยุคสมัย ยาฉันเคยบอกวาหมูบานฉันก็เคยเปEนท่ีอยูอาศัยของคน
รุนกอน ๆ กอนที่จะถูกปลอยรางเปEนระยะเวลายาวนาน จนกระท่ังมีการสรางที่อาศัยของคนกลุมใหมข้ึนซึ่งก็
คอื หมูบานในปจK จุบัน ฉันรสู กึ แปลกใจมากวารูไดอยางไร เพราะเทาท่ีฉันทราบมาจากพอหมูบานนเี้ คยเปEนป?า
มากอน พอคนมาอยูป?าก็คอย ๆ หายไป ท่ีอยูอาศัยก็เขามาแทน แลวเหตุใดยาฉันถึงบอกวาท่ีนี่เคยเปEนท่ีอยู
อาศัยมากอนโดยทไ่ี มมหี ลกั ฐานอะไรหลงเหลอื อยูเลย

มันเปEนไปไมไดอยูแลวท่ียาฉันจะพูดออกมาโดยไมมีหลักฐาน ยาฉันบอกวาเพราะหมูบานเรามีแมน้ํา
ลําคลองไหลผานจึงเหมาะเปEนที่อาศยั หรือท่พี ัก และนอกจากนั้นยังมีการขุดพบโครงกระดูก และโบราณวัตถุ
ในหมูบานใกลเคียงอีกดวย คือบานโป?งมะนาว ปKจจุบันจัดแสดงเปEนแหลงโบราณคดีบานโป?งมะนาว ท่ีอยู
ภายในวัดโป?งมะนาว

แหลงโบราณคดีบานโป?งมะนาวมีทงั้ หลมุ จัดแสดงท่ีเปEนโครงกระดูกของมนุษยทัง้ ยุคหิน และยุคโลหะ
นอกจากนน้ั ยังมีหลุมท่เี ปนE โครงกระดูกของทารกที่อยบู รเิ วณใตถุนบาน และหลุมลาสุดที่คนพบคือโครงกระดูก
ท่ีคาดวาเปนE สตั วจําพวกกระทิง ลุงมาเปEนคนที่อาศัยอยใู นหมูบาน และยงั เขามาชวยงานทว่ี ดั บอย ๆ ในขณะท่ี
ฉันเดินดูรอบ ๆ ลุงมาก็คอยบอกเลาเหตุการณท่ีเกิดขึ้น ลุงมาบอกวา “หลุมแรกคือหลุมที่ชาวบานเขาขุด
กันเอง วาจะขุดทําไรทวั่ ไปแตเจอโครงกระดูกกบั เคร่ืองปKOนดินเผาเขาก็เลยยกพ้ืนท่ีใหวัด แตเขากข็ ุดกนั ตอเพื่อ
ศึกษาดูวามันมีอะไร แลวก็กลายมาเปEนท่ีท่ีใหคนเขามาศึกษาดูกันนี่แหละ หลุมมันเลยไมคอยสวย” ฉันรูสึก
ตืน่ เตนมากที่ไดยินเรอ่ื งอะไรแบบนี้ มันดสู นุก ไดรเู รอ่ื งราวท่ีเกดิ ข้ึนจากผรู ูจริง ลุงมายงั บอกกับฉันอีกวา “โครง
กระดูกตรงกลางตามจริงเขามีขันสัมฤทธิ์ครอบไวที่ปาก แตตอนน้ีเอาไปจัดแสดงไวในพิพิธภัณฑแลว” ฉันเลย
เกิดความสงสัย เพราะเทาท่ีดโู บราณวตั ุอื่น ๆ ก็อยใู นหลุมปกติ เหตุใดถงึ เอาเพียงขันสัมฤทธิ์ไปไวในพิพิธภัณฑ
เพียงอยางเดียว ฉนั จงึ ถามลุงมาวา “เอาไปแคขันสมั ฤทธ์ิเหรอคะ แลวโบราณวตั ถุท่เี หลอื ละคะ” ลงุ มาตอบฉัน
วา “อันอ่ืน ๆ เขาก็เอาไปบางชิ้น แตขันมันมีมูลคา เคยโดนขโมยไปหลายตอหลายครั้ง แตก็เอากลับมาคืนทุก
ครั้ง เขาบอกวาเหมือนมีเจาของมาทวง เขากลัวเลยเอามาคืนไวที่วัดเหมือนเกา” ฉันฟKงจบก็รูสึกกลัวขึ้นมา
ทันที เพราะฉันยืนอยูชิดหลุมท่ีน้ันพอดี หลังจากที่ลุงเลาจบลุงก็ขอตัวกลับบานไป ฉันก็น่ังพักอยูบริเวนใตตน
จามจรุ ตี นใหญ

เวลาผานไปสักพักหลังจากท่ีมัคคุเทศกพักเที่ยงเสร็จ นอง ๆ ก็พาฉันเขาชมพิพิธภัณฑที่จัดแสดง
โบราณวัตถุไว พรอมทัง้ อธบิ ายวาอยใู นยคุ ใด เร่มิ ท้ังแตยุคหนิ มโี บราณวตั ถุ เชน กําไล หนิ ทใ่ี ชสําหรบั ทําอาหาร
แลวก็พวกหอยสวยงามตาง ๆ ที่คาดวาเปEนของมีคาในสมัยนั้น ในยุคโลหะเริ่มมีเคร่ืองมือที่ใชลาสัตว เชน
หอก ธนู และโบราณวัตถุที่เปEนโลหะอีกหลายชิ้น และยังมีหมอดินเผาท่ีมีโครงกระดูกของทารกท่ีฝKงไวใตท่ีอยู
อาศัย มัคคุเทศกบอกวาการฝKงแบบนั้นสื่อวา “ใหเด็กทารกอยูกับเหยาเฝ]ากับเรือน” หลังจากที่ชมภายใน
พิพิธภณั ฑ ฉันเลยขอนองใหไปอธบิ ายในสวนของหลุมทจ่ี ัดแสดงไวอีก 2 หลมุ หลมุ ตรงขามกับหลมุ ทล่ี ุงมาเลา
นองบอกวาในหลุมนม้ี ีท้งั ยุคหนิ ที่อยลู กึ สดุ และยุคโลหะท่ีตน้ื ขน้ึ มา โดยสังเกตจากโบราณวัตถุทพี่ บ อกี หลุมคือ
หลุมท่ีไกลออกไป มีโครงกระดูกชายหญิงท่ีคลายถูกฝKงลักษณะจับมือกันอยู ชาวบานเชื่อวาเปEนคูรักกัน ดวย
ความสงสยั ฉันเลยถามนอง ๆ มคั คเุ ทศกวา “ ดจู ากอะไรที่บงบอกถึงเพศ ” นองบอกวาดจู ากกระดูกเชิงกราน

51


ผูชายจะเปEนรูปตัว V ผูหญิงจะเปEนรูปตัว U หรือ L เพราะเกิดจากการคลอดลูกทําใหกระดูกเชิงกรานขยาย
ออก และนองยังบอกอีกวาหลุมน้ีคือปลาย ๆ ของสมัยน้ันแลว เพราะมีหลักฐานที่นอยลง สาเหตุท่ีมีโครง
กระดูก และโบราณวตั ถุในบรเิ วณนมี้ าก ชาวบานเช่อื วาทน่ี ี่เคยเปนE ท่ีฝงK ศพ หรอื ป?าชาในอดีต

แหลงโบราณคดีบานโป?งมะนาว เปEนหน่ึงในสถานท่ีสําคัญของชุมชน และเปEนที่ที่ทําใหรูเร่ืองราว
ตาง ๆ ของคนในชุมชน ท้ังยังเปEนสถานท่ีที่คนในชุมชนใหความสําคัญทางดานความเช่ืออีกดวย ถึงแหลง
โบราณคดีบานโป?งมะนาวจะมีการขุดพบทั้งโครงกระดูก และโบราณวัตถุมากมายแลว แตชาวบานก็เชื่อวา
สถานท่ีแหงน้ีมีมากกวาน้ี เพียงแตยังไมพบหลักฐานท่ีชัดเจน เพราะชาวบานในชุมชนยังพบเจอโบราณวัตถใุ น
บริเวณบานของตนเองอยูเร่อื ย ๆ

52


หลวงพอปาผู+เมตตาแหงลุมแมน้าํ น+อย21

สาธติ ง้วิ เทศ

ต้ังแตอดีตจนถึงปKจจุบัน สังคมไทยยังคงมีความเชื่อความศรัทธาเกี่ยวกับเรื่องเครื่องรางของขลัง
ไสยศาสตรอยูอีกเปEนจํานวนมากรวมถึงผูเขียนดวย และสิ่งที่คูมากับเร่ืองไสยศาสตรก็คือพระเกจิตามวัด หรือ
ในสถานปฏิบัติธรรมที่ประพฤติดีประพฤติชอบใหความเชื่อความศรัทธาแกชาวบาน จนบางคร้ังก็ไดสราง
อิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริยแสดงเรอื่ งเหนือธรรมชาตใิ หบคุ คลตาง ๆ ไดเห็นแลวจึงเปEนเรอื่ งเลาสืบตอมาเปนE เวลานาน
จนพระเกจิบางทานก็ไดมรณภาพลงไปนานแลว หรือเกิดพระเกจิขึ้นมาใหมก็ยังมีอยูในปKจจุบัน เนื่องจากวา
ถามีความเช่ือความศรัทธาแลวพระเกจิทานก็จะคุมครองปกปKกรักษาใหผูศรัทธาน้ันแคลวคลาดปลอดภัย ให
อะไรก็ไดตามที่เราไดขอ ซึ่งก็แลวแตความเช่ือของแตละบุคคล ไมมใี ครสามารถบอกไดวาเรื่องไสยศาสตรมีจริง
หรือไม แตพระเกจิท่ีทําใหผูคนศรัทธานั้นจะเกิดจากเร่ืองเหนือธรรมชาติอยางเดียว แตพระเกจิก็เกิดจากการ
ชวยเหลือ ความเมตตา เปEนผูใหผูคอยส่ังคอยสอนใหทําความดียึดหลกั ในแกนแทของพระพุทธศาสนาก็มีท่ีทํา
ใหมลี ูกศษิ ยมากมายโดยเกดิ จากปญK ญา การกระทาํ ของทานเอง

