The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chtsan6, 2021-12-17 09:21:22

แนวทางนิเทศการจัดการเรียนรู้ Active Learning

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักการใชน้ วัตกรรมการพฒั นาการนิเทศการศกึ ษา
1.การพัฒนาตนเพือ่ พฒั นางาน เกิดจากการเรียนรู้จากการลงมอื ปฏบิ ัตงิ านในภาวะปกติดว้ ย

ตนเอง ประเมนิ ตนเอง ปรบั ปรุงงานและพัฒนาให้ผลงานมีคณุ ภาพสูงขึน้ อยูเสมอด้วยตนเอง
2. รูปแบบกระบวนการพัฒนางาน เป็นรูปแบบกระบวนการทางานโดยผู้นิเทศนานวัตกรรม

ไปใช้พัฒนาครูในภาวะงานปกติของผนู้ เิ ทศ ให้เปน็ นวตั กรรมทช่ี วยเหลือและส่งเสริมให้ครสู ามารถแสดง
พฤติกรรมสาคญั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเรียนรรู้ อบด้านของนกั เรียนอยา่ งแทจ้ รงิ

3. นวัตกรรมการนิเทศเป็นกจิ กรรมหรือวิธีการทีม่ ีความหมายสาหรบั ผนู้ เิ ทศและผู้รับการนเิ ทศ
มงุ่ เนน้ ใหท้ ง้ั 2 ฝ่ายไดป้ ระเมินตนเองเพื่อไปพฒั นางานในภาวะปกตขิ องแตล่ ะฝา่ ยในอนาคตตอ่ ไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้เพือ่ พัฒนาเป็นชุดนวัตกรรมของผู้นิเทศ
เมื่อศึกษานิเทศก์นาส่ือ เคร่ืองหรือนวัตกรรมไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงกับครูผู้รับการนิเทศ

ควรมีการบันทึกผลการใช้ ประเมินผลการใช้ แล้วปรับปรงุ และพัฒนาใหดีข้ึน ให้เหมาะสมกบั ศักยภาพ
ของผู้นิเทศ ครูผู้รับการนิเทศ และบรรยากาศของการนิเทศ สรุปได้ว่า การพัฒนาส่ือ เคร่ืองมือ หรือ
นวัตกรรมการนิเทศการศึกษา เป๊นการพัฒนาสื่อ เครอ่ื งมือ อุปกรณ์ วิธีการกระบวนการท่ีผนู้ ิเทศใช้ใน
การปฏิบัติการนิเทศในภาวะปกติด้วยตนเอง โดยการนานวัตกรรมไปใช้จริงกับผู้รับการนิเทศ มีการ
บันทึกผลการใช้ประเมินผลการใช้แล้วปรับปรุงพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้รับการนิเทศ
เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมในทางทีด่ ขี น้ึ ผู้เรียนมคี ุณภาพได้มาตรฐานตามทีก่ าหนด

ความหมายของสอ่ื และเครื่องมอื การนิเทศการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (2554) ได้ใหค้ วามหมายของสอื่ และเคร่ืองมอื

การนิเทศการศกึ ษาไว้ ดงั นี้
ส่อื การนิเทศการศึกษา หมายถึง ส่ิงท่ีชว่ ยในการปฏิบตั ิงานนิเทศการศึกษา เพ่อื แกไ้ ขปญั หาและ

พจิ ารณาการทางานของครู เชน่ บทเรียนดว้ ยตนเอง สไลด์ วิดโี อเทป วิทยุ เครอ่ื งบนั ทึกเสยี ง เปน็ ตน้
เคร่ืองมือนเิ ทศการศึกษา หมายถึง สิ่งทผี่ ู้นเิ ทศใช้ในการนเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน

ของครูเพ่ือใหผ้ ้นู ิเทศได้ทราบถึงผลการดาเนินงานของครู ที่มาของปัญหา ความต้องการ และวางแผน
แก้ปัญหาได้ถูกต้อง เคร่ืองมือนิเทศ เช่น แบบบันทึกข้อมูล แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสารวจ
แบบประเมนิ คา่ แบบสังเกตพฤตกิ รรม เป็นตน้

