ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม
ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี
CHANTHABURI
WWW.RBRU.AC.TH
สารบัญ
บ ท ส รุ ป ผู้ บ ริ ห า ร 1
2
บ ท นำ 3
รายงานสรุ ปตั วชี้วัดการดำเนินงานระดั บตำบล 6
และระดั บสถาบันอุ ดมศึ กษา ของโครงการฯ
ระดั บจังหวัด
สรุป TPMAP ก่ อนและหลั งโครงการ
การสังเคราะห์องค์ ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 7
เพื่ อเป็นข้อเสนอจังหวัด 6 ด้าน
แนวทางการพัฒนา 6 พื้ นที่ ต้ นแบบเพื่ อเสนอจังหวัด 9
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการ COVID-19 16
ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด
ผลการศึ กษาผลกระทบเชิงเศรษฐกิ จและสังคมรายจังหวัด 19
ของโครงการ U2T ด้ วยเครื่ องมือ SROI
สารบัญ
รายงานผลการวิเคราะห์ ข้อมู ล 22
THAILAND COMMUNITY BIG DATA 24
29
เรื่ องเล่ าความสำเร็จ SUCCESS STORY ของจังหวัด 38
ที่ ใช้เป็นต้ นแบบการพัฒนาอย่างยั่งยืน 42
ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP ANALYSIS
เพื่ อต่ อยอดงานการพัฒนาจังหวัด
แนวทางการพัฒนาจังหวัด โครงการ งานวิจัย
ภาคผนวก
บทสรุ ป 24
ผู้ บ ริ ห า ร
คณะกรรมการ อว.ส่วนหน้า จ.จันทบุรี 4
ได้ขับเคลื่ อนตามนโยบายกระทรวง อว.
ในการกำกับติดตามการดำเนินการโครงการ 21
ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบ
บูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้ว ตำ บ ล ที่ ยัง ไ ม่ส า ม า ร ถ อ ยู่ร อ ด
ให้ประเทศ U2T) เพื่อพัฒนาคนในชุมชนให้มีชีวิต ตำ บ ล ที่ อ ยู่ร อ ด
ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สนับสนุนโครงการขับเคลื่ อน
ไทยไปด้วยกันของจังหวัดจันทบุรี
โดยมีมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แห่ง เข้าร่วมการ ตำ บ ล มุ่ง สู่ค ว า ม พ อ เ พีย ง
ดำเนินการ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ตำ บ ล มุ่ง สู่ค ว า ม ยั่ง ยืน
มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตะวันออก และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สิ่งแวดล้ อม
ราชมงคลกรุงเทพ เข้าร่วมดำเนินการในระดับตำบล 0.4 ล้ านบาท
ทั้งสิ้น 31 ตำบล
สุ ข ภ า ว ะ
69.3 ล้ านบาท
มีการจ้างงานคนในพื้นที่เกิดขึ้น 620 คน ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม เศรษฐกิ จ
ประกอบด้วย บัณฑิตจบใหม่ ประชาชนทั่วไป และ 32.6 ล้ านบาท 152.4 ล้ านบาท
นักศึกษา มีการจัดโครงการพัฒนาศักยภาพในทักษะ
4 ด้าน ได้แก่ Digital Literacy, English ศั กยภาพ
Literacy, Financial Literacy และ Social 43.6 ล้ านบาท
Literacy เพื่อให้ผู้รับจ้างและคนในพื้นที่มี
ความพร้อมในการประกอบอาชีพในพื้ นที่ของตน 298 ล้ านบาท
และช่วยเหลือชุมชน มีกิจกรรมเกิดขึ้นทั้งสิ้น 286
กิจกรรม สามารถพัฒนาคนในพื้นที่ได้ทั้งสิ้น 2,197 เป็นกโดยแบ่งเป็น 5 มิติ ประกอบด้วย
คน โครงการดังกล่าวได้แบ่งกลุ่มสถานภาพของ ด้านเศรษฐกิจ ด้านศักยภาพ
ตำบล ประกอบด้วย ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน ตำบลอยู่
รอด และตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง ด้านการมีส่วนร่วม ด้านสุขภาวะ และด้านสิ่งแวดล้อมย
