The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by civicbyteeran737, 2019-09-07 02:33:36

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ตามแนว Backward Design

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 2

ช่ือหน่วยการ เป้าหมายการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง แผนการจดั การ วิธสี อน/ จานวน
เรียนรู้ เรียนรู้ที่ / เรื่อง กระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมง

ระบบร่างกาย 1. สารวจตรวจสอบ 1. ทดลองและอธิบาย 1. การจดั ระบบใน วธิ ีสอนแบบ 2

มนุษยแ์ ละสัตว์ สืบคน้ ขอ้ มลู โครงสร้างและการ ร่างกาย วทิ ยาศาสตร์ 17
4
อภปิ รายและอธิบาย ทางานของระบบ 3

โครงสร้างและการ ต่างๆ ในร่างกายได้

ทางานของระบบ ซ่ึงไดแ้ ก่ ระบบยอ่ ย

ตา่ งๆ ของมนุษย์ อาหาร ระบบ

และสตั ว์ หมนุ เวียนเลอื ด

2. การทางานท่ี ระบบหายใจ ระบบ

สมั พนั ธก์ นั ของ ขบั ถ่าย ระบบ

ระบบต่างๆ ประสาท ระบบ

3. สงั เกต สารวจ สืบพนั ธุ์ ระบบ

ตรวจสอบ วเิ คราะห์ ภมู คิ มุ้ กนั ระบบ

และอธิบาย โครงกระดูก และ

พฤตกิ รรมของ กลา้ มเน้ือ

มนุษยท์ ี่ตอบสนอง 2. สืบคน้ ขอ้ มลู 2. โครงสร้างและหนา้ ท่ี วธิ ีสอนแบบ

ตอ่ ส่ิงเร้า วิเคราะห์และ ของระบบตา่ งๆ วทิ ยาศาสตร์

4. หลกั การและผล อธิบายการทางานท่ี

ของการใช้ สัมพนั ธก์ นั ของ

เทคโนโลยชี วี ภาพ ระบบตา่ งๆ ที่ทา

ในการขยายพนั ธุ์ ใหม้ นุษยด์ ารงชวี ิต

ปรับปรุงพนั ธุ์และ ไดอ้ ยา่ งปกติสุข

เพิ่มผลผลิตของ 3. ทดลอง วิเคราะห์ 3. พฤติกรรมการ วิธีสอนโดยการ

สัตว์ และอธิบาย ตอบสนองของมนุษย์ จดั การเรียนรู้แบบ

พฤตกิ รรมบางอยา่ ง และสัตว์ ร่วมมอื

ของมนุษยท์ ่ี กระบวนการกลมุ่

ตอบสนองต่อสิ่งเร้า

4. นาความรู้ดา้ น 4. เทคโนโลยชี วี ภาพกบั วธิ ีสอนโดยการ

เทคโนโลยชี วี ภาพ การปรับปรุงพนั ธุ์ จดั การเรียนรู้แบบ

ไปใชป้ ระโยชน์ได้ ร่วมมอื

กระบวนการกลุ่ม

1

ผงั มโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 1

เน้ือเยอื่ อวยั วะ ร่างกาย หมุนเวยี นเลอื ด หายใจ ขบั ถา่ ย
เซลล์
ยอ่ ยอาหาร ประสาท
สืบพนั ธุ์
การจดั ระบบในร่างกาย โครงสร้างและหน้าท่ี
ของระบบต่างๆ

การผสมขา้ มพนั ธุ์ ระบบร่างกายมนุษย์ ภูมิคุม้ กนั
ผสมเทียม และสัตว์ พฤติกรรมของมนุษย์

ถ่ายฝากตวั ออ่ น เทคโนโลยชี ีวภาพกบั การ พฤตกิ รรมการตอบสนอง
ปรับปรุงพนั ธ์ุ ของมนุษย์และสัตว์

พนั ธุวิศวกรรม ประโยชนข์ อง พฤติกรรมของสตั ว์
เทคโนโลยชี ีวภาพ
การโคลน

2

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ตามแนว Backward Design

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 เวลาเรียน 26 ช่ัวโมง

--------------------------------

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 1.1 ขอ้ 3. สารวจตรวจสอบ สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปราย และอธิบายโครงสร้าง และการทางานของ

ระบบต่างๆ ของส่ิงมชี ีวิต การทางานท่ีสมั พนั ธก์ นั ของระบบต่างๆ

ขอ้ 4. สงั เกต สารวจตรวจสอบ วิเคราะห์ และอธิบายพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตที่ตอบสนอง

ต่อสิ่งเร้า

ขอ้ 5. อธิบายหลกั การและผลของการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพนั ธุ์ และเพิ่ม

ผลผลิตของสตั วแ์ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ความคดิ รวบยอดหลกั (core concept)

2.1 สาระหลกั

1. การจดั ระบบในร่างกาย ประกอบไปดว้ ย ระดบั เซลล์ ระดบั เน้ือเย่อื ระดบั อวยั วะ และ

ระดบั ร่างกาย

2. โครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ

ระบบขบั ถ่าย ระบบประสาท ระบบสืบพนั ธุ์ ระบบภูมิคุม้ กนั ระบบโครงกระดูกและ

กลา้ มเน้ือ

3. การทางานที่สมั พนั ธก์ นั ของระบบต่างๆ ทาใหม้ นุษยแ์ ละสตั วด์ ารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งปกติสุข

4. พฤติกรรมการตอบสนองต่อส่ิงเร้าของมนุษยแ์ ละสตั ว์

5. ใชค้ วามรู้ดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพในการปรับปรุงพนั ธุส์ ตั ว์

2.2 ทกั ษะ/กระบวนการ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์

1. รู้จกั คิดวิเคราะห์

2. มีเหตุผล

3. เห็นแก่ประโยชนส์ ่วนรวม

4. มคี วามรับผดิ ชอบ

3

3. ความเข้าใจทีค่ งทน
1. การจดั ระบบในร่างกาย
2. โครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่างๆ ในร่างกาย
3. การทางานท่ีสมั พนั ธก์ นั ของระบบต่างๆ ในร่างกาย
4. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษยแ์ ละสตั ว์
5. เทคโนโลยชี ีวภาพกบั การปรับปรุงพนั ธุ์

4

4. กรอบการวดั และประเมนิ ผล

เป้าหมายการเรียนรู้ ชิ้นงาน / ภาระงาน วิธกี ารวัด เครื่องมือ เกณฑ์
/ ร่องรอยหลกั ฐาน

ความเข้าใจที่คงทน - ใบงานที่ 1.1 - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 50
- ใบงานที่ 1.2 - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - ใบงานที่ 1.2 ผ่านเกณฑ์
 ความรู้ - ใบงานท่ี 2.1 - ตรวจใบงานท่ี 2.1 - ใบงานท่ี 2.1
1. การจดั ระบบในร่างกาย - ใบงานท่ี 2.2 - ตรวจใบงานท่ี 2.2 - ใบงานที่ 2.2
- ใบงานที่ 2.3 - ตรวจใบงานท่ี 2.3 - ใบงานท่ี 2.3
2. โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องระบบ - ใบงานท่ี 2.4 - ตรวจใบงานท่ี 2.4 - ใบงานท่ี 2.4
ต่างๆ ในร่างกาย - ใบงานที่ 2.5 - ตรวจใบงานท่ี 2.5 - ใบงานท่ี 2.5
- ใบงานที่ 3.1 - ตรวจใบงานท่ี 3.1 - ใบงานที่ 3.1
3. การทางานทส่ี ัมพนั ธก์ นั ของ
ระบบต่างๆ ในร่างกาย - ใบงานท่ี 4.1 - ตรวจใบงานที่ 4.1 - ใบงานท่ี 4.1

4. พฤตกิ รรมการตอบสนองของ - แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ ร้อยละ 50
มนุษยแ์ ละสัตว์ ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
5. เทคโนโลยชี ีวภาพกบั การ ความสามารถ 2 ผ่านเกณฑ์
ปรับปรุงพนั ธุ์ ดา้ นทกั ษะ ดา้ นทกั ษะ ความสามารถ
กระบวนการ
ข้อ 1 - 5 วิทยาศาสตร์ กระบวนการ ดา้ นทกั ษะ
 ทกั ษะ/กระบวนการ
วทิ ยาศาสตร์ กระบวนการ
- กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์
 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์
- รู้จกั คิดวิเคราะห์ - ใบงานท่ี 1.1 - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ระดบั คณุ ภาพ
- มเี หตผุ ล
- ใบงานท่ี 1.2 - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - ใบงานที่ 1.2 2 ผา่ นเกณฑ์
- เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
- ใบงานที่ 2.1 - ตรวจใบงานที่ 2.1 - ใบงานท่ี 2.1
- มีความรับผิดชอบ
- ใบงานท่ี 3.1 - ตรวจใบงานที่ 3.1 - ใบงานที่ 3.1

- แบบประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ

กระบวนการกลุ่ม การทางานกลุม่ กระบวนการกลุ่ม 2 ผา่ นเกณฑ์

- แบบสังเกต - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต ระดบั คณุ ภาพ

พฤติกรรมการ การทางานของ พฤติกรรมการ 2 ผา่ นเกณฑ์

ทางานของ นกั เรียนรายบุคคล ทางานของ

นกั เรียน นกั เรียนรายบคุ คล

รายบคุ คล

5

เป้าหมายการเรียนรู้ ช้ินงาน / ภาระงาน วิธกี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์
/ ร่องรอยหลกั ฐาน
ทกั ษะการเรียนรู้เฉพาะวชิ า
- แบบประเมนิ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ
- กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ ความสามารถ 2 ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทกั ษะ ดา้ นทกั ษะ ความสามารถ
ทกั ษะการเรียนรู้ร่วมวชิ า กระบวนการ
วทิ ยาศาสตร์ กระบวนการ ดา้ นทกั ษะ
- ทกั ษะการเขียน
วทิ ยาศาสตร์ กระบวนการ

วทิ ยาศาสตร์

- แบบประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ดา้ น ระดบั คุณภาพ
งานดา้ นทกั ษะ งานดา้ นทกั ษะการ ทกั ษะการเขยี น 2 ผา่ นเกณฑ์
การเขียน เขยี น

6

การวางแผนการจดั การเรียนรู้เพื่อพฒั

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยา

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน
การเรียนรู้ (ชิ้นงาน / ร่องรอย)
- ตรวจใบงานที่ 1.1
ว 1.1 ความเข้าใจที่คงทน - ใบงานท่ี 1.1 - ตรวจใบงานที่ 1.2
ขอ้ 3 1. การจดั ระบบในร่างกาย - ใบงานท่ี 1.2
- สงั เกตพฤตกิ รรม
คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ - แบบประเมิน การทางานกลุ่ม
- เห็นแก่ประโยชน์ กระบวนการกลุ่ม
ส่วนรวม

7

- รู้จกั คดิ วเิ คราะห์ - ใบงานท่ี 1.1 - ตรวจใบงานท่ี 1.1

- มคี วามรับผิดชอบ - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม

พฤติกรรมการทางาน การทางานของ

ของนกั เรียน นกั เรียนรายบุคคล

ทักษะการเรียนรู้เฉพาะวิชา รายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรม
กระบวนการวิทยาศาสตร์ - แบบประเมิน ดา้ นทกั ษะ

ความสามารถดา้ น

ทกั ษะกระบวนการ กระบวนการ

วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์

- รู้จกั คิดวิเคราะห์ - ใบงานที่ 1.2 - ตรวจใบงานที่ 1.2

ฒนาคุณภาพผ้เู รียนตามนโยบาย สพฐ.

าศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 2

กิจกรรม ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 1. สื่อสาระการ
1. แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรียนรู้ พ้นื ฐาน
2. ครูทบทวนความรู้เรื่องส่วนประกอบและรูปร่างของเซลล์ โดยให้
นกั เรียนร่วมกนั อภิปราย สัมฤทธ์ิมาตรฐาน
3. แบง่ นกั เรียนเป็นกลุ่ม ใหศ้ กึ ษาใบความรู้ที่ 1.1 และใบความรู้ที่ 1.2 วทิ ยาศาสตร์ ม.2
แลว้ ทาใบงานที่ 1.1 ดงั น้ี เล่ม 1
2. ใบความรู้ท่ี 1.1
- พจิ ารณาภาพร่างของมนุษย์ แลว้ จาแนกระบบตา่ งๆ 3. ใบความรู้ที่ 1.2
- เลือกระบบใดระบบหน่ึงมาจาแนกอวยั วะในระบบ 4. ใบงานท่ี 1.1
- เลือกอวยั วะที่เป็นส่วนประกอบของระบบน้นั ๆ มา 1 อวยั วะ
แลว้ จาแนกองคป์ ระกอบภายใน
- เลือกส่วนประกอบของอวยั วะมา 1 ส่วน แลว้ พจิ ารณาว่า
ส่วน ท่ีเลก็ ทส่ี ุดเรียกว่าอะไร
4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทาแบบฝึ กปฏบิ ตั กิ ิจกรรมท่ี 1.1 ในหนงั สือเรียน

5. นกั เรียนนาเสนอผลการศกึ ษาในรูปของผงั ความคดิ ความสมั พนั ธ์ 5. ใบงานท่ี 1.2
ของเซลล์ เน้ือเยอื่ อวยั วะ ระบบอวยั วะ ลงในใบงานท่ี 1.2 6. หอ้ งสมดุ
7. อินเทอร์เน็ต
6. นกั เรียนและครูชว่ ยกนั สรุปการจดั ระบบในร่างกาย

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธกี ารประเมนิ
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย)

ว 1.1 ความเข้าใจที่คงทน
ขอ้ 3 2. โครงสร้างและหนา้ ท่ี

ของระบบตา่ งๆ ในร่างกาย

คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤตกิ รรม
- มคี วามรับผิดชอบ
พฤติกรรมการทางาน การทางานของ
- เหน็ แก่ประโยชน์
ส่วนรวม ของนกั เรียน นกั เรียนรายบคุ คล

รายบุคคล

8 - แบบประเมนิ - สังเกตพฤตกิ รรม

กระบวนการกลุ่ม การทางานกล่มุ

ทักษะการเรียนรู้เฉพาะวชิ า - แบบประเมนิ - สังเกตพฤติกรรม
- กระบวนการ ความสามารถดา้ น ทกั ษะกระบวนการ
วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ วทิ ยาศาสตร์

กิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
1. ครูใหน้ กั เรียนทาความสะอาดช่องปากและใหน้ กั เรียนอมขา้ วสุกไว้
ในปาก แลว้ ใหน้ กั เรียนบอกว่าขา้ วมรี สชาตอิ ยา่ งไร
2. ใหน้ กั เรียนเค้ยี วขา้ วไวใ้ นปากนาน 3 นาที แลว้ ใหบ้ อกวา่ ขา้ วมี
รสชาตเิ ปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
3. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

4. แบ่งนกั เรียนกล่มุ ละ 5 คน ใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ แยกไปศึกษา 1. สื่อสาระการ
อวยั วะต่างๆ ในระบบทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่ ปาก หลอดอาหาร เรียนรู้ พ้ืนฐาน
กระเพาะอาหาร ลาไสเ้ ลก็ และลาไสใ้ หญ่ จากใบความรู้ท่ี 2.1 สัมฤทธ์ิ มาตรฐาน

5. ใหส้ มาชิกแต่ละคนกลบั เขา้ กลุ่มเดิม แลว้ อธิบายเร่ืองทศี่ ึกษาให้ วทิ ยาศาสตร์ ม.2
เพอ่ื นฟัง เล่ม 1

6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มศึกษา และทาการทดลองในแบบฝึ กปฏิบตั ิ 2. ใบความรู้ท่ี 2.1
กิจกรรมที่ 2.1 ในหนงั สือเรียน
7. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการทากจิ กรรม
8. นกั เรียนแต่ละคนเขยี นผงั ความคิด ความสมั พนั ธข์ องอวยั วะใน
ระบบยอ่ ยอาหาร

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย)

คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤตกิ รรม
- เหน็ แก่ประโยชน์ กระบวนการกลมุ่ การทางานกล่มุ
ส่วนรวม

9 ความเข้าใจที่คงทน - ใบงานท่ี 2.1 - ตรวจใบงานท่ี 2.1
2. โครงสร้างและหนา้ ท่ี
ของระบบต่างๆ ในร่างกาย - ใบงานท่ี 2.1 - ตรวจใบงานที่ 2.1
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ - ใบงานท่ี 2.2 - ตรวจใบงานที่ 2.2
- รู้จกั คิดวเิ คราะห์
- แบบประเมนิ - ประเมินผลงาน
ทกั ษะการเรียนร่วมวชิ า ผลงานดา้ น ทกั ษะ ดา้ นทกั ษะการเขยี น
- ทกั ษะการเขยี น การเขยี น
- สังเกตพฤติกรรม
ทกั ษะการเรียนรู้เฉพาะวชิ า - แบบประเมิน ดา้ นทกั ษะ
- กระบวนการ ความสามารถ ดา้ น กระบวนการ
วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์

กิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้

9. ครูใหน้ กั เรียนดกู ารไหลเวยี นของเลือดบริเวณหางของปลา 3. วดี ิทศั นเ์ ร่ือง
หางนกยงู ในวีดิทศั น์ แลว้ บรรยายสิ่งทีเ่ หน็ ระบบไหลเวยี นเลอื ด
4. ใบความรู้ท่ี 2.2
10. แบง่ กล่มุ นกั เรียน กลุ่มละ 6 คน ใหส้ มาชิกของแต่ละกลุ่มแยกกนั 5. ใบงานท่ี 2.1
ไปศึกษาเกย่ี วกบั อวยั วะในระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ไดแ้ ก่
เลือดเส้นเลอื ด และหวั ใจ 6. ใบความรู้ท่ี 2.3
7. ใบงานที่ 2.2
11. สมาชิกแตล่ ะคนกลบั เขา้ กลมุ่ เดิม อธิบายเรื่องที่ศกึ ษาใหเ้ พ่อื นฟัง
แลว้ ร่วมกนั ทาใบงานท่ี 2.1 และแบบฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 2.2 ใน
หนงั สือเรียน

12. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปและเขียนผงั ความคิดระบบ
หมุนเวียนเลือด

13. ครูใหน้ กั เรียนเอามอื จบั ทก่ี ระดูกซี่โครงของตวั เอง และใหห้ ายใจ
เขา้ -ออก แลว้ สงั เกตการณ์เปลย่ี นแปลง

14. ใหน้ กั เรียนจดั กลุม่ กล่มุ ละ 4-5 คน ศึกษาเรื่องระบบหายใจ จาก
ใบความรู้ที่ 2.3 แลว้ ทาใบงานที่ 2.2

15. นกั เรียนสรุปผลการทากิจกรรม และเขยี นผงั ความคิดเร่ือง
ระบบหายใจ

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธกี ารประเมนิ
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย)

ทกั ษะการเรียนรู้เฉพาะวิชา

- กระบวนการ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤตกิ รรม
ดา้ นทกั ษะ
วิทยาศาสตร์ ความสามารถดา้ น กระบวนการ
วิทยาศาสตร์
ทกั ษะกระบวนการ

10 วทิ ยาศาสตร์

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม
- เหน็ แกป่ ระโยชน์ กระบวนการกลุ่ม การทางานกล่มุ
ส่วนรวม
- แบบสงั เกต - สังเกตพฤติกรรม
- มคี วามรับผิดชอบ
พฤติกรรมการทางาน การทางานของ

ของนกั เรียน นกั เรียนรายบคุ คล

รายบุคคล

กิจกรรม ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้

16. ครูซักถามนกั เรียนเก่ียวกบั การขบั ถา่ ยของเสียของร่างกายพบอยู่ 8. หอ้ งสมดุ
ใน 9. อนิ เทอร์เนต็

รูปใดและเกย่ี วขอ้ งกบั อวยั วะใดบา้ ง
17. จดั กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ใหส้ มาชกิ ในกลุ่มแยกกนั ไปศึกษาการ

ขบั ถา่ ยทางผวิ หนงั ทางปอด ทางไต และทางลาไสใ้ หญ่
18. สมาชกิ แต่ละคนกลบั เขา้ กลุ่มเดมิ แลว้ อธิบายใหเ้ พอื่ นฟัง
19. แต่ละกลมุ่ ทาแบบปฏบิ ตั กิ ิจกรรมท่ี 2.3 ในหนงั สือเรียน
20. สรุปผลการทากจิ กรรมและเขยี นผงั ความคิดเรื่องระบบขบั ถ่าย
21. ใหน้ กั เรียนจบั คู่กนั โดยคนหน่ึงใชผ้ า้ ปิ ดตา ส่วนอีกคนหยบิ ขนม

ใหเ้ พ่อื นดม ชิม สัมผสั แลว้ ใหค้ นทปี่ ิ ดตาบอกความรู้สึกตา่ งๆ
จากน้นั ผลดั กนั ปิ ดตา
22. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั คดิ ว่าความรู้สึกต่างๆ น้นั เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร
23. แบ่งกลุ่มๆ ละ 5 คน ใหส้ มาชิกในกลุ่มแยกไปรวมเป็นกลมุ่
หมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 เพ่ือศึกษาเกย่ี วกบั สมอง ไขสันหลงั
เส้นประสาท การทางานของระบบประสาท และอวยั วะรับสัมผสั
ตามลาดบั
24. สมาชิกกล่มุ แตล่ ะหมายเลขกลบั เขา้ กลุ่มเดมิ แลว้ อธิบายหวั ขอ้ ท่ี
ศกึ ษาใหเ้ พือ่ นฟัง

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการประเมนิ
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย) - ตรวจใบงานท่ี 2.3