แนวทาง การนเิ ทศการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) pg. 47

ประโยชน์ของสอ่ื และเครือ่ งมอื การนเิ ทศ
1. สื่อ เครื่องมือนิเทศช่วยทาใหก้ ารนเิ ทศบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศ สะดวก รวดเรว็

ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย เช่น การนิเทศโดยใช้สอ่ื เทคโนโลยีที่ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ
โลกในศตวรรษที่ 21 รปู แบบต่างๆ อาทิ การใช้ Line Application การใช้ Clip Video การนเิ ทศผา่ น
ระบบ Conference การใช้ Video call Line YouTube Facebook Live เปน็ ต้น

2. สอ่ื เคร่อื งมอื นิเทศใชป้ ระโยชนเ์ พื่อการเก็บรวบรวมข้อมลู ในการแกป้ ญั หา พฒั นาตรวจสอบ
ติดตามความก้าวหน้า และการประเมินผลของการดาเนินงานและการนิเทศ จึงควรเป็นเคร่ืองมือทม่ี ี
คณุ ภาพ ใช้งา่ ย สามารถเกบ็ ข้อมลู ทต่ี อบประเดน็ ปญั หาความต้องการ และเปน็ ประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หา
ปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

สอ่ื และเคร่ืองมือในการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา อาจจาแนกได้
1. สือ่ และเครอื่ งมือในการนิเทศการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน / การนิเทศในชนั้ เรียน /
การสงั เกตการสอน
2. สอ่ื และเครือ่ งมอื ตรวจสอบ ตดิ ตามคุณภาพการจัดการศึกษา / การจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอน/ตดิ ตามการดาเนนิ งานต่าง ๆ
3. ส่ือ เคร่ืองมอื การนทิ ศทางไกล ซ่ีงผ้นู เิ ทศสามารถเลอื กใชส้ อื่ เทคโนโลยใี หม่ ๆ แพลตฟอร์ม
หรือแอพพลเิ คชันต่าง ๆ มาใชเ้ ปน็ สือ่ เครื่องมือในการปฏบิ ตั งิ านนเิ ทศ เช่น Google Apps for
Education Microsoft Teams Facebook Line รวมถงึ โปรแกรมการสอ่ื สารออนไลน์ท่ีใชใ้ นการ
ประชมุ ทางไกล เช่น Microsoft Teem Google Meet โปรแกรม Zoom เปน็ ต้น

เครือ่ งมอื นเิ ทศการศึกษาทางไกล หรือการนเิ ทศออนไลน์
การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้

เชิงรกุ ในสถานศกึ ษา ผนู้ เิ ทศสามารถเลือกใช้เทคโนโลยใี หม่ ๆ มาใชใ้ นการนิเทศทางไกล หรือการนเิ ทศ
ออนไลน์ ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
และรปู แบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล ท่ีมกี ารเสนอแนะใหจ้ ดั การเรียนการสอนใน 5 รปู แบบ คอื
On-site (การจัดการเรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน) On-air (การจัดการเรียนการสอนแบบทาง
เดียว ผ่านระบบสื่อสารช่องทางหลักโดยส่งสัญญาณครูผู้สอนต้นทางมาจากโรงเรียนวังไกลกังวล )
On-demand (การจัดการเรยี นการสอนผ่านสือ่ อเิ ลคทรอนกิ ต่าง ๆ เรยี นผ่านเวบ็ ไซต์ DLTV / DLIT /
OBEC Content Center) On-Line (การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด ผ่านเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตในรูปแบบวีดีโอคอนเฟอร์เร้นท์ Video Conference Google Meet Microsoft Team
หรือ Zoom Meeting) และ On-hand (การจัดการเรียนการสอนโดยจัดส่งเอกสารให้เรียนที่บ้าน
สาหรับนักเรียนท่ีไม่มีความพร้อมเร่ืองวัสดุอุปกรณ์เทคโนโลยีสาหรับการเรียนทางไกลรูปแบบอื่น ๆ

แนวทาง การนิเทศการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) pg. 48

ในการนิเทศการศึกษาผนู้ ิเทศสามารถเลือกใช้สือ่ เคร่ืองมือในการนิเทศทางไกล หรือการนิเทศออนไลน์
ผ่านแอบพลิเคชัน หรือโปรแกรมสาเร็จรูปออนไลน์ เช่น LINE ZOOM Meeting Skype Microsoft
Teem Google Meet ฯลฯ โดยมีรายละเอียดเครือ่ งมอื ต่าง ๆ ดงั น้ี