การจัดทำรายงานสรุ ปฉบับนี้ ได้ นำผลข้อมู ลมาวิเคราะห์ ประกอบด้ วย TSI, USI, PBM, 1
TCD และ SROI ผ่านกระบวนการ GAP ANALYSIS จัดทำเป็น ABC MODEL และ
พัฒนาเป็นแนวทางการพัฒนาจังหวัดเพื่ อเสนอแนะให้ กั บจังหวัด ผ่านคณะกรรมขับ
เคลื่ อนไทยไปด้ วยกั นประจำจังหวัดจันทบุ รี ในส่วนของการคั ดเลื อกตำบลที่ มีการพัฒนา
โดดเด่ น หรือประสบความสำเร็จในระดั บสูง คณะกรรมการได้ มีการพิจารณาคั ดเลื อก
ตำบลโดดเด่ นจำนวน 4 ตำบล และจัดทำเป็น SUCCESS STORY เพื่ อเป็นตำบลต้ นแบบ
สำหรับเป็นแนวทางพัฒนาและสร้างความเข้าใจให้ กั บตำบลอื่ นๆ ต่ อไป
บ ท นำ
ข้อมู ลพื้ นฐานของจังหวัดจันทบุ รี โดยตำบลที่มีการดำเนินโครงการ U2T ในปีงบ
จังหวัดจันทบุรีเป็นจังหวัดในภาคตะวันออก ประมาณ 2564 ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี มีทั้งสิ้น
ตั้งอยู่ชายฝั่ งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย 31 ตำบล โดยมีสถาบันอุดมศึกษาที่ร่วมทำงาน
ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัด ในพื้นที่จังหวัดจันบุรี จำนวน 4 สถาบัน ได้แก่
สระแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี รับผิดชอบ
ทิศใต้ ติดกับทะเลอ่าวไทย ทั้งหมด 15 ตำบล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดตราดและจังหวัด จันทบุรี รับผิดชอบทั้งหมด 12 ตำบล
พระตะบอง ราชอาณาจักรกัมพูชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดระยองและจังหวัดชลบุรี วิทยาเขตจันทบุรี รับผิดชอบทั้งหมด 2 ตำบล
ลักษณะภูมิประเทศ มีทั้งป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสลับภูเขา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
และที่ราบฝั่ งทะเล โดยมีแม่น้ำสายสำคัญ 4 สาย วิทยาเขตกรุงเทพ รับผิดชอบทั้งหมด 2 ตำบล
คือ แม่น้ำจันทบุรี แม่น้ำพังราด แม่น้ำเวฬุและแม่น้ำ
วังโตนด
จันทบุรีมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10
อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองจันทบุรี อำเภอขลุง อำเภอ
ท่าใหม่ อำเภอโป่งน้ำร้อน อำเภอมะขาม อำเภอแหลม
สิงห์ อำเภอสอยดาว อำเภอแก่งหางแมว อำเภอ
นายายอามและอำเภอเขาคิชฌกูฏ มี 76 ตำบล
แผนที่ ตำบลในจันทบุ รี
ที่ ได้ ดำเนินการในโครงการ U2T
มหาวิทยาลั ยราชภั ฏรำไพพรรณี (15 ตำบล)
เกวียนหัก, แก่ งหางแมว, ขลุง, ขุ นซ่อง,เขาวงกต,
จันทเขลม, ตะปอน, ตกพรม, ตรอกนอง, ท่ าช้าง,
ปากน้ำแหลมสิงห์, พวา, สามพี่น้อง, หนองบัว, ซึ้ ง
มหาวิทยาลั ยบู รพา วิทยาเขตจันทบุ รี (12 ตำบล)
เกาะขวาง, เขาบายศรี, คลองขุ ด, ตระกาดเง้ า,
บ่อพุ , บางกะจะ, บางกะไชย, บางชัน, พลิ้ ว, รำพัน,
วังแซ้ม, สนามไชย
มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
วิทยาเขตจันทบุ รี (2 ตำบล)
พลวง, ทรายขาว
มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลกรุ งเทพ
(2 ตำบล)
เขาแก้ ว, วังโตนด
2
ร า ย ง า น ส รุ ป
ตั ว ชี้ วั ด ก า ร ดำ เ นิ น ง า น
ร ะ ดั บ ตำ บ ล แ ล ะ
ร ะ ดั บ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า
ของโครงการฯ