ความเข้าใจที่คงทน - ใบงานท่ี 2.3
2. โครงสร้างและหนา้ ที่
ของระบบตา่ งๆ ในร่างกาย

คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์

- รู้จกั คิดวิเคราะห์ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม

กระบวนการกลุม่ การทางานกลุ่ม

ทักษะการเรียนรู้เฉพาะวิชา

11 - กระบวนการ - แบบประเมนิ - สงั เกตพฤตกิ รรม

วิทยาศาสตร์ ความสามารถ ดา้ น ดา้ นทกั ษะ

ทกั ษะกระบวนการ กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

กิจกรรม ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้

25. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบงานที่ 2.3 แลว้ แลกเปลยี่ นกนั ตรวจความ 10. ใบงานที่
ถกู ตอ้ ง 2.3

26. สรุปเน้ือหาทศ่ี กึ ษาและเขยี นผงั ความคิดเรื่อง ระบบประสาท 11. โครง
27. ใหน้ กั เรียนสงั เกตการเคล่อื นไหวของหุ่นยนตก์ บั มนุษยว์ า่ แตกต่าง กระดูกจาลอง

กนั อยา่ งไร 12. วดี ิทศั น์
28. จดั กล่มุ ๆ ละ 4-5 คน ส่งตวั แทนไปรับโครงกระดูกจาลองของ เร่ือง พฒั นาการของ
มนุษย์
มนุษยแ์ ละปี กไก่ยา่ ง กล่มุ ละ 1 ชดุ
29. แต่ละกล่มุ ตอ่ กระดูกจาลองและจาแนกกระดูกแกน และกระดูก

รยางค์
30. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ทดสอบการเคลื่อนไหวของโครงกระดกู จาลอง

เปรียบเทยี บกบั ปี กไกย่ า่ ง
31. แตล่ ะกลุม่ ลอกหนงั ปี กไก่ แลว้ สงั เกตลกั ษณะของกลา้ มเน้ือ
32. นกั เรียนร่วมกนั สรุปเรื่องระบบโครงกระดูกและกลา้ มเน้ือ
33. ครูต้งั คาถามใหน้ กั เรียนตอบ เชน่

- นกั เรียนเกิดมาไดจ้ ากการทางานของระบบใดในร่างกายของพ่อ
แม่
34. นกั เรียนศึกษาพฒั นาการของมนุษยจ์ ากเดก็ เขา้ สู่วยั รุ่นจากวีดทิ ศั น์

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย)

ความเข้าใจที่คงทน - ตรวจใบงานที่ 2.4
2. โครงสร้างและหนา้ ท่ี - ใบงานที่ 2.4
ของระบบตา่ งๆ ในร่างกาย

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤติกรรม
- มีความรับผิดชอบ กระบวนการกลมุ่ การทางานกล่มุ

12

คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ - แบบประเมิน - สังเกตพฤตกิ รรม
- เหน็ แกป่ ระโยชน์ กระบวนการกลุ่ม การทางานกลุม่
ส่วนรวม

ความเข้าใจที่คงทน - ตรวจใบงานท่ี 2.5
3. การทางานทส่ี ัมพนั ธก์ นั - ใบงานท่ี 2.5

ของระบบตา่ งๆ ในร่างกาย

กิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้

35. แบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คน ทาใบงานที่ 2.4 แลว้ แลกเปลยี่ นผลงานกบั 13. ใบงานท่ี
ใบความรู้ที่
เพือ่ นกลมุ่ อน่ื 2.4

36. แตล่ ะกลุ่มช่วยกนั เขยี นผงั ความคดิ โครงสร้างและหนา้ ทีข่ องระบบ

สืบพนั ธุ์ในเพศชายและหญิง

37. ครูทบทวนเรื่องหนา้ ทขี่ องเมด็ เลอื ดขาว

38. แบ่งกล่มุ ๆ ละ 6 คน ใหส้ มาชิกแยกกนั ไปศึกษา เร่ือง เช้อื โรคเขา้ สู่

ร่างกายไดอ้ ยา่ งไร, การสร้างภมู คิ มุ้ กนั ก่อเอง, การรับภมู คิ มุ้ กนั 14.

รับมา 2.4

39. สมาชิกกลบั เขา้ กลุ่มเดมิ อภิปรายถึงหวั ขอ้ ทศ่ี กึ ษามา แลว้ ร่วมกนั

สรุปเป็นผงั ความคิดนาเสนอผลงานกล่มุ

40. ใหน้ กั เรียนออกแบบแผ่นพบั รณรงคก์ ารเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่

41. ครูยกตวั อยา่ งนกั เรียนในหอ้ งท่ไี มส่ บาย โดยใหน้ กั เรียนแสดง

ความ

คดิ เห็นเก่ียวกบั อาการของเพื่อน

42. แบง่ กลุ่มๆ ละ 4 คน ทาใบงานท่ี 2.5 แลว้ ส่งตวั แทนกล่มุ นาเสนอ 15. ใบงานที่

ขอ้ สรุปของกลมุ่ 2.5

43. นกั เรียนทาแผน่ พบั รณรงคก์ ารดูแลรักษาสุขภาพร่างกายเพ่ือให้
ระบบต่างๆ ในร่างกายทางานสมั พนั ธ์กนั อยา่ งมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีการประเมิน
การเรียนรู้ (ช้ินงาน / ร่องรอย)

ว 1.1 ความเข้าใจท่ีคงทน - ใบงานที่ 3.1 - ตรวจใบงานที่ 3.1
ขอ้ 4 4. พฤติกรรมการ

ตอบสนองของมนุษยแ์ ละ
สตั ว์

คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ - แบบประเมนิ - สงั เกตพฤติกรรม
- เห็นแกป่ ระโยชน์ กระบวนการกล่มุ การทางานกลุ่ม
ส่วนรวม - ใบงานที่ 3.1 - ตรวจใบงานที่ 3.1
- รู้จกั คิดวเิ คราะห์

13

ทักษะการเรียนรู้เฉพาะวชิ า - แบบประเมิน - สังเกตพฤติกรรม
ดา้ นกระบวนการ
- กระบวนการ ความสามารถ วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ ดา้ นทกั ษะ

กระบวนการ

วิทยาศาสตร์

- แบบสังเกต - สงั เกตพฤติกรรม

คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมการทางาน การทางานของ
- มคี วามรับผิดชอบ
ของนกั เรียน นกั เรียนรายบุคคล

รายบคุ คล

กจิ กรรม ส่ือ / แหล่งการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 1. ส่ือสาระการ
1. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนโดยใชค้ าถามวา่ นกั เรียนเคยหาวหรือไม่ และ เรียนรู้ พ้ืนฐาน
เม่ือรู้สึกว่าหาว นกั เรียนสามารถหา้ มการหาวไดห้ รือไม่
2. ใหน้ กั เรียนลองคิดวา่ มีพฤติกรรมใดอีกบา้ งท่มี ลี กั ษณะเดยี วกบั การ สมั ฤทธ์ิมาตรฐาน
หาว วทิ ยาศาสตร์ ม.2
3. แบ่งกลมุ่ ๆ ละ 4 คน ร่วมกนั ศึกษาใบความรู้ที่ 3.1 แลว้ ทาใบงาน เลม่ 1
ท่ี 3.1 2. ใบความรู้ที่ 3.1
4. จาแนกพฤติกรรมที่ทาในใบงานท่ี 3.1 และยกตวั อยา่ งอนื่ ประกอบ 3. ใบงานที่ 3.1
5. ร่วมกนั สรุปและเขียนผงั ความคิด 4. หอ้ งสมดุ
6. ครูนาภาพเก่ียวกบั พฤตกิ รรมของสัตวต์ า่ งๆ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั 5. อินเทอร์เนต็
อภิปราย
7. นกั เรียนจบั ค่กู นั ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมของสตั วแ์ ลว้ ทาแบบฝึ ก
ปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ี 3.3 ในหนงั สือเรียน
8. แบง่ กลมุ่ 6 คน ใหแ้ ต่ละคนมีหมายเลขประจาตวั แตล่ ะกลมุ่ ทาแบบ
ฝึ กปฏบิ ตั ิกิจกรรมที่ 3.4
9. สมาชกิ แต่ละคนแยกยา้ ยกนั ไปรวมกลมุ่ หมายเลขประจาตวั แลว้
ร่วมกนั อภปิ รายผลการทากจิ กรรม
10. ร่วมกนั สรุปแลว้ ทาแบบฝึ กทกั ษะพฒั นาการเรียนรู้ และ
แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ืองที่ 3

มาตรฐาน เป้าหมายการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธกี ารประเมิน
การเรียนรู้ (ชิ้นงาน / ร่องรอย)

ว 1.1 ความเข้าใจท่ีคงทน

ขอ้ 5 5. เทคโนโลยชี วี ภาพกบั - ใบงานท่ี 4.1 - ตรวจใบงานที่ 4.1

การปรับปรุงพนั ธุ์

คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์

- มีความรับผิดชอบ - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม

พฤตกิ รรมการทางาน การทางานของ

ของนกั เรียน นกั เรียนรายบคุ คล

รายบคุ คล

ทักษะการเรียนรู้เฉพาะวชิ า

14 กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ - แบบประเมิน - สงั เกตพฤตกิ รรม

ความสามารถ ดา้ น ดา้ นทกั ษะ

ทกั ษะกระบวนการ กระบวนการ

วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ทักษะการเรียนรู้ร่วมวิชา - แบบประเมินผล - ประเมนิ ผลงาน
- ทกั ษะการเขียน งานดา้ นทกั ษะการ ดา้ นทกั ษะการเขียน
เขยี น

ความเข้าใจท่ีคงทน - แบบทดสอบ
ขอ้ 1-5
- ตรวจ
แบบทดสอบ

หมายเหตุ : เครื่องมอื และเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล มรี ายละเอยี ดอยใู่ นแผนการจดั การเรี

กิจกรรม สื่อ / แหล่งการเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 1. ส่ือสาระการ
1. ครูกล่าวถึงการเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื พชื แลว้ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั บอก เรียนรู้ พ้ืนฐาน
เทคนิค วธิ ีการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่
2. ใหน้ กั เรียนศึกษาเทคโนโลยชี วี ภาพท่ใี ชป้ รับปรุงพนั ธุส์ ตั ว์ สัมฤทธ์ิมาตรฐาน
3. ครูสุ่มนกั เรียนบางคนเพื่อตอบคาถามจากการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ ม.2
4. นกั เรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 4.1 แลว้ แลกกนั ตรวจ เล่ม 1
2. ใบงานที่ 4.1
5. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึ กปฏิบตั ิกจิ กรรมที่ 4.1 และ 4.2 ในหนงั สือ 3. หอ้ งสมุด
เรียน 4. อนิ เทอร์เนต็
6. ครูกลา่ วสรุป แลว้ ใหน้ กั เรียนกลบั ไปทบทวนบทเรียนในหน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1 เป็นการบา้ น เพ่ือมาทาแบบทดสอบหลงั เรียนในชวั่ โมง
ต่อไป

7. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน
8. ครูตรวจแบบทดสอบและประเมินนกั เรียน

รยนรู้

1 การจดั ระบบในร่างกาย 1

เวลา 2 ชว่ั โมง

ร่างกายของมนุษยป์ ระกอบดว้ ยเซลลจ์ านวนมากมายหลายลา้ นเซลล์ เซลลจ์ ะมีการรวมกลุ่มกนั เพ่ือทา
หนา้ ที่เฉพาะอยา่ ง เซลลท์ ่ีรูปร่างเหมือนกนั มารวมกลุ่มทาหน้าที่อย่างเดียวกนั เรียกเน้ือเยื่อ เน้ือเยอ่ื หลายๆ
เน้ือเย่อื มารวมกลุ่มกนั เรียกว่า อวยั วะ ซ่ึงอวยั วะต่างๆ จะรวมกนั เป็ นระบบ ดงั น้ันร่างกายของมนุษยจ์ ึง
จดั เป็น 4 ระดบั คือ ระดบั เซลล์ เน้ือเยอ่ื อวยั วะ และระบบ

1. อธิบายการจดั ระบบในร่างกายได้
2. อธิบายความหมายของเซลล์ เน้ือเยื่อ อวยั วะ และระบบได้
3. อธิบายความสมั พนั ธข์ องเซลล์ เน้ือเยอ่ื อวยั วะ และระบบอวยั วะในร่างกายได้

1. ระดบั เซลล์
2. ระดบั เน้ือเยอื่
3. ระดบั อวยั วะ
4. ระดบั ระบบร่างกาย

15

(วธิ ีสอนแบบวทิ ยาศาสตร์)

ช่ัวโมงที่ 1 - 2
- แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนความรู้เรื่อง ส่วนประกอบและรูปร่างของเซลล์ โดยใหน้ กั เรียนช่วยอธิบายเพม่ิ เติม

 ข้นั กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะผ้เู รียน
1. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน คละเพศและความสามารถ ศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1.1 เรื่อง
เซลลแ์ ละเน้ือเยอื่ ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง การจดั ระบบในร่างกาย แลว้ ทาใบงานที่ 1.1 เร่ือง การจดั ระบบ
ในร่างกาย โดยพจิ ารณาภาพร่างกายของมนุษยแ์ ละจาแนกระบบต่างๆ ท่ีประกอบอยใู่ หไ้ ดม้ ากท่ีสุด
- เลอื กระบบใดระบบหน่ึงมาทาการจาแนกอวยั วะท่ีเป็นส่วนประกอบวา่ มีอะไรบา้ ง
- เลอื กอวยั วะท่ีเป็นส่วนประกอบของระบบของกลมุ่ นกั เรียนมา 1 อวยั วะ และจาแนกวา่ อวยั วะ
ดงั กลา่ วประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
- เลือกส่วนประกอบของอวยั วะมา 1 ส่วน และพจิ ารณาว่า ประกอบดว้ ยส่วนประกอบเลก็ ๆ ท่ี
เรียกว่าอยา่ งไร
2. นกั เรียนนาเสนอผลการศกึ ษาในรูปของแผนผงั ความคิด ความสมั พนั ธข์ องเซลล์ เน้ือเยอ่ื อวยั วะ
ระบบอวยั วะ ในใบงานที่ 1.2

 ข้นั สรุป
นกั เรียนและครูช่วยกนั สรุปการจดั ระเบียบระบบของร่างกาย

16

1. สื่อสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน สมั ฤทธ์ิมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1
2. ใบความรู้ท่ี 1.1 เซลลแ์ ละเน้ือเยอื่
3. ใบความรู้ที่ 1.2 การจดั ระบบในร่างกาย
4. ใบงานท่ี 1.1 การจดั ระบบในร่างกาย
5. ใบงานท่ี 1.2 ผงั ความคดิ
6. หอ้ งสมดุ
7. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ

www.aksorn.com/Lib/s/sci_01
http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/index.php
(ขอ้ มูลเก่ียวกบั การจดั ระบบในร่างกาย)

1) วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล
1. ตรวจใบงานท่ี 1.1
2. ตรวจใบงานท่ี 1.2
3. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
4. สงั เกตพฤติกรรมดา้ นทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
5. สงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบุคคล
6. ตรวจแบบทดสอบ

2) เคร่ืองมือวดั และประเมนิ
1. ใบงานที่ 1.1
2. ใบงานที่ 1.2
3. แบบประเมนิ กระบวนการกลุ่ม
4. แบบประเมนิ ความสามารถดา้ นทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์
5. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบุคคล

17

6. แบบทดสอบ
3) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ

1. ใบงานที่ 1.1 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
2. ใบงานท่ี 1.2 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
3. แบบประเมินกระบวนการกลุ่ม (รายละเอียดอยใู่ นแบบประเมิน)
4. แบบประเมนิ ความสามารถดา้ นทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

(รายละเอียดอยใู่ นแบบประเมนิ )
5. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบุคคล (รายละเอยี ดอยใู่ นแบบประเมนิ )
6. แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50

18

1.1

การจดั ระบบในร่างกาย
จุดประสงค์การเรียนรู้

ขอ้ 1 อธิบายการจดั ระบบในร่างกาย
ขอ้ 2 อธิบายความหมายของเซลล์ เน้ือเยอ่ื อวยั วะ และระบบได้
คาชี้แจง ให้นกั เรียนพจิ ารณาภาพร่างกายมนุษย์ แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง

1. นกั เรียนสามารถจาแนกระบบต่างๆ ในร่างกายได้
เป็นกี่ระบบ อะไรบา้ ง

2. ใหน้ กั เรียนเลือกระบบในร่างกายมา 1 ระบบ แลว้
แยกอวยั วะต่างๆ ในระบบน้นั วา่ มอี วยั วะใดบา้ ง

3. ใหน้ กั เรียนเลือกอวยั วะมา 1 อวยั วะ แลว้ แยกส่วนประกอบภายในอวยั วะน้นั ๆ

4. ส่วนประกอบของอวยั วะแต่ละส่วนน้นั มหี น่วยท่ีเลก็ ที่สุดเป็นส่วนประกอบ เรียกวา่ อะไร

19

1.1

การจดั ระบบในร่างกาย
คาชี้แจง ให้นกั เรียนพจิ ารณาภาพร่างกายมนษุ ย์ แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง

1. นกั เรียนสามารถจาแนกระบบต่างๆ ในร่างกายได้
เป็นกี่ระบบ อะไรบา้ ง
9 ระบบ คือ ระบบย่อยอาหาร
ระบบหมนุ เวียนโลหิต ระบบหายใจ
ระบบประสาท ระบบโครงกระดกู และกล้ามเนือ้
ระบบสืบพันธ์ุ ระบบภูมิคุ้มกัน

2. ใหน้ กั เรียนเลอื กระบบในร่างกายมา 1 ระบบ แลว้
แยกอวยั วะต่างๆ ในระบบน้นั วา่ มอี วยั วะใดบา้ ง
…ขึน้ อย่กู บั ระบบที่นักเรียนเลือกศึกษา...
ตัวอย่างเช่น ระบบหายใจ ประกอบด้วย จมกู
หลอดลม ปอด

3. ใหน้ กั เรียนเลอื กอวยั วะมา 1 อวยั วะ แลว้ แยกส่วนประกอบภายในอวยั วะน้นั ๆ
…ขึน้ อย่กู ับระบบที่นักเรียนเลอื ก...

ตวั อย่างเช่น ปอด ประกอบด้วย ขั้วปอด แขนงปอด ถงุ ลม เส้นเลือด

4. ส่วนประกอบของอวยั วะแต่ละส่วนน้นั มีหน่วยที่เลก็ ที่สุดเป็นส่วนประกอบ เรียกวา่ อะไร
เซลล์

20

1.2

ผงั ความคดิ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ขอ้ 3 อธิบายความสมั พนั ธข์ องเซลล์ เน้ือเยอื่ อวยั วะ และระบบอวยั วะในร่างกายได้
คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขียนผงั ความคดิ ความสัมพนั ธ์ของเซลล์ เนือ้ เย่ือ อวยั วะ และระบบอวยั วะ

21

1.2

ผงั ความคดิ

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขียนผงั ความคดิ ความสัมพนั ธ์ของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวยั วะ และระบบอวยั วะ

ร่างกาย
ระบบอวยั วะ

อวยั วะ
เน้ือเยอื่
เซลล์

22

แบบประเมนิ กระบวนการกล่มุ

กลมุ่ ท่ี .................................... ช้นั .......................
สมาชิกภายในกล่มุ 1. ............................................................. 2. ...........................................................

3. ............................................................. 4. ...........................................................
5. ............................................................. 6. ...........................................................
คาชี้แจง ใหท้ าเคร่ืองหมาย  ในช่องท่ีตรงกบั ความเป็นจริง

ลาดบั ท่ี รายการพฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ
321

1 มกี ารปรึกษาและวางแผนร่วมกนั ก่อนทางาน
2 มกี ารแบ่งหนา้ ท่ีอยา่ งเหมาะสมและทาตามหนา้ ท่ีทุกคน
3 มกี ารปฏิบตั ิงานตามข้นั ตอน
4 มกี ารใหค้ วามช่วยเหลอื กนั
5 สามารถทางานไดส้ าเร็จตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนด
6 ทางานเสร็จทนั ตามกาหนดเวลา

7 มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
8 สามารถนาความรู้ที่ไดม้ าประยกุ ตใ์ ช้
9 สามารถใหค้ าแนะนากลุ่มอื่นได้

10 เกบ็ วสั ดุ อุปกรณ์เรียบร้อย หลงั เลิกปฏบิ ตั ิงาน

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ ............................................ ผปู้ ระเมนิ
............/................/..............
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ิชดั เจนและสมา่ เสมอ
พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ิบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ
3 = ดี
ช่วงคะแนน 2 = พอใช้
24-30 1 = ปรับปรุง
17-23
10-16

23

แบบประเมนิ ความสามารถด้านทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์

กล่มุ ท่ี .................................... ช้นั .......................
สมาชิกภายในกลุ่ม 1. ............................................................. 2. ...........................................................

3. ............................................................. 4. ...........................................................
5. ............................................................. 6. ...........................................................
คาชี้แจง ใหท้ าเครื่องหมาย  ในช่องที่ตรงกบั ความเป็นจริง

ลาดบั ท่ี รายการพฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏิบตั ิ
321

1 มกี ารวางแผนร่วมกนั
2 การแบ่งงานรับผดิ ชอบ
3 มีการใหค้ วามช่วยเหลอื กนั
4 การรับฟังความคิดเห็นและแกป้ ัญหาร่วมกนั
5 สามารถใหค้ าแนะนากลมุ่ อ่นื ได้
6 เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ไดถ้ กู ตอ้ ง

7 ปฏบิ ตั ิการทดลองตามข้นั ตอนที่กาหนดให้
8 ทาความสะอาด/เกบ็ อุปกรณ์เรียบร้อย
9 ร่วมกนั อภิปรายและสรุปผลงานของกลุม่
10 ร่วมกนั ปรับปรุงผลงานของกลุม่

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ ............................................ ผปู้ ระเมนิ
............/................/..............
พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ิชดั เจนและสม่าเสมอ
พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ
3 = ดี
ช่วงคะแนน 2 = พอใช้
24-30 1 = ปรับปรุง
17-23
10-16

24

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานของนักเรยี น (รายบุคคล)

ชื่อ .................................................................................................... เลขที่ ....................... ช้นั .......................