LINE เป็นแอพพลเิ คชนั หรอื โปรแกรมพูดคุย (แชท/Chat)
ที่สามารถใช้งานได้ท้ังในโทรศัพท์มือถือท่ีมีระบบปฏิบัติการ iOS,
Android, Windows Phone สามารถใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์
PC และ Mac ได้ สามารถนามาใช้ในนิเทศรายบุคคล การนิเทศ
โดยการประชุมกลมุ่ ยอ่ ยต้งั คา่ คุยกันเป็นกลมุ่ แชท ส่งรูป ส่งไอคอน
สง่ Sticker สง่ ไฟลเ์ อกสารตา่ ง ๆ ฯลฯ

ZOOM Meeting เปน็ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์เพอื่ การตดิ ต่อสอื่ สาร
แบบวิดีโอคอลและแชท หรือประชุมทางไกล รวมถึงการแชร์ไฟล์
ต่าง ๆ บริการเครือข่ายการประชุมผ่านคลาวด์ รองรับผู้เข้าร่วม
ประชุมได้หลายร้อยคนพร้อมกัน อาทิ ผู้ท่ีทางานจากบ้าน (Work
From Home) หรอื นกั เรยี นท่เี รียนจากบา้ น (Learn From Home)
หรือครูสอนออนไลน์ (Online Teaching) หรือการนิเทศโดย
ประชมุ แบบกลมุ่ ย่อย

Skype คอื โปรแกรมทใ่ี ชต้ ิดต่อสอ่ื สารกันระหวา่ งผา่ นอินเทอร์เนต็
ด้วยข้อความ พร้อมเสยี ง และภาพจากกลอ้ ง Webcam โดยจะเป็น
การส่ือสารกนั แบบ Real Time ลกั ษณะจะคล้ายกับการ วีดีโอคอล
ตามแอปพลิเคชันต่างๆ แต่จะมีข้อดีกว่าในเรื่องของคุณภาพของ
ภาพ และเสียง ซ่ึง Skype จะให้สัญญาณท่ีคมชัดกว่าอย่างเห็นได้
ชัด และนอกจากใช้งานบนคอมพิวเตอร์แล้วปัจจุบันโปรแกรม
Skype ยังสามารถใชง้ านได้บนสมาร์ทโฟนดว้ ย ใช้งานได้ในหลาย
ระบบปฏิบัติการ เช่น Windows , Mac , Android และ iOS
ประโยชน์ของ Skype ในการนเิ ทศกค็ ือใช้ทา Video Conference
เพ่ือสนทนากันแบบตัวต่อตัว หรือประชุมสายพร้อมกันหลายคน
ผ่าน Internet

แนวทาง การนิเทศการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) pg. 49

Microsoft Teams (เ รี ย ก สั้ น ๆ ว่ า Teams) คื อ เ คร่ื อ ง มือ
ที่ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นสื่อกลางในการทางานในด้านต่างๆ เช่น
การติดต่อส่ือสาร การนัดหมาย การประชุม การประกาศและ
ติดตาม ข่าวสาร การติดตามงานหรือโครงการต่างๆ เป็นต้น โดย
เป็นเหมือนศูนย์กลางในการเข้าถึงบริการต่างๆที่มีอยู่ ในตัวระบบ
Office 365 รองรับการประชุมพร้อมกันได้สูงสุด 250 คน (for
Education) แ ล ะ ไ ม่ จ า กั ด เ ว ล า ใ น ก า ร ป ร ะ ชุ มร อ ง รั บ
ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android iOS และ Desktop

Google Meet คือ แอปพลิเคช่ันสาหรบั การประชุมทางวิดีโอที่ใช้
ง่าย จาก Google ใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับการเรียนการสอนหรือ
การประชุมด้วยวดิ โี อ ทีม่ ีความละเอยี ดสงู รองรบั ผเู้ ข้ารว่ มไดส้ งู สดุ
100 คนต่อ 1 ห้อง เข้าถึงได้ง่ายด้วยเว็บบราวเซอร์ ไม่ต้องติดต้ัง
โปรแกรม สามารถแชร์ลงิ กใ์ ห้ทุกคนเข้าร่วมประชุมได้งา่ ย รองรับ
การใช้งานที่หลากหลายบน Desktop, IOS และ Android รวมถึง
สามารถแชรห์ น้าจอ รปู ภาพ ไฟล์ และขอ้ ความต่าง ๆ ได้