ใ น ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด
3
ร า ย ง า น ส รุ ป กิ จ ก ร ร ม ทั้ ง 3 1 ตำ บ ล
การประเมินศักยภาพตำบล ตามเป้าหมาย 16 ประการ
เพื่ อให้เกิดกิจกรรมยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ
และเพื่ อฟื้ นฟู เศรษฐกิจในพื้ นที่ที่มีความครอบคลุมในประเด็นการพัฒนาของตำบล
25 ก่อนโครงการ หลังโครงการ
21
20
15 1 2 64 9 4
4
10 ตำบลที่อยู่รอด
ตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน
52
0
ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด
กิ จกรรมการพัฒนาตำบลแบ่งออกเป็น
4 ด้าน คื อ
1. เพื่ อให้เกิ ดการพัฒนาตามปั ญหาและ รายงานกิ จกรรมการพั ฒนาตำบล
ความต้ องการของชุ มชน ได้แก่ การ
พั ฒ น า สั ม ม า ชี พ แ ล ะ ส ร้ า ง อ า ชี พ ใ ห ม่ พัฒนา ด้ า น จำ นว น งบประมาณ สัดส่ว น
2.การสร้างและพัฒนา CREATIVE อื่ น ๆ ตำ บล 0 0
ECONOMY ยกระดับการท่ องเที่ ยว กา ร ส่ง เ ส ริมด้า นสิ่ง แ ว ดล้ อ ม
3.การนำองค์ ความรู้ไปช่วยบริการชุ มชน กา ร ส ร้า ง แ ล ะ พัฒนา 0
HEALTH CARE เทคโนโลยีด้านต่ าง ๆ
17 2,257,223.25 9.49
28 5,598,807.75 23.53
กา ร พัฒนา แ ล ะ ส ร้า ง อ า ชีพใ ห ม่ 28 1 0, 7 01 , 3 85 . 7 5 44. 98
กา ร นำ อ ง ค์ คว า มรู้ไ ปบริกา ร ชุ มช น 26 5 , 23 5 , 606. 2 5 22. 00
4.การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้ อม
CIRCULAR ECONOMY (การเพิ่ม
รายได้หมุ นเวียนให้แก่ ชุ มชน)
4
การจ้ างงานในพื้ นที่
400
300 บัณฑิต 310 คน
นักศึกษา 155 คน
200 ประชาชน 155 คน
100
0 นักศึกษา ประชาชน
บัณฑิต
การพั ฒนาทั กษะ
125
DIGITAL 100
LITERACY
97.42 % 75
ENGLISH 50
LITERACY
101.9% 25
FINANCIAL 0 English Literacy Financial Literacy Social Literacy
LITERACY Digital Literacy
92.59
SOCIAL
LITERACY
109.79
5
ส รุ ป T P M A P
ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง โ ค ร ง ก า ร
TPMAP (THAI PEOPLE MAP AND 1 ก่อนโครงการ หลังโครงการ
ANALYTICS PLATFORM) 0.75
เป็นระบบบริหารจัดการข้อมู ลพัฒนาคน 0.5
แบบชี้เป้าสามารถระบุ ได้ว่า “คนจนเป้าหมาย” 0.25
มีปั ญหาในแต่ ละมิติ เป็นอย่างไร จากข้อมู ล
จำนวนคนในครัวเรือนยากจนที่ ตกตั วชี้วัดความ
จำเป็นพื้ นฐาน (จปฐ.) ในแต่ ละมิติ โดยตั วชี้วัด
จปฐ. ที่ นำมาใช้ในการคำนวณดัชนีความยากจน
หลายมิติ (MPI) ประกอบด้วย ด้านสุขภาพ
ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึ กษา ด้านรายได้
และด้านการเข้าถึ งบริการรัฐ
ด้ า น สุข ภ า พ
ด้ า น บ ริก า ร ข อ ง รัฐ ด้ า น ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ 0
ด้ า น ร า ย ไ ด้ ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ด้าดน้าคด้นวาากนามสเรุปศ็ขึนภกาอษยูาพ่
ด้านบริดก้าารนขรอางยรไัดฐ้
TPMAP ก่ อนโครงการ
ด้ า น สุข ภ า พ
ด้ า น บ ริก า ร ข อ ง รัฐ ด้ า น ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่
สรุป TPMAP
ก่ อนและหลั งโครงการ
ด้ า น ร า ย ไ ด้ ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า
TPMAP หลั งโครงการ
ภาพรวม ค่ า ต่ำ สุด ค่ า สูง สุด
6
ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เ ท ค โ น โ ล ยี
แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม
เ พื่ อ เ ป็ น ข้ อ เ ส น อ
จั ง ห วั ด
6
ด้ า น
ข้อมู ลเพิ่มเติ ม
7
การเชื่ อมโยงโจทย์วิจัยจากโครงการ U2T
กั บแผนวิจัยระดั บมหาวิทยาลั ยและปัญหาระดั บจังหวัด
ป ร ะ เ ด็ น โ จ ท ย์ แผน ป ร ะ เ ด็ น
วิ จั ย วิ จั ย วิ จั ย ปั ญ ห า จั ง ห วั ด
การเกษตร ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม แผนงานวิจัย 1 ปั ญหาการนำเข้าแรงงาน
ก า ร พั ฒ น า เพื่ อการเกษตรอั จฉริยะ
ในภาคเกษตร
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
เพื่ อขจัดความยากจนด้วย ปั ญหาการควบคุม
การพัฒนาผลิ ตภาพ การศึ กษาวิทยาศาสตร์ คุณภาพผลผลิ ตโดยเฉพาะ
เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ทุ เ รี ย น
ทางการเกษตร
ของท้ องถิ่ นภาคตะวันออก ปั ญหาภั ยแล้ ง/การบริหาร
ผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนเพื่ อเพิ่มมู ลค่ า
จั ด ก า ร น้ำ
ทางเศรษฐกิ จจากวัสดุเหลื อใช้
แผนงานวิจัย 2 ปั ญหาด้านอุ ตสาหกรรม
ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร สู่ ม า ต ร ฐ า น
อั ญมณี
ส า ก ล อ ย่ า ง ค ร บ ว ง จ ร
การวิจัยเพื่ อส่งเสริมความ
เข้มแข็งของเศรษฐกิ จ
ยกระดับผลิ ตภั ณฑ์ สมุ นไพร ปั ญหาด้านการท่ องเที่ ยว
จากภูมิปั ญญาท้ องถิ่ นภาค ฐานราก เพิ่มศั กยภาพใน
การแข่งขัน พึ่ งพาตนเองได้
ต ะ วั น อ อ ก สู่ ต ล า ด ส า ก ล และกระจายรายได้สู่ท้ องถิ่ น
ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก
ส่งเสริมการสื่ อสาร
ทางการตลาดด้วยแนวคิ ด
เศรษฐกิ จสร้างสรรค์
ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
การตลาด
โ ค ร ง ก า ร ส ร้ า ง ม า ต ร ฐ า น
และส่งเสริมธุ รกิ จ
การท่ องเที่ ยววิถี ใหม่
ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว โครงการวิจัยเพื่ อส่งเสริม แผนงานวิจัย 3 ปั ญหาช้างป่า
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม คุณภาพสิ่งแวดล้ อมด้วย
คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต น วั ต ก ร ร ม นำ ไ ป สู่ เ มื อ ง ส ะ อ า ด
โ ค ร ง ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม คุ ณ ภ า พ การวิจัยเพื่ อพัฒนาและเร่ง
ชี วิ ต ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ แก้ ไขปั ญหาทรัพยากร
น วั ต ก ร ร ม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม
ในท้ องถิ่ นภาคตะวันออก
ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม
แผนงานวิจัย 4
การวิจัยเพื่ อพัฒนาคุณภาพ
ชี วิ ต ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม สู ง วั ย
ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก
ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม
8
6
พื้ น ที่ ต้ น แ บ บ
เ พื่ อ เ ส น อ จั ง ห วั ด
9
ตำ บ ล ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
นวัตกรรมเพื่ อการเกษตรอั จฉริยะ
ซึ้ ง
การพัฒนาผลิ ตภาพทางการเกษตร
การพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ในท้ องถิ่ นเพื่ อเพิ่ม