วัดโบสถ ก็เปEนวัดหน่ึงทมี่ ีพระเกจปิ ระจาํ หมบู านโดยไดใหความเชอื่ ความศรัทธากับชาวบานตงั้ แตอดีต
จนมาถึง ณ ปKจจบุ ันท่ยี งั ทาํ ใหมผี ูใหความเคารพและยงั รจู ักกับหลวงพอปาท่ีอยคู วู ดั โบสถเสมอมา วัดโบสถเปEน
วัดท่ียึดเหนี่ยวจิตใจเปEนศูนยรวมของชาวบานทั้ง 2 ฝากฝ`Kงแมน้ํานอยและชาวบานหมูอื่น ๆ ไดหลั่งไหลเขา
มารวมทาํ บุญทาํ นุบํารุงพระพทุ ธศาสนา พุทธสถานใหยังคงอยูมาไดจนถึงปKจจุบนั ถงึ แมวา หลวงพอปาทานได
มรณภาพไปเปEนรอยกวาปcแลว แตชาวบานยังใหความศรัทธาความเคารพทาน รวมถึงใครมีเรื่องเดือดเน้ือ
รอนใจ หาที่พึ่งพิงไมไดแลวก็นึกถึงวัดโบสถเปEนอันดับแรกท่ีตองมาขอใหหลวงพอปาชวยโดยการบนบาน
ศาลกลาวขอใหทานชวยขอใหสมหวังในสิ่งท่ีตองการ และถาประสบความสําเร็จก็นําของมาถวายทาน ทุกคน
ยังเชือ่ วาถึงกายทานจะมรณภาพไปนานแลว แตจิตของทานยังคงอยูคูวดั โบสถและผูศรัทธาไปอีกยาวนาน

ในการศึกษาเรื่องความความเชื่อความศรัทธาของหลวงพอปา วัดโบสถ ตําบลโพงาม อําเภอสรรคบุรี
จังหวัดชัยนาทในครั้งนี้ศึกษาเพ่ือทําความเขาใจเก่ียวกับคติชนคดีในมิติแหงการแทงทะลุสูสภาวะเหนือโลกท่ี
ทาํ การศกึ ษาถงึ บทบาทของพระเกจิในทองถ่ิน การทําความเขาใจและการปฏิบัตขิ องผศู รทั ธาท่ีมีใหแกพระเกจิ
และสถานทท่ี ่เี ปEนท่ยี ึดเหนี่ยวจิตใจในชมุ ชนทีม่ ีอยู

กอนอื่นผมตองขอเลายอนไปถึงประวัติความเปนE มาของวัดโบสถกอนเลยนะครับวา จากที่ไดสอบถาม
พูดคุยกับเจาอาวาสวัดโบสถในปKจจุบัน พระอธิการลําพูน ชิตมาโร ไดเลาวา วัดโบสถกอนที่จะมีพระรูปหนึ่งที่
ข้นึ ชื่อวาเปนE พระวาจาศักด์ิสิทธิ์ ผูมีความเมตตา ไดเดินธุดงคมาจากสุพรรณบรุ ี วดั โบสถเคยเปEนวัดที่ถกู ทิ้งราง
เน่ืองจากวัดโบสถต้ังอยูเลขที่ 44 บานดอนกํา หมูที่ 8 ตําบลโพงาม อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท และวัด
โบสถไดสรางข้ึนมาในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยมีหลังฐานท่ีบงบอกคือเจดียที่ต้ังอยูหนาโบสถ แตพระครู
โกศลชัยกิจเจาอาวาสรูปที่ 7 ซึ่งเปEนหลวงตาของผูเขียนเองไดบูรณะเจดียใหญใหมแลว เพื่อใหเปEน
โบราณสถานใหยังคงอยูคูบานคูเมืองไปอีกยาวนาน แตกอนท่ีหลวงพอปาจะมาเปEนเจาอาวาสวันโบสถนั้น
วัดโบสถเปEนวัดที่ถกู ทิ้งราง ทรดุ โทรมเนอ่ื งจากอาํ เภอสรรคบรุ ีเปEนหวั เมอื งในสมัยอยธุ ยาก็คอื เมอื งแพรกนั่นเอง
จึงทําใหวัดถูกทําลาย และท้ิงรกรางมาเปEนเวลานาน และเปEนวัดท่ีต้ังอยูติดริมแมนํ้านอยจึงทําใหมีเรื่องราว
ตาง ๆ เกีย่ วกบั อดีตมาอยางมากมาย

21 เปEนสวนหนง่ึ ของรายวชิ าคติชนวทิ ยา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

53


วันหน่ึงไดมีพระรูปหน่ึงเที่ยวธุดงคอยูตามป?าเขา เพื่อเสาะแสวงหาเรียนรูวิชาจากพระอาจารยตาง ๆ
ทานไดธดุ งคมาจนถึงวัดโบสถและเห็นวาวัดโบสถเปEนวัดเกาแก ทานจึงไดบรู ณะวัดโบสถขึ้นมาใหม โดยไดเปEน
เจาอาวาสรูปที่ 3 จากอดีตถึงปKจจุบันมีเจาอาวาสทั้งส้ิน 9 รูปดวยกันแตรูปที่ 1 ไมทราบช่ือเนื่องจากไดถูกท้ิง
รางมานาน หลวงพอปาเปนE ชาวอาํ เภอเดมิ บาง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี เกิดเมอ่ื วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2388 ทานได
เรียนหนงั สืออกั ษรสมัยและหนังสอื ใหญกับพระที่วดั เดิมบาง และไดอุปสมบท ณ วดั เดิมบาง จงั หวัดสพุ รรณบุรี
หลวงพอเปEนผูมีวาจาศักด์ิสิทธ์ิจากการบอกเลาของส.ท.ทองเปลว อ่ําศรี ท่ีไดฟKงตอ ๆ มาจากบรรพบุรุษเคยมี
เรื่องเลาของหลวงพอปาแหงวัดโบสถวา อดีตมีเรือพวงที่ขนสินคาเพ่ือจะไปทางเหนือและถึงทานํ้าวัดโบสถจะ
เปEนน้ําที่เชี่ยวมากจึงทําใหตองเรงเคร่ืองเรือจึงทําใหเกิดเสียงดัง และการสั่นสะเทือนไปทั่ววัด ในขณะนั้น
หลวงพอปาทานไดจําวัดอยูจึงต่ืนข้ึนมา ทานจึงพูดไปวา “เสียงอะไรมันดังขนาดน้ี” และขณะน้ันหัวเรือไดพน
ทานํ้าวัดไปไมไกลเครื่องก็ดับไมทราบสาเหตุ ตามชางมาซอมก็ไมติดชาวบานผานมาเห็นจึงบอกใหเจาของเรือ
ไปหาหลวงพอปากอน เม่ือเจาของเรือไดขึ้นไปหาหลวงพอปาและไดบอกสาเหตุแกหลวงพอปาทราบทานจึง
บอกวากลับไปเด๋ียวเรือก็ติด และเจาของเรือกเ็ ดินลงมาที่เรือเพ่ือติดเรือสรุปวาเรือตดิ จริง ๆ ตามทที่ านไดบอก
ไว จงึ ทาํ ใหเจาของเรือคนนี้ผานวัดตองมาหาหลวงพอทุกคร้งั และมเี รื่องเลาไวอีกมากมายเกยี่ วกับหลวงพอปา
ที่สรางความประหลาดใจเปนE อยางมาก

ที่จะขาดไปไมไดเลยก็คือการบนบานศาลกลาวเพื่อใหหลวงพอปาชวยเหลือในยามท่ีเดือดเน้ือรอนใจ
ก็มีหลวงพอปาเปEนที่พ่ึงพิง จากคําบอกเลาของนางประจบ อ่ําศรี ไดเลาวาสวนใหญชาวบานจะมาขอเร่ือง
การศึกษาเปEนหลัก เชนขอใหสอบเขาเรียน สอบบรรจุเขาราชการ ก็จะมาขอหลวงพอและหากสําเร็จก็นําของ
มาถวายหลวงพอโดยส่ิงท่ีจะนํามาถวายก็ตามกําลังของผูขอเลย แตหลวงพอปาทานชอบดูลิเก ชอบฉันไขตม
แตเวลาบนน้นั ก็แลวแตคนเลยสวนมากชาวบานก็จะเอาไขตมมาถวาย 100 ฟอง ทอง 100 แผน และเมอื่ ไมกี่ปc
ที่ผานมากม็ คี รูเกาในหมูบานไดมาบนขอใหลกู สอบเขานายรอยไดและจะถวายลิเกใหดู และในงานวนั สงกรานต
ก็มลี ิเกมาแกบนใหหลวงพอ