ศกึ ษา ค้นคว้า เรยี นรู้เพม่ิ เตมิ ดงั น้ี

การใช้ การใช้
Google Meet Zoom Meeting

(link) (link)

การใช้ คู่มือแนะนา
Line Meeting Google Meet,
Microsoft , Zoom
(link)

แนวทาง การนเิ ทศการจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning) pg. 50

การนเิ ทศการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รุก มีหลักในการนิเทศ เพอ่ื แนะนาช่วยเหลือให้ครปู รับเปลยี่ น
วิธีการสอนให้เป็นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ซ่ึงอาจใช้รูปแบบการนิเทศการสอนในช้ันเรียน เพื่อให้เหน็
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูและลกั ษณะการเรียนร้ขู องผู้เรียนในแต่ละวิชา การนิเทศอาจ
เร่ิมจากการตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้ที่จะใช้สอน ทาความเข้าใจกับครูผูส้ อน ทาการสังเกตการ
สอน การสรุปผลการสงั เกตการสอนและให้ข้อมลู ย้อนกลบั ตอ่ ครูผสู้ อน ตัวอย่างเคร่อื งมอื ที่ใช้ในการนเิ ทศ
โดยการสังเกตการสอนในช้ันเรียน เช่น

ตวั อยา่ ง แบบตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรู้

แนวทาง การนิเทศการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) pg. 51

ตวั อยา่ ง แบบบันทึกการสงั เกตการจดั การเรยี นรู้
ตวั อย่าง แบบบันทึกการสงั เกตการจดั การเรยี นรู้

แนวทาง การนิเทศการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) pg. 52

บรรณานุกรม

กรองทอง จริ เดชากลุ . (2550). ค่มู ือการนเิ ทศภายในโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : ธารอกั ษร.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). หลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ .
กิดานันท์ มลทิ อง. (2540). เทคโนโลยกี ารศกึ ษารว่ มสมยั (พิมพ์ครง้ั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : เอดสิ ันเพรสโพร์ดักส.์
จลุ ดศิ คาหว่าน. (2016). การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพครู สืบคน้ เมื่อวันที่ 16 มนี าคม 2564

จาก https://junladitblog.wordpress.com/.
ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรยี นการสอน : ทางเลอื กทห่ี ลากหลาย. กรงุ เทพฯ :

โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
---------------. (2551). ศาสตร์การสอน องคค์ วามร้เพื่อการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ.

(พมิ พ์คร้งั ท่ี 7). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ธนู ชาติธนานนท์. (2552). ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการสอื่ สาร. สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 16 มนี าคม 2564

จาก https://thaiforcommunication.weebly.com/.
พชิ ติ ฤทธจ์ิ รญู . (2548). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. (พิมพ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ : เฮา้ ส์ ออฟเคอรม์ สี ท์.
วัชรา เลา่ เรยี นด.ี (2556). ศาสตรก์ ารนิเทศการสอนและการโคช้ การพฒั นาวชิ าชพี : ทฤษฎีกลยทุ ธ์สู่การปฏิบัต.ิ

(พิมพค์ ร้งั ที่ 12). นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั ศลิ ปากร วิทยาเขตพระราชวงั สนามจันทรน์ ครปฐม.
สน สวุ รรณ การนิเทศการศึกษา สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 16 มนี าคม 2564

จาก https://suwanlaong.wordpress.com/2013/04/24.
สันติ บญุ ภิรมย.์ (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรงุ เทพฯ: บคุ๊ พอยท.์
สานกั งาน ก.ค.ศ. สื่อ นวัตกรรมการนเิ ทศ. สบื ค้นเมือ่ วันที่ 16 มีนาคม 2564

จาก https://research.otepc.go.th/files).
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน. แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด

ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). (อดั สาเนา)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. (2554). เอกสารการประชมุ วิชาการพัฒนาศึกษานิเทศกแนวใหม่

เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : ศูนยพฒั นาการนเิ ทศเรงรดั คุณภาพการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน.
หนว่ ยศึกษานิเทศก์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน. (2562) แนวทางการนเิ ทศเพื่อพฒั นาและ

สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) ตามนโยบายลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้. (ม.ป.พ.)