มู ลค่ าสู่มาตรฐานสากลอย่างครบวงจร
ส่งเสริมการสื่ อสารทางการตลาด
ด้วยแนวคิ ดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์
สร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุ รกิ จ
การท่ องเที่ ยววิถี ใหม่
องค์ ความรู้ กระบวนการแก้ ปัญหา
ก า ร ทำ ก า ร เ ก ษ ต ร ป ฐ พีวิท ย า เ ก ษ ต ร ป ล อ ด ภั ย
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต G A P
ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ก า ร จ ด แ จ้ง เ ค รื่ อ ง สำ อ า ง ม า ต ร ฐ า น
การจด อย.
ก า ร จัด ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ บ บ นิ ว น อ ม อ ล ก า ร ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ ก า ร ใช้ง า น
โ ซ เ ชีย ล มีเ ดี ย ก า ร ทำ ค อ น เ ท น ต์ ก า ร ทำ สื่ อ ป ร ะช า สัม พัน ธ์ส่ง เ ส ริม
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้า ง ส ร ร ค์
ซิง ค์ น า โ น เ พื่ อ ก า ร เ ก ษ ต ร น วัต ก ร ร ม ก า ร ผ ลิ ต ปุ๋ ย ชุ ม ช น
น วัต ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ วัด ค ว า ม สุก ข อ ง ผ ล ไ ม้
น วั ต ก ร ร ม
เ ท ค โ น โ ล ยี ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้น้ำ ด้ ว ย ร ะ บ บ I O T เ ก ษ ต ร แ ม่น ยำ
เ ท ค โ น โ ล ยีส่ง เ ส ริม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ช่น เ พ จ F A C E B O O K ,
WEBPAGE APPLICATION, INSTAGRAM,
PLATFORM ONLINE
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร ห ลั ก สูต ร ใ ห ม่
ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร เกษตรชีวภาพอั จฉริยะ
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี หลั กสูตรอบรมระยะสั้นมาตรฐานการผลิ ต GAP
หลั กสูตรนวัตกรรมเพื่ อสุขภาพและความงาม 10
หลั กสูตรระยะสั้นการตลาดออนไลน์
หลั กสูตรระยะสั้นการเขียนคอนเทนต์ ในงานส่งเสริมการตลาด
หลั กสูตรระยะสั้นการถ่ ายภาพสินค้ าและบริการลงสื่ อออนไลน์
ตำ บ ล ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า
นวัตกรรมเพื่ อการเกษตรอั จฉริยะ
ตรอกนอง การพัฒนาผลิ ตภาพทางการเกษตร
พัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชน เพื่ อเพิ่มมู ลค่ าทาง
เศรษฐกิ จจากวัสดุเหลื อใช้ทางการเกษตร
กระบวนการแก้ ปัญหา
องค์ ความรู้ ก า ร ทำ ก า ร เ ก ษ ต ร ป ฐ พีวิท ย า เ ก ษ ต ร ป ล อ ด ภั ย
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต G A P
ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก า ร อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
ซิง ค์ น า โ น เ พื่ อ ก า ร เ ก ษ ต ร น วัต ก ร ร ม ก า ร ผ ลิ ต ปุ๋ ย ชุ ม ช น
น วัต ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ วัด ค ว า ม สุก ข อ ง ผ ล ไ ม้
น วั ต ก ร ร ม
ร ะ บ บ ก า ร ใ ห้น้ำ ด้ ว ย ร ะ บ บ I O T เ ก ษ ต ร แ ม่น ยำ
เ ท ค โ น โ ล ยี
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร ห ลั ก สูต ร ใ ห ม่
ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร เกษตรชีวภาพอั จฉริยะ