สาเหตุที่ผมไดหยิบยกเรื่องนี้มาเลาใหทานไดอานเนื่องจากเปEนวัดบานเกิดของผูเขียนเองที่ผูเขียนได
พบเหน็ และคลุกคลีมาแตเดก็ และวัดโบสถเปนE วดั เล็ก ๆ สงบ รมเยน็ เมื่อผูเขยี นไดเขาไปทําบุญก็รูสึกสบายใจ
เปEนอยางมาก เปEนธรรมชาติที่หาไมไดจากท่ีอื่น และผูเขียนมีความเชื่อความศรัทธาในวัดโบสถ และหลวงพอ
ปาเปนE อยางมาก เน่ืองจากเวลาผมทุกขรอนใจ ไมสบายใจ หรอื ตองการอะไรผมก็จะนึกถงึ หลวงพอซึ่งผมถือวา
เปEนครูบาอาจารยของผมท่ีคอยชวยเหลือ และสรางพลังบวกใหเปEนผมเปEนอยางมาก ถาผมกลับไปผมตองไป
วัดโบสถทุกครั้งเมื่อใหผมไดมีกําลังใจในการเรียนตอ สุดทายน้ีความเช่ือเปEนเร่ืองของแตละบุคคลจะใหทุกคน
มาเชื่อเหมือเราก็ไมมีทางเปEนไปได และหากเราไมลงมือทําเองดวย หวังแตพ่ึงส่ิงศักดิ์สิทธิ์ก็คงไมประสบ
ความสาํ เร็จเชนกัน

54


พธิ ีกรรมกบั ความเช่ือในอดีต

สุกัญญา โกจนิ อก

วิถชี ีวติ ความเปEนอยูของผูคนในสมยั นี้ลวนมคี วามคลายคลึงกัน แตถาหากพดู ถึงอดีตแลววถิ ชี วี ติ ของ
ผูคนในอดีตยอมมีความแตกตางกันโดยสิ้นเชิง ท้ังน้ียังรวมไปถึงความเชื่อและวัฒนธรรมท่ีปฏิบัติสืบตอกันมา
แนนอนวายอมมีความแตกตางกันและมีเอกลักษณไมเหมือนกันในแตละพ้ืนท่ี ซึ่งวันน้ีเราจะพาทุกทานมารูจกั
กับความเช่ือ เกี่ยวกับการทําพิธีฌาปนกิจทางศาสนาของตระกูลหน่ึง ท่ีอําเภอบานหม่ี จังหวัดลพบุรี ซึ่งมี
คณุ ยาหมู คณุ ยาศรีพนม พงษธานี เปEนผูเลาเรอ่ื งราวเกี่ยวกับความเชอื่ ท่ีมีความนาสนใจมากเลยทเี ดียว

คุณยาหมู คุณยาอายุ 70 ปc ซึ่งทานอาศัยอยูที่ตําบลโพน
ทองน้ีมานาน และเลาถึงเร่ืองราวชีวิตความเปEนอยูและความเช่ือของ
ตระกูล ทแี รกคณุ ยาหมูเลาเรื่องราวเมื่อคร้ังไปงานฌาปนกิจศพ ซ่ึงเปEน
จดุ ท่สี รางความสนใจเนอ่ื งจากมีพธิ ีกรรมทีแ่ ตกตางจากที่เราเคยพบเห็น
มากอน ไมวาจะเปEนสถานที่จัด วิธีการจัด และองคประกอบอื่น ๆ อีก
มากมาย

ในอดีตเม่อื มเี หตผุ เู สยี ชีวิต คนในบานจะมีพธิ ีกรรมทีเ่ รียกวา
การผูกสายสิญจน เปEนเหมือนการเรียกขวัญของคนท่ียังมีชีวิตอยู และ
เปEนการผูกโยงสายสิญจนซ่ึงเปEนเหมือนส่ิงศักดิ์สิทธ์ิเพ่ือคุมครองคนที่
ยังอยู เพราะมีความเช่ือวาผูที่เสียชีวติ ไปแลวนั้นจะมาเอาชีวติ ของลูกหลาน หรือคนท่ียังมีชีวิตอยูเพื่อนําไปอยู
ดวย อีกทั้งสถานท่ีในการจัดงานฌาปนกิจนั้น จะจัดที่บาน นิยมสวดศพ 3 วันหรือ 7 วัน ซึ่งตางจากปKจจุบันที่
จัดงานฌาปนกจิ ท่ีวดั ยาเลาวาเหตุทีจ่ ัดทบ่ี านเพราะเช่อื วาคนเสยี ไปนน้ั อาจจะไมรูตวั วาเสยี ชวี ิตไปแลว การจดั
งานท่ีบานจะทําใหวิญญาณผูเสียชวี ิตรูตัวเองและไปสสู ขุ คติ เม่อื ครบ 3 หรือ 7 วัน จงึ คอยนํารางไปทําพิธีตอท่ี
วัดน่นั เอง

ในปKจจุบันนี้ไมคอยไดพบเจอการทําพิธีผูก
สายสิญจน และการทําพิธีฌาปนกิจท่ีบาน
แลว เพราะดวยความเชื่อท่ีเปล่ียนไป และ
ความยุงยากในการจัดเตรียมงาน จึงนิยม
จัดท่ีวัดแบบท่ีพบเห็นกันทั่วไป แตก็ยังมีอยู
บางที่มีการผูกสายสิญจนเพื่อเรียกขวัญ
ใหกับลูกหลานเพ่ือความสบายใจของญาติ
ผใู หญ

นาเสียดายท่ีงานทําพิธีดังกลาวนี้ ไมไดมีบันทึกเปEนภาพถายหรือเปEนลายลักษณอักษรที่แนชัด แต
เปEนเพียงการเลาปากตอปาก จากผูคนท่ีเคยพบเห็น และเช่ือวาในทองท่ีอื่น ๆ อาจจะยังหลงเหลือการจัดงาน
พิธีแบบเดิมอยูบาง เพยี งแตยงั ไมไดมผี ูไปทาํ การศึกษา และยังไมไดมกี ารนาํ มาเผยแพรเทานนั้ เอง

55


ความเชอื่ และพธิ กี รรมการไหวพ+ รายนํ้าที่แมนาํ้ เจ+าพระยา
ของชาวตลาดบา+ นแปTง จังหวดั สงิ ห5บุรี22

สุขสวสั ดิ์ อาภากุลอนุ

ความนาํ
การไหวพรายน้ําเปEนสิ่งท่ีไมปรากฏขอมูล จากการศึกษาพบวาพ้ืนทต่ี าง ๆ ไมปรากฏการไหวพรายนํ้า

แตจะเปนE การพบเจอสิ่งลลี้ ับเกย่ี วกับพรายนํ้า เชน การเลนน้ําแลวก็มีคนมาดึงขาใหจมน้าํ หรอื มคี วามเชอื่ เรื่อง
พรายชนิดอื่น ๆ เชน หนังสือ เร่ือง “เจาะตํานาน เรื่องเลาพระพุทธเจาหลวง”ท่ีกลาวถึงพรายน้ําที่อยูในสระ
อโนดาตในพระราชวังสวนดุสิต23 ซ่ึงผีพรายก็มีหลายชนิด คือ “ผีผูหญิงหรือเปEนผีท่ีมีแสงพราวพรายอยูในน้ํา
ผีพรายที่เปEนผูหญิงชนิดหนึ่ง คือนางไมท่ีสิงอยูท่ีตนกลวยตานี เรียกวา นางพรายตานี ผีผูหญิงที่ตายทั้งกลม
คือ ตายพรอมกับลูกที่ยังอยูในทองก็เปEนผีพรายตายท้ังกลม อกี ชนดิ หนงึ่ เปEนผีท่ีมาคอยกระซบิ บอกใหผูที่เลี้ยง
ผีพรายทราบเหตุการณตาง ๆ ที่เรียกกันวา พรายกระซิบ สวนที่เปEนผีนํ้าจะเปEนแสงเรือง ๆ เห็นไดในเวลา
กลางคืนตามจินตนาการของคนโบราณ ผีพรายในนํ้าก็เปEนผีผูหญิง ท่ีมีผมยาวสลวยพล้ิวไปกับสายนํ้า ผีพราย
นาํ้ มกั จะทําอันตรายคนทลี่ งน้าํ ทําใหจมนํา้ ตาย”24

ความเป#นมาเกย่ี วกบั ความเชือ่ เรื่องการไหวพ+ รายน้าํ ของชาวตลาดบา+ นแปงT
เรือ่ งราวทัง้ หมดเกิดขึ้นจากมเี หตุคนจมน้ําเสยี ชีวติ ทุกปcบริเวณแมน้าํ เจาพระยาที่ติดกับตลาดบานแป]ง

ซึ่งเกิดเหตุคนจมน้ําเสียชีวิตแบบน้ีจนชาวตลาดบานแป]งมีความรับรูรวมกันวาตองมีทุกปcแนนอน จนอยูมาวัน
หน่ึงคนที่ประสบอุบัติเหตุจมน้ําเสียชีวิต คือ นายตี๋ใหญ ลูกของนางพเยาว แซเตีย (ยาของผูเขียนบทความ)
นางพเยาว แซเตีย อดทนกับเหตุการณแบบนี้ตอไปไมได จึงเดินทางไปที่วัดตึกราชา จังหวัดสิงหบุรี ขณะน้ันมี
พระรูปหน่ึงช่ือวา หลวงตาใบ ฐิตธมฺโม เปEนพระเกจิอาจารยช่ือดังในจังหวัดสิงหบุรี ซ่ึงนางพเยาว แซเตีย มี
ความศรัทธาเล่ือมใสเปEนอยางมาก นางพเยาว แซเตีย ไดเลาเหตุการณทั้งหมดใหฟKงหลวงตาใบ ฐิตธมฺโม และ
ไดรับคาํ แนะนําจากหลวงตาใบ ฐติ ธมโฺ ม วา “ใหทาํ พิธี “ขาวตมลอยแพ” เปนE ประจาํ ทุกปcในชวงเวลาตรุษไทย
หรือกอนวันสงกานต โดยจะเปEนการตักบาตร และนําอาหารคาวหวานใสแพลอยน้ําเพื่อเปEนขอขมาสิ่งท่ีเคย
ลวงเกิน” นางพเยาวเม่ือไดรับคําแนะนําแลวก็นํามาปฏิบัติเปEนประจําทุกปc ปรากฏวาเหตุการณคนจมน้ํา
เสยี ชวี ติ ไมเกิดขึ้นท่ีแมนํ้าเจาพระยาบริเวณตลาดบานแป]ง อกี เลย นบั แตน้ันมา (เทดิ ขวญั อาภากลุ อนุ, อารีย
จติ ตชมุ , การสื่อสารสวนบุคคล, 30 ตุลาคม 2565)