คาชี้แจง ใหท้ าเครื่องหมาย  ในช่องท่ีตรงกบั ความเป็นจริง

ลาดบั ท่ี รายการพฤตกิ รรม ระดับพฤตกิ รรม
สมา่ เสมอ บ่อยคร้งั บางคร้ัง ไม่ปฏบิ ตั ิ

3 210

1 มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
2 รับฟังความคิดเห็นของเพ่อื นในกลุ่ม
3 ใหค้ วามร่วมมอื และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั

กบั เพือ่ นในกลมุ่
4 ต้งั ใจทางาน/กระตือรือร้นในการทางาน
5 มคี วามรับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ลงชื่อ ............................................ ผปู้ ระเมิน
............/................/..............
ช่วงคะแนน
15-20 ระดับคุณภาพ
10-14 3 = ดี
5-9 2 = พอใช้
1 = ปรับปรุง

25

1

2 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ

เวลา 17 ชว่ั โมง

ร่างกายของมนุษยป์ ระกอบไปดว้ ยส่วนประกอบต่างๆ มากมายที่ร่วมกนั ทางานเป็ นระบบไดแ้ ก่
ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบขบั ถ่าย ระบบประสาท ระบบสืบพนั ธุ์ ระบบ
ภูมิคุม้ กนั ระบบโครงกระดูกและกลา้ มเน้ือ ซ่ึงแต่ละระบบมโี ครงสร้างและหนา้ ท่ีแตกต่างกนั ออกไป และทา
หนา้ ที่สมั พนั ธก์ นั เพือ่ ใหม้ นุษยส์ ามารถดารงชีวิตอยไู่ ดอ้ ยา่ งปกติสุข

1. สรุปความสาคญั ของระบบต่างๆ ในร่างกายได้
2. ทดลองและสรุปเกี่ยวกบั การทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายได้

1. โครงสร้างระบบต่างๆ ในร่างกาย
2. การทางานของระบบต่างๆ ในร่างกาย

26

(วธิ ีสอนแบบวทิ ยาศาสตร์)

ชั่วโมงที่ 1 - 2

ระบบยอ่ ยอาหาร



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูใหน้ กั เรียนทาความสะอาดในช่องปาก และใหต้ กั ขา้ วสุกใส่ปากของแต่ละคน แลว้ ให้นกั เรียน
บรรยายความรู้สึกวา่ ขา้ วมีรสชาติอยา่ งไร
2. ใหน้ กั เรียนเค้ียวขา้ วไวใ้ นปากของตน 3 นาที แลว้ ใหบ้ รรยายความรู้สึกว่าขา้ วมีรสชาติเปล่ียนแปลง
อยา่ งไร
3. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

 ข้นั กจิ กรรมพฒั นาทักษะผ้เู รียน
1. แบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน ใหส้ มาชิกในกลุ่มหมายเลข 1-5 แยกไปศึกษาอวยั วะต่างๆ ใน
ระบบทางเดินอาหาร ดงั น้ี
สมาชิกคนที่ 1 ศกึ ษาเร่ือง ปาก
สมาชิกคนท่ี 2 ศึกษาเรื่อง หลอดอาหาร
สมาชิกคนท่ี 3 ศึกษาเรื่อง กระเพาะอาหาร
สมาชิกคนท่ี 4 ศกึ ษาเร่ือง ลาไสเ้ ลก็
สมาชิกคนที่ 5 ศกึ ษาเร่ือง ลาไสใ้ หญ่
2. ใหส้ มาชิกแต่ละคนกลบั เขา้ กลุม่ เดิม แลว้ อธิบายเร่ืองที่ไดศ้ ึกษามาใหเ้ พือ่ นในกลุ่มฟัง
3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ศึกษาวิธีทาการทดลองในแบบฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมที่ 2.1
4. ครูสรุปวธิ ีการทดลองและแนะนาอปุ กรณ์การทดลอง
5. นกั เรียนลงมือทาการทดลอง สรุปและอภิปรายผลการทดลอง

 ข้นั สรุป
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากที่ไดท้ ากิจกรรม
2. นกั เรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ความคิด ความสมั พนั ธข์ องอวยั วะทางเดินอาหารในระบบยอ่ ยอาหาร
ตามลาดบั โดยใหร้ ะบุรายละเอยี ดลกั ษณะการทางานของอวยั วะ

27

ช่ัวโมงท่ี 3 - 4

ระบบหมนุ เวียนเลือด



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูใหน้ กั เรียนดูการไหลเวียนของเลอื ดบริเวณหางปลาหางนกยงู ที่จอภาพ
2. นกั เรียนบรรยายส่ิงที่เห็นจากภาพบนจอ
3. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทักษะผ้เู รียน
1. แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มไปศึกษาร่วมกันเกี่ยวกับอวยั วะในระบบ
หมนุ เวียนเลือด ดงั ต่อไปน้ี
สมาชิกคนท่ี 1 และ 2 ศกึ ษาเรื่อง เลือด
สมาชิกคนท่ี 2 และ 3 ศึกษาเรื่อง เสน้ เลือด
สมาชิกคนท่ี 5 และ 6 ศกึ ษาเร่ือง หวั ใจ
2. สมาชิกแต่ละคนกลบั เขา้ กลมุ่ เดิม อธิบายเร่ืองที่ศึกษาใหเ้ พอ่ื นฟัง แลว้ ร่วมกนั ทาใบงานที่ 2.1 ระบบ
หมนุ เวียนเลือด
3. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาวิธีทดลองในแบบฝึกปฏบิ ตั ิกิจกรรมที่ 2.2 ในหนงั สือเรียน
4. นกั เรียนลงมอื ทาการทดลอง สรุปและอภิปรายผลการทดลอง

 ข้นั สรุป
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลการทากิจกรรม
2. นักเรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ความคิดอวยั วะในระบบหมุนเวียนเลือด โดยบอกรายละเอียดการ
ทางานของอวยั วะน้นั ๆ

ชั่วโมงท่ี 5 - 6

ระบบหายใจ
 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน

1. ครูให้นักเรียนเอามือ 2 ขา้ งจับที่กระดูกซี่โครงแลว้ ให้หายใจเขา้ และออก แล้วให้นกั เรียนบอก
ความรู้สึกวา่ ปอดมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหก้ บั นกั เรียน

28

 ข้นั กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะผ้เู รียน
1. ใหน้ กั เรียนจดั กล่มุ กลุ่มละ 4-5 คน ศึกษาเร่ือง ระบบหายใจ จากหนงั สือเรียนและใบความรู้ที่ 2.2
2. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ทาใบงานที่ 2.2 เร่ือง อากาศเขา้ -ออก ปอดไดอ้ ยา่ งไร

 ข้ันสรุป
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการทากิจกรรมและทดลองจบั กระดูกซ่ีโครง
2. นักเรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ความคิดความสมั พนั ธ์ของอวยั วะท่ีใชใ้ นระบบหายใจ พร้อมระบุ
รายละเอียดกลไกการทางานของอวยั วะ

ชั่วโมงท่ี 7 - 8

ระบบขบั ถา่ ย



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูซกั ถามนกั เรียนเก่ียวกบั การขบั ถ่ายของเสียออกจากร่างกาย พบอยใู่ นรูปแบบใดบา้ ง และเกี่ยวขอ้ ง
กบั อวยั วะส่วนใด
2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทักษะผ้เู รียน
1. นกั เรียนจดั กลุม่ กลุ่มละ 4 คน โดยใหส้ มาชิกหมายเลข 1 ของแต่ละกลุม่ ไปร่วมกนั ศึกษาการขบั ถ่าย
ทางผวิ หนงั สมาชิกหมายเลข 2, 3, 4 ของแต่ละกลุ่มไปร่วมกนั ศึกษาการขบั ถ่ายทางปอด, ไต และ
ลาไสใ้ หญ่ ตามลาดบั
2. สมาชิกแต่ละหมายเลขกลบั เขา้ กล่มุ เดิมและอธิบายการขบั ถา่ ยในส่วนท่ีรับผดิ ชอบใหส้ มาชิกในกลุ่ม
ฟังจนเขา้ ใจ
3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาวิธีการทดลองในแบบฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมท่ี 2.3
4. ครูสรุปวธิ ีการทดลองและแนะนาอปุ กรณ์การทดลอง
5. นกั เรียนลงมือทาการทดลอง สรุปและอภิปรายผลการทดลอง

 ข้นั สรุป
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากท่ีไดท้ ากิจกรรม
2. นกั เรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ความคิดโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบขบั ถ่าย

29

ช่ัวโมงที่ 9 - 10

ระบบประสาท



 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ใหน้ กั เรียนจบั คู่และหนั หนา้ เขา้ หากนั โดยคนหน่ึงใชผ้ า้ ปิ ดตาตวั เอง และอีกคนหน่ึงหยบิ ขนมท่ีใช้
ทดสอบ 1 อย่าง (ขนมมีลกั ษณะแข็ง กรอบ หวาน เช่น วุน้ กรอบ ขนมไข่กรอบ) ให้เพ่ือนดม ชิม
สมั ผสั แลว้ ใหผ้ ลดั กนั ปิ ดตา
2. ครูใหน้ กั เรียนบรรยายความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดข้ึนเมื่อทาการทดสอบ และคิดต่อวา่ ท่ีบรรยายความรู้สึก
ไดเ้ ป็นเพราะเหตุใด
3. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทักษะผ้เู รียน
1. นกั เรียนจดั กลุ่มกลุ่มละ 5 คน โดยใหส้ มาชิกหมายเลข1, 2, 3, 4, 5 ของแต่ละกลุ่มไปรวมกนั เป็นกลุ่ม
สมาชิกหมายเลข 1, 2, 3, 4, 5 เพอื่ ร่วมกนั ศึกษาเก่ียวกบั สมอง, ไขสนั หลงั , เส้นประสาท การทางาน
ของระบบประสาทและอวยั วะรับสมั ผสั ตามลาดบั
2. สมาชิกกล่มุ หมายเลขกลบั กลุ่มเดิมและอธิบายหวั ขอ้ ท่ีไดร้ ับมอบหมายใหไ้ ปศึกษามาเล่าใหเ้ พอ่ื นฟัง
จนเขา้ ใจ
3. ใหน้ กั เรียนแต่ละคนทาใบงานท่ี 2.3 การทางานของระบบประสาท
4. แลกเปลย่ี นใบงานกนั ตรวจความถูกตอ้ ง