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี หลั กสูตรอบรมระยะสั้นมาตรฐานการผลิ ต GAP
คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม หลั กสูตร NON DEGREE มาตรฐานวิชาชีพทางการออกแบบ
11
ตำ บ ล การพัฒนาผลิ ตภาพทางการเกษตร
การพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ในท้ องถิ่ นเพื่ อเพิ่ม
เกวียนหั ก มู ลค่ าสู่มาตรฐานสากลอย่างครบวงจร
การพัฒนาเพื่ อยกระดับผลิ ตภั ณฑ์ สมุ นไพร
ท้ องถิ่ นภาคตะวันออกสู่ตลาดสากล
ส่งเสริมการสื่ อสารทางการตลาด
ด้วยแนวคิ ดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์
สร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุ รกิ จ
การท่ องเที่ ยววิถี ใหม่
องค์ ความรู้ กระบวนการแก้ ปัญหา
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต G A P
ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ก า ร จ ด แ จ้ง เ ค รื่ อ ง สำ อ า ง ม า ต ร ฐ า น
การจด อย.
ก า ร แ ป ร รู ป ส มุ น ไ พ ร ก า ร ส กั ด ส า ร จ า ก ส มุ น ไ พ ร ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
ก า ร จัด ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ บ บ นิ ว น อ ม อ ล ก า ร ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ ก า ร ใช้ง า น โ ซ
เ ชีย ล มีเ ดี ย ก า ร ทำ ค อ น เ ท น ต์ ก า ร ทำ สื่ อ ป ร ะช า สัม พัน ธ์ส่ง เ ส ริม
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้า ง ส ร ร ค์
เ ท ค โ น โ ล ยีส่ง เ ส ริม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ช่น เ พ จ F A C E B O O K ,
WEBPAGE APPLICATION, INSTAGRAM,
PLATFORM ONLINE
เ ท ค โ น โ ล ยี
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร ห ลั ก สูต ร ใ ห ม่ 12
ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร เ ก ษ ต ร หลั กสูตรอบรมระยะสั้นมาตรฐานการผลิ ต GAP
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี หลั กสูตรนวัตกรรมเพื่ อสุขภาพและความงาม
คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม หลั กสูตรระยะสั้นการตลาดออนไลน์
ค ณ ะ นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์
ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร หลั กสูตรระยะสั้นการเขียนคอนเทนต์ ในงานส่งเสริมการตลาด
คณะนิติ ศาสตร์ หลั กสูตรระยะสั้นการถ่ ายภาพสินค้ าและบริการลงสื่ อออนไลน์
ตำ บ ล การพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ในท้ องถิ่ นเพื่ อเพิ่ม
มู ลค่ าสู่มาตรฐานสากลอย่างครบวงจร
ห น อ ง บัว ส่งเสริมการสื่ อสารทางการตลาด
ด้วยแนวคิ ดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์
สร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุ รกิ จ
การท่ องเที่ ยววิถี ใหม่
ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อมด้วยนวัตกรรม
นำ ไ ป สู่ เ มื อ ง ส ะ อ า ด
ส่ ง เ ส ริ ม คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ
น วั ต ก ร ร ม
องค์ ความรู้ กระบวนการแก้ ปัญหา
ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ก า ร จ ด แ จ้ง เ ค รื่ อ ง สำ อ า ง
มาตรฐานการจด อย.