เร่ืองเลาจากความเชื่อเรื่องพรายนํ้าของชาวตลาดบ+านแปTง โดยการสัมภาษณ5ผู+รับชวงตอในการทํา
พธิ ีกรรม และครอบครวั ผเู+ รม่ิ พิธีกรรม

เหตุการณน้ีมีเร่ืองความศักดิ์สิทธ์ขิ องหลวงตาใบ ฐิตธมฺโมอยูดวย คือ มีเด็กผูหญิงคนหน่ึงไดไปเลนน้าํ
กับเพื่อน ๆ แลวก็ไดจมนํ้าหายไป กลุมเพื่อน ๆ ก็ไดไปตามผูใหญในตลาดบานแป]งมาชวย ผูใหญหลายคนใน
ตลาดบานแปง] ลงไปชวยกันงมหา แตหาอยางไรก็ไมพบ จน “เจก็ ปู” (ญาติของผเู ขียนบทความ) ไปนําของขลัง
มา คือ ประคําและล็อกเกตของหลวงตาใบ ฐิตธมฺโม “เจ็กปู” ไดนํามาใสคอและอธิษฐานแลวก็ลงไปในแมนํ้า
ปรากฏวามีบางส่ิงมาโดนเทา “เจ็กปู” จึงดึงข้ึนมาพบวาเปEนเด็กหญิงท่ีจมนํ้า จึงรีบนําสงโรงพยาบาล

22 เปEนสวนหนึง่ ของรายวิชาคตชิ นวทิ ยา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี
23 จาก เจาะตํานาน เร่ืองเลาพระพทุ ธเจาหลวง, โดย จตุ ิ จนั ทรคณา, 2555, ยอนรอย.
24 จาก พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2554, โดย สํานกั งานราชบณั ฑติ ยสภา, 2556, ราชบัณฑิตยสภา.

56


เด็กผูหญิงคนน้ันจึงรอดชีวิตมาได ชาวตลาดเช่ือวาเปEนเพราะอิทธิฤทธิ์และความศักดิ์สิทธ์ิของหลวงตา
ใบ ฐติ ธมโฺ ม (สมจติ ร สารเดช, การสือ่ สารสวนบุคคล, 30 ตุลาคม 2565)
พธิ กี รรมการไหวพ+ รายนํา้

ชาวตลาดบานแป]งเรียกพิธีกรรมนี้วา “ขาวตมลอยแพ” จะเริ่มพิธีกรรมโดยตัวแทนชาวตลาด
เม่อื กอน คือ นางพเยาว แซเตยี ปจK จุบนั นี้ คือ นางอารยี จติ ตชุม เริม่ จากการตืน่ เชามาใสบาตร ของท่ีใสบาตร
จะเปEนอาหารคาวหวานทั่วไปและขาวตมมัดท่ีไมมีไส ขาวตมมัด 1 อัน จะมี 2 กีบ จะแบง 1 กีบใสบาตรและ
นําอีก 1 กีบท่ีเหลือมาตัดแบงคร่ึง คร่ึงหน่ึงใสไปในแพ อีกครึ่งแจกจายใหคนในครอบครวั กิน โดยชาวตลาดจะ
รวมกนั นาํ ขาวตมมัดที่ผานการทําแบบท่ีอธิบายเบ้ืองตนมาใสแพดวย และนอกจากขาวตมมดั ก็จะมีอาหารคาว
หวานทหี่ าไดมาใสในแพ พรอมทั้งธปู เทยี น พวงมาลัย หมากพลู และปKกธงเล็ก ๆ รอบแพ จากนั้นนําไปลอยท่ี
ทานํ้าตลาดบานแป]ง โดยจะมีตัวแทนนําไปลอย ชาวบางคนก็ตามไปดู บางก็นําของมาใสแพแลวก็กลับไปขาย
ของท่ีรานคาของตนเองตามปกติ

แพขาวตมมัดและอาหารคาวหวานทจ่ี ะนําไปลอยทแี่ มนาํ้
บทสรปุ

ในทศั นะของผูเขียนมองวาพิธี “ขาวตมลอยแพ” เปนE พิธีที่ทําใหเกิดความรมเยน็ เปEนสุขและเกิดความ
สบายใจแกชาวตลาดบานแป]ง ทําใหผูคนในตลาดและผูคนท่ีสัญจรไปมาไมไดรับความอันตรายตอชีวิต ผูเขียน
จงึ มองวาเปEนสิ่งที่ดแี ละไมมอี ะไรเสียหายสามารถปฏิบตั ิตอไปได พรอมทง้ั ตองสืบทอดใหคงไวนานเทานาน

แตควรเปล่ียนวัสดุท่ีนํามาเปEนแพ เพราะในปKจจุบันวัสดุที่นํามาทําเปนE แพน้ัน คือ โฟม ซ่ึงไมสามารถ
ยอสลายไดและเปEนมลพิษทางนํ้า ควรใชวัสดุอ่ืน ๆ เชน ตนกลวยหรือสิ่งท่ีสามารถยอยสลายได เพ่ือเปEนการ
รักษาธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอมอกี ดวย

57


เรื่องเลาชาวชุมชน
พอจุ+ย พอดง ศาลประจาํ หมูบ+าน25

สชุ าดา บญุ เลิศ

จุดเริ่มตนของหมูบานเล็ก ๆ เติบโตข้ึนมาเปEนหมูบานที่ใหญ ที่ช่ือวา หมูบานครัว ตําบลหนองโดน
อําเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรี และไดมีศาลประจําหมูบาน เรียกวา ศาลพอจุย พอดง เปEนศาลที่ต้ังอยู
ศนู ยกลางของหมบู าน ตดิ กับถนนใหญเสนบานครวั ถึงบานหมอ

ศาลเปEนส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีสําคัญ ท่ีผูคนใหความเคารพนับถือตามความเชื่อมาต้ังแตสมัยบรรพบุรุษ และ
สืบทอดกันมาเปEนชนชั้นตามลําดับความเปEนอยู ในทุก ๆ หมูบานหรือทุก ๆ สถานที่ ท่ีมีความเช่ือจะปรากฏ
ศาลอยูเปEนท่ีตั้งใหสักการะนับถือและบูชาตอกันมา ในหมูบานของดิฉันพบศาลประจําหมูบาน คือศาลพอจุย
พอดําดง เปEนศาลเกาแกที่ดิฉันเกิดมาก็เห็นและผานทุกครั้งท่ีเดินทางออกจากบานไปเรียน จนเกิดความสงสัย
วาทําไมเวลาผานหนาศาลทุกคร้งั แลวคุณแมถึงไดพูดตลอดเลยวา เดนิ ทางไปดีมาดี ทุกครง้ั

ศาลประจําหมูบาน พอจุย พอดําดง เปEนศาลเกาแกประจําหมูบานครัว ต้ังอยูกลางหมูบาน ติดกับ
ถนนใหญ เสนทาง บานครัว-บานหมอ จังหวัดสระบุรี เปEนศาลที่ศักด์ิสิทธ์ิ คอยปกป]องคุมครองคนในหมูบาน
ใหอยดู มี สี ุขและแคลวคลาดปลอดภยั ศาลพอจยุ พอดง เปนE ศาลท่ีตัง้ ขนึ้ ตั้งแตสมัยกอน (คาดคะเนเปEน พ.ศ.ไม
แนนอน) แตกอนเปEนศาลไมท่ีเกาแก จนปKจจุบันมีการบูรณะซอมแซมใหเปEนศาลเหล็กและทาสีใหมใหมีความ
สวยและโดดเดน เพ่ือเปนE ท่ียึดเหนย่ี วของคนในหมูบาน

ชาวบานครัวจะมีพิธีกรรมการไหวศาลประจําหมูบาน ในชวงเดือน 6 ขึ้น 6 ค่ํา จะมีการไหวศาล
ประจําหมบู านของทุกปc การกราบไหวศาลกจ็ ะมตี ัวแทนของแตละครอบครวั เปนE ตัวแทนไปไหวศาล ตัง้ แตเวลา
6 โมงเชา จนถึงเวลากอนเพลจะส้ินสุดการไหว สิ่งของที่จะนํามากราบไหวบูชา มีดังตอไปน้ี หัวหมู ไก น้ําแดง
ขนมตม ขนมโบราณ ผลไมตาง ๆ ท่ีเปEนมงคล พอจุยจะชอบผลไมท่ีเปEนกลวยมากสวนพอดําดงจะชอบกัญชา
ยาสูบ และสิ่งสําคัญท่ีขาดไมไดในวันไหวคือ การปOKนตัวคนในครอบครัว รวมท้ัง ยานพาหนะ สุนัขตาง ๆ จะมี
การปนOK หรือทําตัวมาจากใบตองสดมาพับเปEนตวั คน นาํ มาไหพรอมกนั เพ่ือใหพอจุยและพอดําดงปกปKกคุมครอง
เดินทางแคลวคลาดปลอดภยั อยดู มี ีสุขกันทกุ ๆ ครอบครัว