 ข้นั สรุป
1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปผลจากการท่ีไดท้ ากิจกรรม
2. นกั เรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั ความคิดโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบประสาท

ช่ัวโมงท่ี 11 - 12

ระบบโครงกระดูกและกลา้ มเน้ือ
 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน

1. นกั เรียนสงั เกตการหยบิ ของระหวา่ งหุ่นยนตก์ บั มนุษย์ แลว้ ใหบ้ อกความรู้สึกวา่ การเคลอ่ื นไหวของ
หุ่นยนตก์ บั มนุษยม์ คี วามแตกต่างกนั อยา่ งไร

2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

30

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะผ้เู รียน
1. นกั เรียนแต่ละคนอา่ นความหมายของคาว่ากระดูกแกนและกระดูกรยางค์
2. นกั เรียนจดั กลุ่มๆ ละ 4-5 คน และส่งตวั แทนรับโครงกระดูกจาลองของมนุษยแ์ ละปี กไก่ยา่ ง
3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ช่วยกนั ต่อโครงกระดูกจาลองของมนุษยแ์ ละบนั ทึกดว้ ยการวาดภาพ
4. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกนั จาแนกชิ้นส่วนโครงกระดูกจาลองของมนุษยต์ ามความหมายของกระดูก
แกนและกระดูกรยางค์
5. นกั เรียนแต่ละกลุ่มทดสอบการเคล่ือนไหวของโครงกระดูกจาลอง เปรียบเทียบกบั ปี กไก่ย่างและ
บนั ทึกผล
6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ลอกหนงั ปี กไก่ สงั เกตและบนั ทึกผล
- ลกั ษณะของมดั กลา้ มเน้ือใหญ่
- ลกั ษณะของมดั กลา้ มเน้ือยอ่ ย
- ลกั ษณะของบริเวณท่ีมดั กลา้ มเน้ือยอ่ ยยดึ ติดกนั
- ลกั ษณะของบริเวณที่มดั กลา้ มเน้ือยดึ กบั กระดูก
7. นกั เรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภิปรายการทางานของโครงกระดูกกบั กลา้ มเน้ือ และนาเสนอ

 ข้นั สรุป
นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุประบบโครงกระดูกกบั กลา้ มเน้ือ

ชั่วโมงที่ 13 - 14

ระบบสืบพนั ธุ์



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. นกั เรียนตอบคาถามวา่
- ตวั นกั เรียนเกิดมาจากระบบใดในร่างกายของพ่อและแม่
- ระบบดงั กล่าวมเี ฉพาะในพอ่ จะมีตวั นกั เรียนไดห้ รือไม่ อยา่ งไร
- ระบบดงั กล่าวมีเฉพาะในแม่ จะมีตวั นกั เรียนไดห้ รือไม่ อยา่ งไร
2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้กบั นกั เรียน

31

 ข้นั กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะผ้เู รียน
1. นกั เรียนศึกษาพฒั นาการของมนุษยจ์ ากเด็กเขา้ สู่วยั รุ่นจากวีดิทศั น์
2. นกั เรียนจดั กล่มุ ๆ ละ 4-5 คน ทาใบงานที่ 2.4 ใหเ้ ขียนส่วนประกอบของระบบสืบพนั ธุ์เพศชายกบั
ระบบสืบพนั ธุเ์ พศหญิง
3. นกั เรียนนาผลงานของกลุม่ แลกกบั ผลงานของเพื่อนกลุม่ อ่ืน ใชเ้ วลาพิจารณา 5 นาที แลว้ แลกเปลี่ยน
คนครบกลุ่มและบนั ทึกขอ้ แตกต่างที่พบ เพ่อื นามาปรับปรุงผลงานของกล่มุ ตนเอง
4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั เขียนแผนผงั ความคิด สรุปโครงสร้าง หนา้ ท่ี ของระบบสืบพนั ธุท์ ้งั ในชาย
และหญิง

 ข้ันสรุป
1. ครูตรวจการนาเสนอแผนผงั ความคิดและร่วมสรุปกบั นกั เรียน

ช่ัวโมงท่ี 15 - 16

ระบบภูมคิ ุม้ กนั



 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. นกั เรียนวิเคราะหก์ รณีศกึ ษาจากการไม่สบายหรือเป็นแผล ในช่วงแรกจะมีอาการเป็นไข้ และเม่ือ
เวลาผา่ นไปกร็ ู้สึกดีข้ึนจนเป็นปกติ เป็นเพราะเหตุใด
2. ครูช้ีแจงจุดประสงคใ์ นการศึกษา

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทักษะผ้เู รียน
1. ครูทบทวนเรื่องหนา้ ท่ีของเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว
2. นกั เรียนจดั เป็นกล่มุ ๆ ละ 6 คน โดยใหห้ มายเลข 1 และ 2 เขา้ กลุ่มศกึ ษาเร่ือง เช้ือโรคเขา้ สู่ร่างกายได้
อยา่ งไร หมายเลข 3 และ 4 เขา้ กลุ่มศึกษาเร่ือง การสร้างภูมิคุม้ กนั ก่อเอง และหมายเลข 5 และ 6 เขา้
กลมุ่ ศกึ ษาเร่ือง การรับภูมิคุม้ กนั รับมา
3. นกั เรียนกลบั เขา้ กลุ่มเดิม 6 คน แลกเปลย่ี นเรียนรู้ในหวั ขอ้ ที่ไดร้ ับผดิ ชอบ ทาความเขา้ ใจกบั สมาชิก
ในกล่มุ ใหช้ ดั เจน
4. นกั เรียนช่วยกนั สรุปในรูปของแผนผงั ความคิดเรื่อง ระบบภูมิคุม้ กนั
5. นกั เรียนแต่ละกล่มุ ส่งตวั แทนนาเสนอผลงานของกลุ่ม

32

 ข้นั สรุป
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปจากการนาเสนอผลงาน
2. นกั เรียนออกแบบแผน่ พบั รณรงคก์ ารเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่

ช่ัวโมงที่ 17

การทางานท่ีสมั พนั ธก์ นั ของระบบต่างๆ



 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ยกตวั อย่างนกั เรียนในห้องเรียนที่ไม่สบาย โดยให้นกั เรียนในห้องแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
สุขภาพของเพื่อนวา่ เป็นอยา่ งไร น่าจะมีอาการอยา่ งไรต่อเน่ือง และจะมีวธิ ีการแกไ้ ขอยา่ งไร
2. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

 ข้ันกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะผ้เู รียน
1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน ทาใบงานที่ 2.5
2. เมอ่ื ศึกษาใบงานที่ 2.5 เสร็จแลว้ ใหน้ กั เรียนกลบั เขา้ กลุ่มเดิม อธิบายเก่ียวกบั การไดศ้ ึกษาให้สมาชิก
ในกลุ่มฟัง
3. นกั เรียนตวั แทนกลุม่ นาเสนอขอ้ สรุปของกลุ่ม

 ข้ันสรุป
1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธใ์ นการทางานของระบบในร่างกาย
2. นกั เรียนทาแผน่ พบั รณรงคก์ ารดูและสุขภาพร่างกายเพ่ือใหร้ ะบบต่างๆ ในร่างกายทางานสมั พนั ธก์ นั
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

1. โครงกระดูกจาลอง
2. วดี ิทศั นเ์ ร่ืองระบบไหลเวียนเลอื ด
3. วีดิทศั น์เร่ืองพฒั นาการของมนุษย์
4. ส่ือสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน สมั ฤทธ์ิมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
5. ใบความรู้ท่ี 2.1 ระบบยอ่ ยอาหาร
6. ใบความรู้ท่ี 2.2 ระบบหมุนเวยี นโลหิต

33

7. ใบความรู้ที่ 2.3 ระบบหายใจ
8. ใบความรู้ที่ 2.4 การสร้างภูมคิ ุม้ กนั โรค
9. ใบงานที่ 2.1 ระบบไหลเวยี นโลหิต
10. ใบงานท่ี 2.2 อากาศเขา้ -ออด ปอดไดอ้ ยา่ งไร
11. ใบงานที่ 2.3 การทางานของระบบประสาท
12. ใบงานที่ 2.4 ระบบสืบพนั ธุข์ องมนุษย์
13. ใบงานท่ี 2.5 การทางานร่วมกนั ของระบบต่างๆ
14. หอ้ งสมดุ
15. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

www.aksorn.com/Lib/s/sci_01
http://school.obec.go.th/schoolvit/chapter/unit1/index1.php
(ขอ้ มูลเกี่ยวกบั โครงสร้างและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย)์

1) วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล
1. ตรวจใบงานที่ 2.1
2. ตรวจใบงานท่ี 2.2
3. ตรวจใบงานที่ 2.3
4. ตรวจใบงานท่ี 2.4
5. ตรวจใบงานท่ี 2.5
6. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
7. สงั เกตพฤติกรรมดา้ นทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์
8. สงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบุคคล
9. ประเมนิ ผลงานดา้ นทกั ษะการเขียน

2) เคร่ืองมอื วดั และประเมนิ
1. ใบงานท่ี 2.1
2. ใบงานที่ 2.2
3. ใบงานท่ี 2.3
4. ใบงานท่ี 2.4
5. ใบงานท่ี 2.5

34

6. แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุ่ม
7. แบบประเมินความสามารถดา้ นทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
8. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบคุ คล
9. แบบประเมนิ ผลงานดา้ นทกั ษะการเขียน
3) เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ
1. ใบงานที่ 2.1 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
2. ใบงานท่ี 2.2 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
3. ใบงานที่ 2.3 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
4. ใบงานที่ 2.4 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
5. ใบงานที่ 2.5 ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50
6. แบบประเมนิ กระบวนการกลมุ่ (รายละเอียดอยใู่ นแบบประเมิน)
7. แบบประเมนิ ความสามารถดา้ นทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

(รายละเอียดอยใู่ นแบบประเมิน)
8. แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานของนกั เรียนรายบุคคล (รายละเอยี ดอยใู่ นแบบประเมนิ )
9. แบบประเมินผลงานดา้ นทกั ษะการเขียน (รายละเอยี ดอยใู่ นแบบประเมิน)

35

2.1

ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหารของมนุษย์

การย่อยอาหาร คือ การทาให้โมเลกุลของอาหารท่ีมีขนาดใหญ่ ไม่ละลายน้า ถูกเปล่ียนให้มีขนาดเล็กลง

ละลายน้า และสามารถดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือดได้ ซ่ึงการทางานของระบบยอ่ ยอาหารจะประกอบดว้ ยการ

ทางานของส่วนต่างๆ ดงั น้ี

1. ปาก มฟี ันทาหนา้ ที่ตดั เค้ียว และบดอาหารใหม้ ีขนาดเลก็ ลง

โดยมลี น้ิ ทาหนา้ ที่ช่วยคลกุ เคลา้ อาหารกบั เอนไซมใ์ นน้าลาย

2. หลอดอาหาร เป็นท่อแคบๆ มกี ลา้ มเน้ือ 2 ช้นั ตบั ปาก
บีบตวั ใหอ้ าหารเคล่ือนท่ีจากปากลงสู่กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร

3. กระเพาะอาหาร เป็นที่รองรับอาหารจากหลอดอาหาร

อาหารจะถูกคลุกเคลา้ กบั เอนไซมห์ รือน้ายอ่ ยดว้ ยการบีบตวั ของ กระเพาะอาหาร
กลา้ มเน้ือบริเวณกระเพาะอาหาร ตบั อ่อน
ลาไส้เลก็
4. ลาไสเ้ ลก็ เป็นบริเวณท่ีอาหารส่วนใหญ่จะถูกยอ่ ย ลาไส้ใหญ่
ใหม้ โี มเลกลุ เลก็ ลง และถูกดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลอื ด
ทวารหนกั
5. ลาไสใ้ หญ่ เป็นส่วนที่ทาหนา้ ที่ดูดซึมน้าและแร่ธาตุที่ยงั

ตกคา้ งกลบั คืนสู่ร่างกาย ระบบยอ่ ยอาหาร

การย่อยอาหาร

อาหารที่รับประทานภายหลงั จากการยอ่ ยโดยวธิ ีกลแลว้ จะถูกยอ่ ยทางเคมีต่อดว้ ยสารประกอบอินทรีย์

ชนิดพิเศษท่ีเรียกวา่ เอนไซม์ เอนไซมแ์ ต่ละชนิดจะมสี มบตั ิเฉพาะในการเร่งปฏิกิริยาเพ่ือย่อยสลายสารชนิด

ใดชนิดหน่ึง ดงั น้ี

คาร์โบไฮเดรต อะไมเลส กลูโคส

โปรตีน โพรทีเอส กรดอะมโิ น

ไขมนั ไลเปส กรดไขมนั + กลเี ซอรอล

สารอาหาร เอนไซม์ สารอาหารที่ได้จากการย่อย

36

2.2

ระบบหมนุ เวยี นโลหติ

ระบบไหลเวยี นเลือดของมนุษยเ์ ป็ นแบบระบบปิ ด ซ่ึงมีหวั ใจทาหน้าที่เป็ นอวยั วะสาคญั ที่สุด หวั ใจ
ของมนุษยม์ ีขนาดเท่ากบั กาป้ันของผทู้ ี่เป็ นเจา้ ของมีท้งั หมด 4 ห้อง คือ ห้องบน 2 ห้อง และห้องล่าง 2 ห้อง
ทาหนา้ ที่สูบฉีดเลือดท่ีมีออกซิเจนสูงผ่านหลอดเลือดเพ่ือไปเล้ียงเซลลต์ ่าง ๆ ท่วั ร่างกายอย่างเป็ นระบบ
มนุษยป์ กติหวั ใจจะเตน้ นาทีละ 72 คร้ัง เลอื ดจะผา่ นหวั ใจประมาณ 75 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตรต่อการเตน้ 1 คร้ัง

หลอดเลือดนาเลือดจากหวั ใจไป หลอดเลอื ดนาเลอื ดทม่ี ี
ยงั ปอด เพ่ือรับออกซิเจนที่ปอด ออกซิเจนไปเล้ียงศีรษะ
และส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย
หลอดเลือดนาเลือดจากศีรษะ
และร่างกายเขา้ สู่หวั ใจ หลอดเลือดรับเลือดที่มี
ออกซิเจนจากปอด
หวั ใจหอ้ งบนขวา
หวั ใจหอ้ งล่างขวา ลิ้นหวั ใจ

ล้ินหวั ใจ

ขณะหวั ใจบีบตวั เลือดจะถูกดนั ออกไปตามหลอดเลือดแดงดว้ ยความดนั สูง เพ่อื ให้เลือดเดินทางไปสู่
ส่วนต่างๆ ของร่างกายไดท้ วั่ ถงึ มผี ลทาใหห้ ลอดเลือดขยายตวั เม่ือเลือดผา่ นไปแลว้ หลอดเลือดจะกลบั คืนสู่
สภาพเดิม ถา้ เราใชน้ ิ้วมือกดที่หลอดเลอื ด เช่น บริเวณขอ้ มือหรือบริเวณคอ จะรู้สึกถึงการขยายตวั และหดตวั
ของหลอดเลอื ด หรือท่ีเรียกวา่ ชีพจร (pulse) ในผใู้ หญ่ท่ีร่างกายปกติ ขณะพกั ผอ่ นหวั ใจจะเตน้ ประมาณ 60 –
70 คร้ังต่อนาที

ความดนั เลอื ดในหลอดเลือดวดั ไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องมือวดั มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรของปรอท เช่น 120/80
มิลลิเมตรของปรอท ซ่ึงตวั เลข 120 เป็ นค่าความดนั เลือดขณะเลือดผ่านหลอดเลือด (หัวใจบีบตวั ) ส่วน
ตวั เลข 80 เป็นค่าความดนั เลอื ดเม่ือหลอดเลือดหดตวั (หวั ใจคลายตวั )

37

2.3

ระบบหายใจ

การดารงชีวติ ของมนุษยน์ อกจากตอ้ งการสารอาหารแลว้ ยงั ตอ้ งการแก๊สออกซิเจน ซ่ึงไดจ้ ากการ
หายใจเขา้ ถา้ เกิดอบุ ตั ิเหตุทาใหร้ ่างกายหยดุ หายใจไปเพยี ง 2 – 3 นาที อาจทาใหถ้ ึงแก่ชีวติ ได้

โครงสร้างของปอด
ถา้ นกั เรียนใชม้ ือจบั ซี่โครงขณะท่ีหายใจเขา้ จะรู้สึกว่าซี่โครงหรือช่องอกขยายตวั นัน่ เป็ นเพราะ

ปอดของนกั เรียนเต็มไปดว้ ยอากาศ ปอดมีหนา้ ท่ีแลกเปล่ียนแก๊สออกซิเจนจากอากาศเข้าสู่หลอดเลือดฝอย
เมอื่ เราหายใจเขา้ ออกซิเจนจะถกู ส่งไปยงั เซลลท์ ุกเซลลเ์ พ่อื ช่วยใหเ้ ซลลส์ ามารถดาเนินกิจกรรมของเซลลไ์ ด้
และมีการแลกเปลย่ี นกบั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยหลอดเลือดฝอยจะนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซดแ์ ละ
น้าออกจากเซลลข์ องร่างกาย แกส๊ เหล่าน้ีจะถูกนาออกจากร่างกายโดยการหายใจออก ปอดท่ีสมบูรณ์จะทา
หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนจากอากาศไปเล้ียงส่วนต่างๆ ของร่างกาย และปล่อยแก๊สคาร์บอนได-
ออกไซดก์ บั น้ากลบั สู่อากาศไดด้ ี ปอดที่ไมส่ มบูรณ์จะทาหนา้ ที่ดงั กล่าวไดไ้ ม่เตม็ ท่ี

อากาศผ่านเข้าออกปอดได้อย่างไร
กระบวนการในการนาแก๊สออกซิเจนเขา้ สู่เซลล์ เพ่ือใชใ้ นการทาปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหาร

และกระบวนการกาจดั แก๊สคาร์บอนไดอ้ อกไซดอ์ อกจากร่างกายรวมเรียกว่า กระบวนการหายใจ ซ่ึงจะเกิด
ข้ึนกบั เซลลท์ ุกเซลลข์ องร่างกายตลอดเวลา การหายใจของมนุษยส์ ามารถแบ่งออกเป็น 2 ข้นั ตอน คือ

1. การหายใจเข้า จะเกิดข้ึนเมอ่ื กลา้ มเน้ือที่ยดึ ซ่ีโครงหดตวั ซ่ึงจะทาใหก้ ระดูกซ่ีโครงเล่ือนสูงข้ึน
ในขณะเดียวกนั กะบงั ลมก็หดตวั และเล่ือนต่าลง จึงทาให้ปริมาตรของช่องอกมีมากข้ึน ความดนั อากาศ
ภายในช่องอกจะลดต่าลง ดงั น้นั อากาศจากภายนอกจึงสามารถผา่ นเขา้ สู่ปอดได้

2. การหายใจออก จะเกิดข้ึนหลงั จากการหายใจเขา้ แลว้ ทาให้กลา้ มเน้ือท่ียึดซ่ีโครงแถบนอกมี
การคลายตวั ทาใหก้ ระดูกซ่ีโครงเลือ่ นต่าลง กะบงั ลมที่เลือ่ นต่าลงก็จะเล่อื นตวั กลบั สูงข้ึน ส่งผลใหป้ ริมาตร
ของช่องอกลดลง ความดนั อากาศภายในช่องอกก็จะสูงข้ึนดว้ ย ซ่ึงช่วยผลกั ดนั ใหอ้ ากาศจากภายในปอดออก
สู่ภายนอกไดโ้ ดยผา่ นทางหลอดลมสู่จมูก

การแลกเปลย่ี นแก๊สทถ่ี ุงลม
อากาศเม่ือเขา้ สู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซ่ึงมีลกั ษณะกลมคลา้ ยลูกองุ่น ปอดแต่ละขา้ งจะมีถุงลม

ประมาณขา้ งละ 150 ลา้ นถงุ แต่ละถงุ มีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอนั จะมีหลอด
เลือดฝอยมาห่อหุม้ ไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้า ผ่านเขา้ -
ออกจากถงุ ลมโดยผา่ นเยอ่ื บางๆ ของถงุ ลม เยอื่ ถงุ ลมน้ีบางมากจึงถูกทาลายไดโ้ ดยง่ายจากควนั บุหรี่และจาก
สารเสพติด

38

2.4

การสร้างภูมคิ ้มุ กนั โรค

ภูมคิ ุ้มกนั โรค (Immunity)
คือ การท่ีร่างกายสามารถป้องกนั หรือต่อตา้ นโรคใดโรคหน่ึงโดยเฉพาะได้ โดยร่างกายจะสร้างสาร

ประเภทโปรตีนที่เรียกว่า แอนติบอดี (Antibody) ไวใ้ นเลือด เพื่อทาลายเช้ือโรคหรือส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้ สู่
ร่างกาย แอนติบอดีอาจมเี พียงชวั่ คราวหรือตลอดไปก็ได้ ส่ิงแปลกปลอมท่ีเขา้ สู่ร่างกายเราเรียกว่า แอนติเจน
(Antigent) ภูมิคุม้ กนั โรคแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ภูมคิ ุ้มกนั โรคตามธรรมชาติ (Natural Immunity)
เป็นภูมิคุม้ กนั โรคที่มอี ยใู่ นตวั เด็กทารกซ่ึงไดร้ ับการถ่ายทอดมาจากแม่โดยผ่านทางสายรก เช่น