แนวทาง การนิเทศการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning) pg. 54

คณะผจู้ ัดทา

คณะที่ปรกึ ษา

นายอัมพร พนิ ะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
นายสนทิ แยม้ เกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
นางเบญจลักษณ์ นา้ ฟ้า ผู้เชย่ี วชาญพิเศษ ส้านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
นางลาวณั ย์ ตรเี นตร ขา้ ราชการบา้ นาญ (ทปี่ รึกษาดา้ นพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรู้ สพฐ.)

คณะผจู้ ดั ทา ศึกษานิเทศกช์ า้ นาญการพเิ ศษ สา้ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา
นางรวภิ ัทร เหลา่ คุม้ กรุงเทพมหานคร เขต ๑ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ทน หวั หน้าหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สพฐ.
ผู้อา้ นวยการกลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
นางหัทยา เขม็ เพช็ ร สา้ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาสงิ ห์บุรี อ่างทอง
ศกึ ษานเิ ทศกช์ ้านาญการพิเศษ ส้านกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2
นางสาวเพชรัษฎ์ แก้วสวุ รรณ
นางสาวอรไท แสงลุน ศกึ ษานเิ ทศกช์ ้านาญการพิเศษ ส้านกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี
นางสาวพชิ ญา ค้าปัน ศึกษานิเทศก์ชา้ นาญการพเิ ศษ ส้านกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาล้าปาง ลา้ พูน
นางพวงพร นลิ นยิ ม ศกึ ษานิเทศกช์ า้ นาญการ สา้ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 1
นายณภทั ร ศรลี ะมยั ศกึ ษานเิ ทศกช์ ้านาญการพิเศษ ส้านักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาฉะเชงิ เทรา
นางสาวกษมา หินพรหม ศกึ ษานิเทศก์ชา้ นาญการพิเศษ ส้านกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาอดุ รธานี
ช่วยปฏบิ ตั ิราชการหน่วยศึกษานิเทศก์ สพฐ.
นางสาวภญิ ญาพัชญ ศึกษานเิ ทศกช์ า้ นาญการพิเศษ สา้ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาน่าน เขต 2
เช้ือจันทรย์ อด ชว่ ยปฏบิ ตั ริ าชการหน่วยศึกษานเิ ทศก์ สพฐ.
ศกึ ษานิเทศกช์ า้ นาญการพเิ ศษ สา้ นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร
นางสาวสวุ มิ ล อินทปนั ตี เขต 2 ชว่ ยปฏบิ ตั ิราชการหน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ สพฐ.

คณะบรรณาธกิ ารกจิ ขา้ ราชการบา้ นาญ (ทป่ี รึกษาดา้ นพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ สพฐ.)
นางลาวณั ย์ ตรเี นตร ขา้ ราชการบา้ นาญ (ศึกษานเิ ทศก์ชา้ นาญการพิเศษ)
นางบวั บาง บญุ อยู่ ศึกษานิเทศก์ช้านาญการพเิ ศษ สา้ นักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา
นางรวภิ ัทร เหล่าคมุ้ กรงุ เทพมหานคร เขต 1 ปฏบิ ัตหิ น้าทีแ่ ทน หัวหน้าหนว่ ยศึกษานิเทศก์ สพฐ.
ศึกษานเิ ทศก์ช้านาญการพเิ ศษ ส้านักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาอดุ รธานีช่วย
นางสาวกษมา หินพรหม ปฏิบตั ิราชการหน่วยศึกษานิเทศก์ สพฐ.
ศึกษานิเทศกช์ า้ นาญการพเิ ศษ สา้ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาฉะเชงิ เทรา
นายณภัทร ศรีละมยั

แนวทาง การนิเทศการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) pg. 54

หน่ วยศึกษานิ เทศก์

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

หน่วยศึกษานิ เทศก์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
ชนั้ 6 อาคารรชั มงั คลาภิเษก 2 กระทรวงศึกษาธิการ
โทรศพั ท์ 02 288 5812 02 288 5814

Website : www.esdc.go.th
Email : [email protected]


Click to View FlipBook Version