เมื่อเสร็จมีพิธีกรรมการไหวแลวนั้น ก็จะมีในสวนของการเขาทรงซึ่งสมัยกอนศาลพอจุยพอดําดงจะมี
รางทรงท้ังชายและหญิงท่ีมีจิตใจแนวแนสามารถเขาทรงได และคอยทํานายดวงชะตาหมูบานวาจะดีหรือไมดี
จะเกิดอะไรขึ้นในหมูบานบาง หมบู านจะเปEนเชนไรในวนั ขางหนา แตปKจจบุ ันจะไมมีการเขาทรงแลว เนื่องจาก
คนในหมูบานไมไดมีจิตใจท่ีแนวแนจึงเขาทรงไมได และรวมถึงการบนบานและการแกบนจะเปEนไปอยาง
เรียบงายการบนบานศาลพอจุย พอดง จึงจะเปEนการบนโดยที่ไปบอกเลาขอพรในสิ่งที่อยากจะไดรับมา เมื่อ
ประสบผลสําเร็จแลวจะแกบนตามท่ีไดบอกกลาวพอจุย พอดําดงไว และในสวนของการแกบนของศาลพอจุย
พอดําดง จะใชของแกบน ไดแก พวงมาลยั ดอกไมสด นํา้ แดง และตามที่ผบู นบานไดบอกกับพอจุย พอดําดงไว
จงึ นาํ มาแกบนตามความสําเร็จของแตละคนที่ขอพอจยุ พอดง ไวเทานนั้

สาํ หรบั การขอพรในสวนของการจะจัดงานบุญ งานบวช งานแตงหรอื งานมงคลตาง ๆ ทกุ ครัวเรอื นจะ
พากันมากราบไหวขอขมา ขอพรจากศาลพอจุย พอดําดง ทุกครั้ง เพื่อใหงานนั้นราบรื่นและผานไปดวยดี และ

25 เปEนสวนหนึ่งของรายวชิ าคตชิ นวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

58


ขอเกี่ยวกับการเดินทางไปทํางานหรือไปตางจังหวัดที่ไกล ๆ ก็สามารถขอพรพอจุย พอดําดง ไดวาขอให
เดินทางไปอยางปลอดภัยและกลับอยางปลอดภัย จากท่ีไดไปฟKงเร่ืองเลาจากผูเถาผูแกจากคนในหมูบาน
ในฐานะเด็กนอยคนหนึง่ ทีเ่ กดิ มาในหมูบานครวั ไดเห็นพธิ ไี หวศาลพอจุย พอดง อยูบาง และเปEนคนหน่งึ ทไ่ี มวา
เวลาจะไปไหนมาไหนก็จะบอกพอจุย พอดง อยูเสมอ เรียนไดวาเปEนคําพูดติดปากทุกครั้งท่ีผานศาล จะพูดวา
ไปดมี าดเี สมอมา พิธีกรรมการไหวศาลเปEนพธิ ีกรรมท่ีศกั ด์ิสิทธิ์ ศาลเจาพอจุย พอดง ถือเปEนศาลหลกั เมือง ของ
คนหมูบานครวั กว็ าได

ในนามของคนในหมูบานครัว ตําบลหนองโดน อําเภอหนองโดน จังหวัดสระบุรีนี้ อยากรักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีกราบไหวบูชาศาลประประจําหมูบานน้ีไว เพื่อเปEนการสืบทอด และรักษาไวให
ลูกหลานรุนหลังไดรูจักวาศาลประจําหมูบานของเราก็มีความสําคัญ ท่ีทําใหหมูบานของเราอยูรอดปลอดภัย
รูรกั สามัคคกี นั และอนรุ กั ษไวใหเปEนทีย่ ึดเหน่ียว หรือจดุ ศนู ยกลางของหมบู านทที่ ุกคนตองรูและรักษาไวสืบไป

ศาลประจาํ หมูบาน พอจุย พอดง

59


เร่อื งเลาชาวชุมชน
หลวงพอพระยืน อาํ เภอกันทรวชิ ัย จังหวัดมหาสารคาม26

สุพรรณี โสตธิสุนทร

พระพทุ ธมงคล (วัดบานสระ) หรอื ชาวบานจะเรยี กวา วัดพระยืน เปEนพระพุทธรปู ทีพ่ ึ่งทางใจของ
ชาวอําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และเปEนที่เคารพบูชาของชาวมหาสารคาม พระพุทธรูปองคน้ี
เปEนปางสรงนํ้า มีความสูงตลอดองค 4 เมตร กวาง 1 เมตร สรางดวยศลิ าแลง ในบรเิ วณวัดมีการจัดแสดง
พัฒนาการของสายตระกลู สําคญั ของเมืองกนั ทรวชิ ยั ทําใหเหน็ ถงึ พัฒนาการของเมืองกนั ทรวชิ ัย นบั ตง้ั แต
ยุคโบราณ จนถึงปKจจุบัน โดยกลุมคนท่ีสรางเมืองกันทรวิชัยสวนหน่ึงเปEนกลุมคนลาว เชื้อสายเจาเมือง
รอยเอ็ด และเปEนเชื้อสายชาวญอ บานทาขอนยาง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ท่ีสําคัญวัด
แหงนี้ยังจัดแสดงผลงานศิลปะจากนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปEนศิลปะแบบ
ภาพปูนปKOน เลาเรื่องราว และตํานานของเมืองกันทรวิชัย และความศรัทธาตอหลวงพอพระยืน วัดพุทธ
มงคล สําหรับคนที่สนใจจะเดินทางไปวัดแหงน้ี ก็สะดวกรวดเร็ว เพราะติดกับถนนสายหลักที่มุงหนาสู
เมืองมหาสารคาม และเมอ่ื รถขบั ผานกจ็ ะบีบแตรเพื่อแทนการบอกกลาวขอพรวาใหเดนิ ทางปลอดภัย

จากการที่ดฉิ นั ไดสมั ภาษณผเู ฒาผูแกไดเลาวา ในพืน้ ที่อําเภอกนั ทรวชิ ยั เปนE เมอื งโบราณ มชี ่อื เดมิ
วา เมืองคันธาธิราช มีเจาเมืองชื่อทาวลินจง มีบุตรชายชื่อ ทาวลินทอง เปEนบุตรชายคนเดียว มีจิตใจ
โหดเหย้ี มผิดกบั ผูเปนE พอ ตอมาทาวลินจงแกชรา จงึ คิดหาผูครองเมืองสืบตอแทนลูกชายท่ีจิตใจโหดเหี้ยม
ผูเปEนบุตรชายเกิดความไมพอใจ จึงไดจับพอของตนเองขังในหองมืดแลวทรมานอยางแสนสาหัสจนสิ้นใจ
ตาย กอนสนิ้ ใจไดอธษิ ฐานวา หากผูครองเมืองตอไป เปนE ผไู รคณุ ธรรม ขออยาใหมีความสุข หาความเจรญิ
ไมได พบแตความวิบัติ เม่ือทาวลินทองผูเปEนบุตรชายขึ้นครองเมืองสืบตอมาบานเมืองมีแตความวุนวาย
ชาวเมอื งเดือดรอน มีความทุกขยาก จงึ ไดเรยี กโหรเขาพบ โหรไดกลาววาทาวลนิ ทองไดทาํ กรรมหนกั

คือ การฆาพอแม จึงตองสรางพระพุทธรูปเพ่ืออุทิศสวนกุศลแกพอแม ทาวลินทองจึงไดสราง
พระพทุ ธรูปยืน หนั พระพกั ตรไปทางทิศใต เพื่อทดแทนคุณบดิ า

26 เปนE สวนหนงึ่ ของรายวชิ าคติชนวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

60


วัดพระยืนตั้งอยูท่ีตําบลโคกพระ อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม วัดติดอยูกับถนน ในตัว
เมืองกนั ทรวิชยั เลย เปนE อีกหนึ่งสถานที่ทองเที่ยวและทเ่ี คารพสักการะของชาวจังหวัดมหาสารคาม และมี
ผูคนจํานวนมากแวะเวียนมาสักการะอยูเปEนจํานวนมากในทุกวัน ดิฉันไดเดินทางไปสักการบูชากราบ
หลวงพอพระยืน ไดบูชาดอกไม ธูปเทียน ตามกาํ ลังศรัทธาของเรา และบริเวณขาง ๆ กจ็ ะมีตไู ปรษณียสง
บุญสําหรับสงบุญไปใหบุคคลท่ีเราอยากจะสงไปถึง จากน้ันเราก็มาไหวพระยืนขอพร บริเวณท่ีเราน่ังจะ
สังเกตเห็นขางหนาของเราคือแทงหินแกะสลักคําบูชาพระรัตนตรัย เราสามารถพูดตามนั้นจนจบไดเลย
หรือจะขอพรตามที่เราตองการเลยก็ได และเม่ือขอพร สวดมนตเสร็จแลว ก็นําเทียนท่ีเราจุดไวนั้น ไปปKก
ไวตรงฐานดานหนา ซ่งึ จากการสมั ภาษณผูเฒาผูแกเลาตอกันมาวา หากเรามีความเจ็บป?วยท่ีไหน แลวนาํ
แผนทองไปติดไวบริเวณนั้นขององคพระ ความเจ็บปวดนั้นก็จะหายไป ซึ่งตํานานที่เลาตอกันมาอาจเปEน
เพียงแคเรื่องเลาและความเชื่อสวนบุคคล แตสําหรับดิฉันแลวน้ัน การปNดทองเปEนอีกวิธีท่ีชวยใหดิฉัน
สบายใจข้ึนได เพราะต้ังแตดิฉันยังเด็กตากับยายของดิฉันไดพามาทําบุญกราบพระที่วัดพระยืนแหงน้ีอยู
เสมอ และเม่ือจะทําการส่ิงใด เชน สอบเขาศึกษาตอ หรือสอบสนามตาง ๆ ดิฉันจะมาขอพรที่วัดพระยืน
อยูเปEนประจํา นอกจากน้ีพระเครื่องหลวงพอพระยืนยังเปEนที่พึ่งทางจิตใจพกไวติดตัวไปในทุกท่ี เพราะ
เชอื่ วาหลวงพอพระยืนจะปกปกK รกั ษาคมุ ครองตวั เรา