ก า ร จัด ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ บ บ นิ ว น อ ม อ ล ก า ร ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ ก า ร ใช้ง า น
โ ซ เ ชีย ล มีเ ดี ย ก า ร ทำ ค อ น เ ท น ต์ ก า ร ทำ สื่ อ ป ร ะช า สัม พัน ธ์ส่ง เ ส ริม
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้า ง ส ร ร ค์
ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ
ก า ร ส่ง เ ส ริม คุณ ภ า พ ชีวิต ผู้สูง อ า ยุ
ก า ร ต ร ว จ วัด อ า ก า ศ ผ่า น เ ค รือ ข่า ย I O T
น วั ต ก ร ร ม
เ ท ค โ น โ ล ยี เ ท ค โ น โ ล ยีส่ง เ ส ริม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ช่น เ พ จ F A C E B O O K ,
WEBPAGE APPLICATION, INSTAGRAM,
PLATFORM ONLINE
A P P L I C A T I O N ก า ร จัด ก า ร ข ย ะ
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร ห ลั ก สูต ร ใ ห ม่
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี หลั กสูตรนวัตกรรมเพื่ อสุขภาพและความงาม
คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม หลั กสูตรระยะสั้นการตลาดออนไลน์
ค ณ ะ นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์
ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จั ด ก า ร หลั กสูตรระยะสั้นการเขียนคอนเทนต์ ในงานส่งเสริมการตลาด
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ หลั กสูตรระยะสั้นการถ่ ายภาพสินค้ าและบริการลงสื่ อออนไลน์
ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์
13
ตำ บ ล ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อมด้วยนวัตกรรม
นำ ไ ป สู่ เ มื อ ง ส ะ อ า ด
ข ลุ ง ส่ ง เ ส ริ ม คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ด้ ว ย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ
น วั ต ก ร ร ม
กระบวนการแก้ ปัญหา
ก า ร คั ด แ ย ก ข ย ะ
ก า ร ส่ง เ ส ริม คุณ ภ า พ ชีวิต ผู้สูง อ า ยุ
องค์ ความรู้
ก า ร ต ร ว จ วัด อ า ก า ศ ผ่า น เ ค รือ ข่า ย I O T
น วั ต ก ร ร ม
A P P L I C A T I O N ก า ร จัด ก า ร ข ย ะ
เ ท ค โ น โ ล ยี
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร
ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์
ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์
14
ตำ บ ล การพัฒนาเพื่ อยกระดับผลิ ตภั ณฑ์ สมุ นไพร
ท้ องถิ่ นภาคตะวันออกสู่ตลาดสากล
จั น ท เ ข ล ม
กระบวนการแก้ ปัญหา
ก า ร แ ป ร รู ป ส มุ น ไ พ ร แ ล ะม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
องค์ ความรู้
ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส มุ น ไ พ ร จ า ก ภูมิปั ญ ญ า ช อ ง
น วั ต ก ร ร ม
เ ท ค โ น โ ล ยีก า ร ส กั ด ส า ร จ า ก ส มุ น ไ พ ร
ป รับ ป รุ ง ห ลั ก สูต ร ห ลั ก สูต ร ใ ห ม่
ค ณ ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี หลั กสูตรนวัตกรรมเพื่ อสุขภาพและความงาม
คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม
ค ณ ะ ม นุ ษ ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ 15
ข้ อ เ ส น อ แ น ะ
เ ชิ ง น โ ย บ า ย
มาตรการ COVID-19
ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด
ข้อมู ลเพิ่มเติ ม
16