ภูมคิ ุม้ กนั โรคคอตีบ ภูมิคุม้ กนั โรคหดั เป็นตน้ ภูมิคุม้ กนั โรคตามธรรมชาติจะอยใู่ นร่างกายทารกไดป้ ระมาณ
3 เดือน แต่ถา้ เล้ียงทารกดว้ ยน้านมแม่ ทารกจะไดร้ ับแอนติบอดีจากแม่ ทาใหม้ ีภูมิคุม้ กนั โรคอยู่ไดน้ าน 6
เดือน

2. ภูมคิ ุ้มกนั โรคทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายหลงั
เป็ นภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดข้ึนหลงั จากที่ทารกคลอดออกจากครรภ์มาแลว้ แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2

ประเภท คือ
2.1 ภูมิคุม้ กนั โรคที่เกิดข้ึนเอง เป็ นภูมิคุม้ กนั โรคที่เกิดข้ึนหลงั จากไดร้ ับเช้ือโรคเขา้ ไปหรือ

หลงั จากหายป่ วยดว้ ยโรคต่างๆ เช่น หดั อีสุกอีใส ไขท้ รพิษ คางทูม เป็นตน้ ภูมคิ ุม้ กนั โรคที่เกิดข้ึนแลว้ อาจ
อยู่ในร่างกายระยะหน่ึง หรืออาจอยู่ไดน้ านจนตลอดชีวิตก็ได้ เช่น โรคหัด เม่ือเป็ นแลว้ ร่างกายจะสร้าง
ภูมิคุม้ กนั โรคออกมาต่อตา้ นโรคหัด และเม่ือหายจากโรคหดั แลว้ ภูมิคุม้ กนั โรคจะอยใู่ นร่างกายตลอดไป
จึงไม่เป็นโรคหดั อกี เลย

2.2 ภูมิคุ้มกันโรคท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน เป็ นภูมิคุ้มกนั โรคที่ถูกทาให้เกิดข้ึน โดยการใชส้ ารไป
กระตุน้ ใหร้ ่างกายสร้างแอนติบอดีข้ึน มี 2 ชนิด คือ

2.2.1 วคั ซีน (Vaccien)
วคั ซีน คือ ผลิตภณั ฑช์ ีวภาพซ่ึงกระตุน้ ระบบภูมคิ ุม้ กนั ของผรู้ ับ (คนหรือสตั ว)์ ใหเ้ กิด

ภูมิคุ้มกนั ต่อเช้ือโรค สารพิษ หรือชีวโมเลกุลก่อโรค ซ่ึงมีผลในการป้องกนั การเกิดโรคหรือทาให้ความ
รุนแรงของโรคน้ันลดลง คาว่า “วคั ซีน” (vaccine) มีรากศพั ท์มาจากภาษาลาตินว่า “vacca” แปลว่าวัว
เน่ืองจากในอดีต (พ.ศ.2339) เอด็ วาร์ด เจนเนอร์ สงั เกตพบว่าคนเล้ียงววั ท่ีเคยติดเช้ือฝี ดาษววั จะไม่ป่ วยเป็ น
ไขท้ รพิษ เขาจึงลองเอาหนองของคนที่กาลงั ป่ วยดว้ ยโรคฝีดาษววั ไปสะกิดที่ผวิ หนงั ของเด็กหนุ่ม ผทู้ ่ีไม่เคย

39

ป่ วยดว้ ยโรคฝีดาษววั หรือไขท้ รพษิ มาก่อน ต่อมาอกี 6 สปั ดาห์ เมื่อนาหนองของผปู้ ่ วยไขท้ รพิษไปสะกิดที่
ผวิ หนงั ของเดก็ ผนู้ ้นั ปรากฏว่าเด็กผนู้ ้นั ไมป่ ่ วยเป็นไขท้ รพษิ จงึ เป็นท่ีมาของการคิดคน้ วคั ซีนเพ่อื ป้องกนั โรค

วคั ซีนทาจากอะไรได้บ้าง
ส่ิงท่ีนามาเพอ่ื เตรียมเป็นวคั ซีน มดี งั น้ี คือ
- เช้ือโรคที่ยงั มีชีวติ อยู่ แต่อ่อนฤทธ์ิแลว้ และไมก่ ่อใหเ้ กิดโรค ทาใหเ้ กิดภูมิคุม้ กนั ไดย้ าวนาน
ตวั อยา่ งวคั ซีนที่ใชก้ นั ในปัจจุบนั ก็เช่น วณั โรค (บี ซี จี) หัด หัดเยอรมนั ไขเ้ หลือง โปลิโอ (ชนิดกิน) ไข้
ไทฟอยด์ ชนิดกิน
- เช้ือโรคท่ีตายแลว้ เช่น วคั ซีนไขไ้ อกรน พิษสุนัขบา้ ไขห้ วดั ใหญ่ อหิวาต์ และวคั ซีนไข้
ไทฟอยด์ (ชนิดฉีด)
- พษิ ของเช้ือโรคที่ออ่ นฤทธ์ิแลว้ เช่น บาดทะยกั

2.2.2 เซรุ่ม (Serum)
เซรุ่ม เป็ นคาทบั ศพั ท์ภาษาองั กฤษว่า serum เป็ นคาเรียกของเหลวใสสีเหลืองอ่อน

ซ่ึงลอยอยเู่ หนือลิ่มเลอื ด ถา้ เจาะเลอื ดออกมาใส่หลอดแกว้ ต้งั ทิ้งไว้ เลอื ดจะแขง็ ตวั เป็ นลิ่มเลือดแลว้ จะหดตวั
เซรุ่มจะลอยอยเู่ หนือลมิ่ เลือดน้นั

เป็นภูมคิ ุม้ กนั โรคที่ฉีดเขา้ ร่างกายสามารถนาไปใชร้ ักษาโรคไดท้ นั ที เพราะเซรุ่มเป็ น
แอนติบอดีที่สตั วส์ ร้างข้ึน เซรุ่มอาจทาไดโ้ ดยการฉีดเช้ือโรคท่ีอ่อนฤทธ์ิลงแลว้ เขา้ ไปในมา้ หรือกระต่าย เม่ือ
มา้ หรือกระต่ายสร้างแอนติบอดีข้ึนในเลือด เราจึงดูดเลือดมา้ หรือกระต่ายท่ีเป็ นน้าใสๆ ซ่ึงมีแอนติบอดีอยู่
นามาฉีดใหก้ ับผูป้ ่ วย ตวั อย่างของเซรุ่ม เช่น เซรุ่มป้องกนั โรคคอตีบ เซรุ่มป้องกนั โรคบาดทะยกั เซรุ่ม
ป้องกนั โรคไอกรน เซรุ่มป้องกนั โรคพิษสุนขั บา้ เซรุ่มแกพ้ ิษงู เป็นตน้

การสร้างภูมคิ ุม้ กนั โรคโดยการใชว้ คั ซีนหรือเซรุ่มน้นั มีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย ดงั น้ี
ขอ้ ดีของวคั ซีน คือ ไม่เกิดอาการแพร้ ุนแรง และทาใหร้ ่างกายมีภูมิคุ้มกนั โรคอยู่ไดน้ าน ส่วน
ขอ้ เสียของวคั ซีน คือ ร่างกายไมส่ ามารถนาไปใชไ้ ดท้ นั ที
ขอ้ ดีของเซรุ่ม คือ ร่างกายสามารถนาเซรุ่มไปใชต้ า้ นทานโรคไดท้ นั ที แต่กม็ ีขอ้ เสีย คือ ผทู้ ี่ไดร้ ับ
เซรุ่มอาจเกิดอาการแพร้ ุนแรงเกิดข้ึนได้
การนาวคั ซีนหรือเซรุ่มเขา้ สู่ร่างกายทาไดห้ ลายวธิ ี คือ
1. การฉีด เช่น วคั ซีนป้องกนั โรคไทฟอยด์ วคั ซีนป้องกนั วณั โรค เป็นตน้
2. การกิน เช่น วคั ซีนป้องกนั โรคโปลิโอ
3. การพน่ เช่น วคั ซีนป้องกนั ไขห้ วดั ใหญ่ชนิดพน่ จมกู
4. การปลกู ฝี เช่น วคั ซีนป้องกนั โรคไขท้ รพษิ ปัจจุบนั น้ีไม่ตอ้ งปลูกฝีป้องกนั โรคไขท้ รพิษแลว้
เพราะองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไดป้ ระกาศท่ีเมืองไนโรบี ประเทศเคนยา เมื่อวนั ท่ี 26 ตุลาคม พ.ศ.2522
วา่ ไขท้ รพิษไดส้ ูญพนั ธุไ์ ปจากโลกน้ีแลว้

40

2.1

ระบบไหลเวยี นโลหิต

จุดประสงค์การเรียนรู้
ขอ้ 2 ทดลองและสรุปเก่ียวกบั การทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายได้

คาชี้แจง ให้นกั เรียนศึกษาโครงสร้างและการทางานของหัวใจ โดยเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ใหน้ กั เรียนบอกโครงสร้างของหวั ใจใหถ้ ูกตอ้ ง

……………………. …………………….
…………………… ……………………

……………………. …………………….
…………………… ……………………

…………………… …………………….
. …………………….
…………………… …………………….
.

2. เรียงลาดบั เหตุการณ์เกี่ยวกบั การสูบฉีดเลอื ด พร้อมท้งั บอกรายละเอียดของเหตุการณ์น้นั ๆ ดว้ ย

  
…………………



41

2.1

ระบบไหลเวยี นโลหติ

คาชี้แจง ให้นกั เรียนศึกษาโครงสร้างและการทางานของหวั ใจ โดยเตมิ คาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ใหน้ กั เรียนบอกโครงสร้างของหวั ใจใหถ้ กู ตอ้ ง

หลอดเลือดนาเลือดจากหัวใจไป หลอดเลือดนาเลือดทม่ี อี อกซิเจนไปเลยี้ ง
ยังปอด เพ่ือรับออกซิเจนท่ีปอด ศีรษะ และส่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย

หลอดเลือดนาเลือดจากศีรษะ หลอดเลือดรับเลือดท่ีมี
และร่ างกายเข้าสู่หัวใจ ออกซิเจนจากปอด

หัวใจห้ องบนขวา ลิน้ หัวใจ
หัวใจห้ องล่ างขวา ลิน้ หัวใจ

กล้ามเนือ้ หัวใจ

2. เรียงลาดบั เหตุการณ์เก่ียวกบั การสูบฉีดเลอื ด พร้อมท้งั บอกรายละเอยี ดของเหตุการณ์น้นั ๆ ดว้ ย

1. เลือดที่มอี อกซิเจนน้อย 4. เลือดจากปอดเข้าสู่หัวใจ 3. เลือดเข้าสู่หลอดเลือดไป

เข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ห้ องบนซ้ าย ปอด

2. หัวใจบบี ตวั เลือดเข้าสู่ 5. หัวใจบบี ตวั เลือดเข้าสู่ 6. เลือดจากหัวใจห้องล่าง

หัวใจห้องล่างขวา หัวใจห้องล่างซ้าย ซ้ายไปเลยี้ งส่วนต่างๆ ของ
ร่ างกาย
42


Click to View FlipBook Version