61


งานแขงเรอื วดั เชิงทา ลพบุรี

อธิตญา เกตุศรเี ผอื ก

เสียงคนตะโกน “เอาเร็ว เร็ว เร็ว…” เสียงดังมาแตไกลความอยากรูของฉัน ฉันเดินไปตามเสียงนั้น
พอฉันไปถึง ผูคนมากมายยืนกันอยูริมคลอง สายตาจองมองไปที่กลางคลอง มีเรือ 2 ลํา กําลังพายแขงกัน
ผแู ขงขันทัง่ สองฝง`K ตางตะโกน บ๊ึดจ้ําบ๊ดึ มองตรงไปท่จี ดุ หมาย มีเสียงผูพากยเชยี รการแขงเรือเปEนสสี นั ของงาน
เสยี งชางปลุกใจพาคนดูลนุ ตาม

เวลาผานไป 3-4 ปcแลวที่ฉันไมไดสมั ผสั ความสนุกสนานของการแขงเรือจนฉันเกือบจะลืมเทศกาลนี้ไป
เสียแลว เม่อื ถงึ เทศกาลออกพรรษาทีไรวดั แถวบานฉันมีการทอดกฐิน ทอดผาปา? ประมาณชวงเดือนตลุ าคมถึง
เดือนธันวาคม ซึ่งเปEนชวงฤดูน้ําขึ้น เม่ือกอนตอนฉันยังเด็กจะมีขบวนแหกฐินทางนํ้าทุกคนตางแหกันไปดู
เพราะจะมีชาวบานที่ใชเรือเปEนพาหนะแหนําองคกฐิน องคผาป?าไปยังวัด ระหวางทางก็จะมีการรองเพลงกัน
อยางครกึ ครนื้ เม่อื เสร็จพธิ แี หแลว กจ็ ะมีการแขงเรือกัน ทุกหมบู านจะสงเรือเขารวมแขงขัน นอกจากนบ้ี างวัด
ที่ติดกับลําคลองจะจัดแขงเรือในงานทําบุญไหวพระประจําปcของวัด บางวัดจัดแขงเรือเพ่ือบวงสรวงสักการะ
ส่ิงศักดส์ิ ิทธิ์ท่ชี าวบานคนแถวน้ันนับถอื บางวดั จดั ในเทศกาลสนกุ สนานรื่นเริงตาง ๆ

ตวั ฉันเปEนคนชอบดูพธิ ีบวงสรวงพิธตี าง ๆ เพราะวัดแถวบานฉันจะชอบมีการเขาทรง เปEนสิง่ ทฉี่ ันชอบ
ดูและคนในหมูบานก็รอคอยเพื่อท่ีจะไดเลขเดด็ ไปเสี่ยงโชคกัน ทุกคนอาจจะสงสัยทําไมถึงตองมีพิธบี วงสรวงก็
เพราะวากอนทจ่ี ะเอาเรือลงนา้ํ ตองทําพธิ ีบวงสรวงแมยานางเรือ

ฉันไปสอบถามกับยาของฉัน ยาฉันบอกวาตองจัดเคร่ืองสังเวยใหถูกตามแบบตําราโบราณเพ่ือเชิญ
แมยานางลงในเรือ ยากลาวไววา “จะตองบูชาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ เทวดาท่ัวท้ังจักรวาล ใหคุมครองฝcพายและผูท่ีอยู
ในเรือใหทกุ คนมีความปลอดภยั ”

ยายังเสริมอีกวา “เมื่อกอนแตละหมูบาน แตละวัด ในทุกลุมนํ้า จะนิยมหาไมตะเคียนมาขุดเปEน
เรือยาวสงเขารวมแขงขัน” แสดงใหเห็นถึงความพรอมเพรียงของหมูคณะ ความเปEนน้ําหนึ่งใจเดียวกันท่ีรวม
สืบสานประเพณีน้ีไว ปKจจุบันการแขงเรือยาวไดวิวัฒนาการเปEนกีฬาระดับชาติ และนานาชาติ เปEนกิจกรรม
สงเสริมการทองเทย่ี วที่สรางรายไดใหแกทองถิ่นและประเทศ

วัดเชิงทา จังหวัดลพบุรีบานเกิดฉัน เม่ือกอนจะจัดประเพณีแขงขันในชวงเดือนกันยายนถึงเดือน
พฤศจิกายน ตอเน่ืองกันเปEนประจําทุกปc แตตอนน้ีไมไดจัดมาประมาณ 4 ปcแลว แตทุกครั้งท่ีจะจัดจะมี
หลายหนวยงานจัดแขงขันเรือยาวประเพณีตามท่ตี าง ๆ เชน เทศบาลเมืองลพบุรี บรเิ วณคลองในวดั หนาศาลา
100 ปc มีทั้งเรือยาวขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ จากชุมชนตาง ๆ เขารวมประลองฝcพายเพ่ือชิงเงิน
รางวัล นับเปนE งานประเพณที ่ีสนกุ สนาน ต่ืนเตนเราใจ มผี ูคนหล่ังไหลไปชมและใหกําลังใจทีมที่ตนชนื่ ชอบ

การแขงขันเรือ เปEนประเพณีและมรดกวัฒนธรรมทางสายนํ้าท่ีสะทอนถึงวิถีชีวิตท่ีผูกพันกับสายนํ้า
เรือและผูคน บนพ้ืนฐานความสามัคคีพรอมเพรียงเปEนน้ําหน่ึงใจเดียวกันของคนในชุมชน ตัวฉันเองก็เปEนเด็ก
รุนใหมท่อี ยากใหประเพณยี ังคงอยสู ืบ ๆ ตอไป

62


เรอื ยาว : ใช+ในการแขงขนั ของวดั เชงิ ทา จงั หวดั ลพบรุ ี

ผ+ใู ห+สมั ภาษณ5 : คณุ ยาเพชรประสม เกตศุ รเี ผือก

63


มัดย+อมท่ีเขาสามยอด27
อาทติ ยา จันหอม

ลายผาที่พล้ิวไหวพัดปลิวไปมา กลางสายลมและแสงแดดออนๆของวัน ลายผาที่ไมเหมือนกันสักผืน
ความโดดเดนในตัวของมนั เอง ไมวาจะสีหรือลวดลายตาง ๆ บนผา ดงึ ดูดใหเราไดเดนิ ไปใกลๆ ไดทง้ั สัมผัสและ
มองเห็น มันเปEนแคลายผาธรรมดา ๆ ท่ัวไป แตกลับรูสึกไดวามันแตกตางกันโดยสิ้นเชิงตามเจาของที่ไดมัดผา
เปEนกอน ๆ ตามใจของตนเอง
กลุมผา+ มดั ยอ+ มเขาสามยอด

วันน้ีเราจะพาไปดูผามัดยอมท่ีตําบลเขาสามยอด อําเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เปEนกิจกรรมท่ีสามารถ
ใชไดกับวันหยุดครอบครัวและสามารถเปEนอาชีพเสริมได กอนที่จะมาเปEนผามัดยอม เปEนเพียงแคผาสีขาว
เปลาๆ พ้ืน ๆ แตเราจะใสลายตาง ๆ ลงไปบนผาโดยเปEนใชหนังยางท่ีหาไดงายทั่วไป และบวกกับความ
สรางสรรค จินตนาการของเราลงไปดวย และผามัดยอมไมไดเปEนแคเสื้อผาเครื่องแตงกาย แตยังเปEนอยางอื่น
ไดอีกมากมายไมวาจะเปEน ปอกหมอน ผาหม กระเป‰า ฯลฯ ผามันยอมยังเปEนภูมิปKญญาทองถิ่นที่นําสีจาก
ธรรมชาตมิ าใช ไมมสี ารเคมเี จือปนเปนE มติ รตอสงิ่ แวดลอม

ผามัดยอม เกิดจากการนํา “คราม” สจี ากพืชจากธรรมชาติ โดยภูมิปKญญาชาวบาน นํามาผานการบีบ
ผานการค้ัน ผานความต้ังใจ ผานการนวด ความทุมเท การเรียนรู ใสความคิด ความสรางสรรค ภูมิปKญญา
ทองถน่ิ กําลงั จะหายไป จงึ ไดมีการอนุรักษดวยการทาํ ผามัดยอม โดยใชครามเปEนวัสดุในการทําสีผา จุดเดนของ
ผลิตภณั ฑมีลวดลายผาทีห่ ลากหลาย และเปEนกิจกรมที่ทําไดมีชนิ้ งานหรอื ผลงานสามารถนาํ กลบั บานได

27 เปEนสวนหนง่ึ ของรายวชิ าความคดิ สรางสรรคกับการสรรสรางงานเขียน มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

64


ความเอมใจใน... “ดอนเมอื ง”
อารีนุช อดุ มผล

แสงของแดดยามเชาสาดสองเขามาทางหนาตางบานใหญ ผูคนตางเดินขวักไขวกันอยางรีบเรง
เตรียมพรอมกับการเดินทางครั้งใหม กอนเสียงของเคร่ืองยนตจะมุงทะยานสูทองฟ]า และโลดแลนเฉกเชนเหลา
ปKกษา ยานท่เี ต็มไปดวยความทรงจาํ มากกวา 100 ปc ไมใชทไ่ี หนไกลแตเปEนท่นี ่ี ยานดอนเมอื ง กรุงเทพมหานคร

เมื่อเคร่อื งยนตลงจอดสูพ้ืนลาน เปEนสญั ญาณในทนั ใดวาผมมาถึงแลว “ดอนเมือง” ยานที่ใคร ๆ ตาง
ก็คุนเคยในช่ือของทาอากาศยานอันเกาแกในประเทศไทย แตหากมองยอนกลับไปในอดีตแลวนั้น ท่ีแหงนี้ก็
เปEนเพียงพ้ืนที่ป?าสะแกและทุงนา อันหอมลอมไปดวยเหย่ียวและแรงราวกับเปEนเจาของเขตแดน ชาวบานจึง
เรียกขานกันติดปากวา “ดอนอีเหย่ียว” หรือ “ดอนอีแรง” กอนจะเปลี่ยนชื่อเปEน “ดอนเมือง” อยางเปEน
ทางการในเวลาตอมา เนื่องจากการยายเขามาของทาอากาศยานกรุงเทพฯ และกองบินทหารบกในปc
พุทธศกั ราช 2457

นับตัง้ แตปดc ังกลาว ไมใชแคเพียงช่ือของดอนอีเหยี่ยวที่เปลีย่ นแปลงไป แตยานแหงนี้เองก็แปรเปล่ียน
ไปไมตางกัน เม่ือทาอากาศยานกลับกลายมาเปEนศูนยกลางการเดินทาง ธุรกิจโดยรอบจึงเกิดข้ึนและเติบโต
อยางรวดเร็ว หอพัก รานอาหาร หรือหมูบานจัดสรรถูกสรางขึ้นมาเพ่ือรองรับผูคนจากหลากหลายท่ีมา
ทง้ั เหลานักทองเท่ยี วและเหลาผูใหบรกิ ารในทาอากาศยาน

แตถงึ แมกาลเวลาจะผันแปรไปมากเพยี งใด กค็ งยากจะปฏิเสธ หากจะกลาววาชาวดอนเมืองสวนใหญ
น้ันอาศัยศาสนาพุทธเปนE ศูนยกลางความศรทั ธาไมวาจะผานไปกี่ทศวรรษ เทศกาลประเพณีตาง ๆ ก็ถูกปฏิบตั ิ
ตอกันมาจวบจนปKจจุบัน ไมวาจะเปEน ประเพณีตักบาตรเทโว หรือประเพณีตักบาตรนํ้าผึ้ง ประเพณีอันสําคัญ
ของชาวไทยเชื้อสายมอญ ซึ่งจัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 10 ของทุกปc โชคดีของผมที่วันน้ีเองก็ตรงกับวันข้ึน
15 คํ่า เดือน 10 พอดบิ พอดี การเขารวมเปนE สวนหน่ึงของประเพณนี ีจ้ งึ ไมไกลเกินเอ้ือม

8.25 นาฬิกา วันอังคารท่ี 21 เดือนกันยายน ไอความรอนของมวลอากาศยามเชายังคงแพรอยาง
ตอเน่ือง ขณะน้ีผมเดินเลียบทางเดินเทากอนจะหยุดลง ณ หนา “วัดเวฬุวนาราม” หรือวัดไผเขียว วัดราษฎร
อนั เกาแก สรางมาตั้งแตปcพุทธศักราช2444 ในสมยั รชั กาลท5ี่ กล่นิ ความทรงจําในวัยเยาวยอนหวนกลับมา ใน
วนั ขน้ึ 15 ค่ําเดือน 10 เชนน้ี ผมกบั คุณแมเองกเ็ คยมาท่ีนเี่ ชนกัน คร้ันที่เรายังอาศยั อยู ณ ยานแหงน้ี

65


ผมเดินตรงไปยังลานศาลาวัดอันกวางซึ่งเปEนท่ีจัดพิธี หยิบนํ้าผ้ึงเดือนหาจากกระเป‰าเป]รินใสบาตร
เบ้ีองหนา พรอมกับเทน้ําตาลลงบนฝาบาตร และวางผาแดงไวใตบาตร รวมทั้งสิ้นจํานวน 32 ใบเพื่อเปEน
สัญลักษณแทนอาการปกติของมนุษย เนื่องจากการถวายทานน้ําผ้ึงนั้น สืบเนื่องมาจากความเชื่อในสมัย
พุทธกาล เมื่อพระพุทธเจาทรงเลิกบําเพ็ญทุกขกิรยิ าแลว พระพลานามัยยังไมฟ_Oนคืนดังเดิม วันหนงึ่ นางสุชาดา
นําขาวมธุปายาส (ขาวที่หุงดวยน้ํานมเจือนํ้าผึ้ง) มาถวาย ก็ปรากฏวาพระวรกายฟ_Oนฟูกลับมาอยางรวดเร็ว มี
พระปรีชาญาณจนตรัสรูไดในที่สุด ท้ังยังมีคราวหน่ึง ในชวงเดือน 10 พระภิกษุรางกายชุมดวยน้ําฝน ตอง
เหยียบย่ําโคลนตม เกิดอาพาธอาเจียนหลายรูป กายซูบเศราหมอง พระพุทธเจาจึงทรงอนุญาตใหพระภิกษฉุ นั
นํ้าผ้ึง นํ้าออย เนยขน เนยใส และน้ํามันพืชไดในยามวิกาล โดยถือเปEนยารักษาโรคและบํารุงรางกาย
การตักบาตรนํ้าผ้ึงจึงเปEนการถวายเภสชั ทาน บํารุงสุขภาพภิกษุสงฆ เปEนการสืบตอพุทธศาสนาไดทางหนึ่ง จึง
ยดึ ถอื ปฏิบัติเปนE ประเพณีเร่ือยมา

หยดนํ้าผึ้งกนขวดหยดลงสูบาตรที่ 32 เปEนสัญญาณวาส้ินสุดพิธี ผมกาวเดินออกมาจากอาณาบริเวณ
แตไมทันไรเสียงอันคุนเคยก็ดังใกลเขามา “เฉากZวยดอนเมือง มาแลวครับ เฉากZวยดอนเมือง” เสียงแหง
ความสุขโลดแลนเขามาใกล ผมรบี ตรงออกไปหนาวัดซึง่ ปรากฏรถซาเลงพรอมขนมหวานเลิศรสอยาง “เฉากวZ ย
ดอนเมือง” ขนมหวานสีนิล เน้ือเนียนนุม หนึบหนับคลายวุน ซ่ึงอยูคูกับยานดอนเมืองมากกวา 20 ปc รสชาติ
แสนกลมกลอมระหวางวุนหนึบสีดํา นํ้าเชื่อมหวานฉํ่าและนํ้าแข็งป?นผสานเขากันเปEนอยางดี ทําผมยอนนึกถึง
วันวานในหนารอน ชวงปNดเทอมของพวกเราเด็ก ๆ ในละแวกน้ีหากไดยินเสียงเรยี กของเฉากZวยดอนเมืองละก็
ไมวาจะเหน็ดเหน่ือยจากการวิ่งเลนเพียงใดตางก็พากันว่ิงโรตามรถซาเลงตนเสียงไปเปEนแน อากาศรอนเชนน้ี
เพยี งแคไดทานเฉากZวยเยน็ ๆ จบั ใจไอความรอนก็ดับสลายลงทันใด

ผมอ่ิมเอิบกับขนมหวานในวันวาน ขณะท่ีลมเย็นภายในวัดสัมผัสเขากับตัวผมเปEนสัญญาณไดวาการ
เดินทาง ณ ยานดอนเมืองนี้เพ่ิงจะเรม่ิ ตน อาณาเขตทพั ฟ]าเหนอื สุดแดนสยามกวางขวางมากพอที่จะสรางความ
ทรงจําครั้งใหม ๆ ใหแกผูที่ผานมาและพาผูอยูอาศัยแตเดิมยอนระลึกถึงวันวาน เพราะที่นี่คือศูนยกลางการ
เดนิ ทางอันมากลนดวยความทรงจาํ ดอนเมอื ง กรงุ เทพมหานคร

66


67


โรงเรยี นสาธิตแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร5
แบบเสนอโครงการบรกิ ารวิชาการเพือ่ พฒั นาผ+ูเรยี น

1. ชื่อโครงการ
โครงการทองถิ่นศึกษาสูวรรณกรรมสรางสรรคออนไลน “เร่ืองเลาชาวชุมชน: การพัฒนาทักษะ

การเขียนเชิงสรางสรรคเพ่อื สงเสริมพ้ืนท่ีทางวฒั นธรรม กรณีศึกษาตลาดทาวงุ อาํ เภอทาวุง จังหวดั ลพบรุ ี”
2. หลกั การและเหตุผล

พื้นที่ทางวัฒนธรรม หมายถึง “พ้ืนที่ท่ีเปEนไดท้ังรูปธรรมและนามธรรม ท่ีเกี่ยวของกับการใชกิจกรรม
การใหความหมายในรปู แบบของวิถชี ีวิต ประเพณตี าง ๆ ความเช่ือ การตอรอง และอาํ นาจทางสังคม ทง้ั ทเี่ ปEน
พื้นที่ท่ีแสดงถึงความสําคัญในอดีต หรือแสดงถึงความทันสมัย มีการเช่ือมโยงใหเห็นมิติความสัมพันธท่ีเกิดขึ้น
ทั้งในบริบทของประวัติศาสตรชุมชน วิถีชีวิต วัฒนธรรม” เมธี พิริยการนนท และนพดล ต้ังสกุล28 ปKจจุบัน
ความเปEนชุมชนหรือทองถ่ินเริ่มถูกการกลืนทางวัฒนธรรมตามกาลสมัย ทําใหบางพื้นท่ีที่มีเอกลักษณ คุณคา
และความสําคัญสืบมานานนั้นถูกละเลย หรือถูกกลืนหายไปจากความรับรู เห็นไดจากการเปล่ียนแปลงเชิง
โครงสรางของพ้นื ที่ การขาดผูถายทอดและผูรบั ทอดเรอ่ื งราวของพื้นทที่ างวฒั นธรรมในทองถน่ิ ตาง ๆ

ตลาดทาวุง ตําบลทาวุง อําเภอทาวุง จังหวัดลพบุรี เปEนหน่ึงในพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ
คณุ คา และความสําคญั สบื มาตง้ั แตอดีต หลายเร่อื งราวอาจไมเปนE ท่รี บั รใู นปKจจุบนั เพราะขาดการถายทอดและ
บนั ทึกขอมูล เชน ตัวตนท่หี ายไปของเทพเจาโหงวโจวเซียนซือแหงศาลเจาพอคงคา ปงM เถากง ตลาดทาวุง หรือ
บางเร่อื งราวอาจเกดิ การเลือนหายในระยะเวลาอันใกลเน่ืองจากขาดผูสบื ทอดและขาดการใหความสําคัญ เชน
ขนมปONง ขนมถวยฟูนํ้าตาลสด ขนมกวน และอาหารทองถ่ินทาวุงอ่ืน ๆ การจัดกิจกรรมเพ่ือใหสรางแรงกระตนุ
ใหเห็นคุณคาความสําคัญของทองถิ่น ชมุ ชน ผานเร่ืองเลาท่ีถายทอดจากชาวชุมชนแตละถิ่นอาจเปEนประโยชน
ตอการธํารงรักษาวัฒนธรรมในทองถิน่ และคงสภาพความเปนE พืน้ ท่ที างวัฒนธรรมไวได

ปKจจุบันหนวยงานดานการศึกษา ตลอดจนสถานศึกษาตาง ๆ ใหความสนใจเก่ียวกับการพัฒนา
หลักสูตรทองถิ่นเพ่ือสงเสริมคุณคามรดกภูมิปKญญาในทองถ่ินนั้นอยางเกิดประโยชนตอพ้ืนที่ บุคคลผาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เชน การพัฒนาหลักสูตรทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี “การแสดงลําตัด” โดย สํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี (2565) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทองถ่ินศึกษาเพื่อสงเสริม
พฤติกรรมการอนุรักษภูมิปKญญาทองถิ่น สําหรับนิสิตปริญญาตรี โดย วิภาพรรณ พินลา (2560) การพัฒนา
รูปแบบการจัดการศึกษาโดยใชทองถ่ินเปEนฐานของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ โดย อัมพร พนิ ะสา (2560) นอกจากการสงเสริมการตระหนักในคุณคา
ของพ้ืนทท่ี างวฒั นธรรมทองถน่ิ ชมุ ชน ผานการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานแลว การพัฒนาทักษะการเขยี นเชงิ สรางสรรค
แกนักเรียน นักศึกษาท่ีอยูในพ้ืนที่ทางวัฒนธรรมตาง ๆ ก็เปEนแนวทางสงเสริมการตระหนักถึงคุณคาของพื้นท่ี
ทางวัฒนธรรมโดยตรงอีกแนวทางหน่ึงท่ีเปEนประโยชนตอการสืบทอด “เรื่องเลา” จาก “ชาวชุมชน” อยาง
แทจริง

28 “ปริทัศนบทความ: เร่อื งพืน้ ที่สาธารณะ พ้ืนทท่ี างวัฒนธรรม และพ้นื ทส่ี าธารณะทางวฒั นธรรม”, เมธี พิรยิ การ-
นนท และนพดล ต้ังสกลุ , 2564, หนาจวั่ , 1(18), น. 134-158.

68


3. วตั ถุประสงค5
3.1 เพ่อื พัฒนาทักษะการเขยี นเชิงสรางสรรคของผูเรียน
3.2 เพอื่ สงเสริมการเรยี นรูและสรางคณุ คาแกพนื้ ท่ีทางวัฒนธรรมในทองถ่นิ ของผเู รยี น
3.3 เพ่ือผลิต รวบรวม และเผยแพรผลงานการเขียนเชิงสรางสรรคท่ีสงเสริมคุณคาของทองถ่ินของ

ผูเรยี น
4. เปาT หมายหลัก

นักเรียน นักศึกษาผูสนใจถายทอดเร่ืองราวของทองถิ่น และตองการพัฒนาทักษะการเขียนเชิง
สรางสรรค จํานวน 40 คน
5. ผู+รับผิดชอบโครงการ

อาจารยอธิชนัน สิงหตระกูล กลุมประส บการณการส่ือส ารและภาษา (ภ าษาไทย)
โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต แ ห ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร ห ม า ย เ ล ข โ ท ร ศั พ ท 08-7820-8442
อเี มล [email protected]
6. วิธีการดาํ เนินการ

กอนกิจกรรมการเรียนร+ู
ข้นั ท่ี 1 รางหลักสตู ร ประสานเชญิ วิทยากร และขอใชสถานที่
ขั้นที่ 2 เขียนโครงการและขออนมุ ัติโครงการ ประมาณการคาใชจาย
ข้นั ที่ 3 ประชาสมั พันธดวยการแจงเวียนและทําบญั ชรี ายช่ือผเู ขารวมกิจกรรม
ขน้ั ท่ี 4 ประสานงานดานการจัดกิจกรรมในพืน้ ท่ี

กจิ กรรมการเรยี นรู+
ขัน้ ท่ี 5 ดาํ เนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู

กิจกรรมหลงั การเรียนร+ู
ขน้ั ท่ี 6 ถอดบทเรียนการเรยี นรขู องคณะวิทยากร
ขน้ั ที่ 7 ประเมินผลกจิ กรรม
ขั้นท่ี 8 เผยแพรผลการจดั กิจกรรม

7. ระยะเวลา
กอนกจิ กรรมการเรียนรู+
มถิ ุนายน 2565 – กันยายน 2565
กิจกรรมการเรียนร+ู
9 16 23 และ 30 ตลุ าคม 2565
กจิ กรรมหลงั การเรยี นรู+
30 ตลุ าคม – 15 พฤศจิกายน 2565
เผยแพรกจิ กรรมต้ังแต 23 ตุลาคม 2565
เผยแพรผลงานตั้งแต 23 พฤศจิกายน 2565

8. สถานที่
8.1 โปรแกรมปฏบิ ตั ิการ Zoom Meeting
8.2 ศาลเจาพอคงคา ตลาดทาวงุ ตาํ บลทาวงุ อาํ เภอทาวุง จังหวดั ลพบุรี

69


9. ผลผลติ /ผลลพั ธ5/ประโยชน5ท่คี าดวาจะได+รบั
9.1 นักเรียน นักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม สามารถพัฒนาทักษะการเขียนเชิงสรางสรรคเพื่อสราง

คุณคาแกชมุ ชนและทองถ่ินได
9.2 นักเรียน นักศึกษาสามารถสงเสริมการเรียนรูและสรางคุณคาแกพ้ืนท่ีทางวัฒนธรรมในทองถ่ิน

ของผูเรยี นได
9.3 นักเรียน นักศึกษามีผลงานการเขียนเชิงสรางสรรคที่สงเสริมคุณคาของทองถิ่น ชุมชน เปEน

ตวั อยางผลงานรวมเลม
10. วธิ ีการประเมนิ ผลและดัชนีชี้วัดความสาํ เรจ็ ของโครงการ

10.1 นักเรียน นักศึกษาท่เี ขารวมกจิ กรรม รอยละ 70 สะทอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
10.2 นักเรียน นักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรม รอยละ 70 สามารถสรางสรรคผลงานไดในระดับดี (3) ขึ้นไป
10.3 นักเรียน นักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรมรอยละ 70 มีความพึงพอใจการจัดกิจกรรมในระดับมาก (4)
ข้นึ ไป

70


“เรื่องเลาชาวชุมชน จากคนชอบเลา”
โดย ผศ. ดร.อภลิ กั ษณ5 เกษมผลกูล อ.ศุภธชั คมุ+ ครอง และอ.อธิชนนั สงิ หตระกลู

71


“เขียนถงึ กWง-นิราศทาว+งุ : วัฒนธรรม ความเป#นอยู และชวี ิต”
โดย อ.วชิราภรณ5 รงุ โรจนช5 นาทพิ ย5 อ.สนธยา สุขอิ่ม และอ.อธชิ นัน สิงหตระกูล

72


“เลา พน้ื บ+าน : เพลงขบั ขานประวัตศิ าสตร5ทอ+ งถน่ิ ”
โดย อ.สนธยา สขุ อม่ิ และอ.อธิชนนั สงิ หตระกลู

73


“เดิน กนิ เลา : แลศาลเจ+า เลาความหลัง น่งั ชิมขนม”
โดย ชาวตลาดทาวง+ุ และอ.อธชิ นนั สิงหตระกูล

74


75


76


“ขดี เขียนเปลี่ยนกนั เลา”
โดย อ.ธวรตุ ต5 จุลครี ี และอ.สนธยา สุขอ่ิม

77


“แลกเลาแบงกนั แบงปน7 สูวง”
โดย อ.อธิชนนั สิงหตระกลู

78


บันทึกนกึ อยากเลา……………………………………………………………
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………….

79




การเขยี นเชงิ สรางสรรค . . .
เปนประโยชนตอการสืบทอด “เรื่องเลา”

จาก “ชาวชุมชน” อยางแทจรงิ



80


Click to View FlipBook Version