ส ถ า น ที่ เ สี่ ย ง ส ถ า น ที่ เ สี่ ย ง
ตลาด โ ร ง เ รี ย น
กำ ห น ด ใ ห้ มี ทุก ค น ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า
ท า ง เ ข้ า อ อ ก ต้ องสวมหน้ากาก
ที่ ชัดเจน อ น า มั ย ต ล อ ด เ ว ล า
แ ล ะ มีจุ ด คั ด ก ร อ ง รัก ษ า ร ะ ย ะ ห่า ง ใ น ก า ร นั่ง เ รีย น
ผู้ซื้ อ แ ล ะ ผู้ข า ย อย่างน้อย 1 – 2 เมตร
ต้ องสวมหน้ากาก ก า ร เ รีย น ใ น ห้อ ง เ รีย น
อ น า มั ย ต ล อ ด เ ว ล า
ต้ องได้ รับอนุญาต
ค ว ร เ ว้น ร ะ ย ะ ห่า ง 1 เ ม ต ร
จากคณะกรรมการ
ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด ค ว บ คุม โ ร ค ป ร ะ จำ จัง ห วัด
พื้ นที่ ตลาด
อ ย่า ง ส ม่ำ เ ส ม อ
เ ลี่ ย ง ก า ร สัม ผัส เ งิ น ส ด ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด
แ ล ะ ใ ช้ก า ร ชำ ร ะ เ งิ น พื้ นที่ บริเวณโรงเรียน
ผ่ า น ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ อ ย่า ง ส ม่ำ เ ส ม อ
บุ ค ล า ก ร ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ค ว ร ไ ด้ รับ ก า ร
วั ค ซี นผู้ขายควรได้รับ ฉี ด วัค ซีน ต า ม ม า ต ร ก า ร ข อ ง รัฐ บ า ล
แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ค ว า ม เ สี่ย ง ต น เ อ ง จัด ใ ห้มีก า ร ส ลั บ เ ว ล า เ รีย น
ด้ ว ย ชุ ด A T K สัป ด า ห์ล ะ 1 ค รั้ง ห รือ ผ ส ม ผ ส า น กั บ ก า ร เ รีย น อ อ น ไ ล น์
จัด ใ ห้มีสื่ อ ป ร ะ ช า สัม พัน ธ์ใ ห้ผู้ซื้ อ แ ล ะ ผู้ข า ย
ป ฏิ บัติ ต า ม ม า ต ร ก า ร
D-M-H-T-T-A
17
ส ถ า น ที่ เ สี่ ย ง ส ถ า น ที่ เ สี่ ย ง
ศาสนสถาน ที่ พั ก อ า ศั ย
กำ ห น ด ใ ห้ มี ดูแ ล สุข ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ผู้พัก อ า ศั ย
จุ ดคั ดกรอง ล้ างมือบ่อยๆ ด้ วยสบู่
หรือ แอลกอฮอล์
ใ น ก า ร เ ข้า ร่ว ม พิธีก ร ร ม ต่ า ง ๆ
ใ ส่ห น้ า ก า ก อ น า มัย เ มื่ อ มีก า ร พู ด คุย
ก า ร รับ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ร่ว ม กั น ค ว ร แ ย ก ภ า ช น ะ
ศ า ส นิ ก ช น งดใช้พื้ นที่ ส่วนกลาง
ภายในที่ พัก
ต้ องสวมหน้ากาก
อ น า มั ย ต ล อ ด เ ว ล า เ พื่ อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ร่ว ม กั น
ค ว ร เ ว้น ร ะ ย ะ ห่า ง 1 เ ม ต ร ฉี ดวัคซีน
ต า ม ม า ต ร ก า ร ข อ ง รัฐ บ า ล
ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด ยึด ห ลั ก ต า ม แ น ว ป ฏิ บัติ
พื้ นที่ ศาสนสถาน
D-M-H-T-T-A
อ ย่า ง ส ม่ำ เ ส ม อ
จัด เ ต รีย ม ชุ ด
ศ า ส นิ ก ช น ค ว ร ไ ด้ รับ ก า ร
ATK
ฉี ดวัคซีน
ต า ม ม า ต ร ก า ร ข อ ง รัฐ บ า ล ป ร ะ จำ บ้า น
ศึ ก ษ า วิธีก า ร ต ร ว จ ที่ ถูก ต้ อ ง
ค ว ร จัด ภ า ช น ะ สำ ห รับ บ ร ร จุ ภั ต ต า ห า ร
1 ชุ ดต่ อ 1 รูป
ก ร ณี ศ า ส น า พุ ท ธ พ ร ะ ส ง ฆ์ค ว ร กำ ห น ด
ร ะ ย ะ ห่า ง ใ น ก า ร เ ดิ น บิณ ฑ บ า ต
อ ย่า ง น้ อ ย 2 เ ม ต ร
18
ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า
ผ ล ก ร ะ ท บ เ ชิ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย จั ง ห วั ด
ของโครงการ
ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล
แ บ บ บู ร ณ า ก า ร U 2 T
ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ S O C I A L R E T U R N O N
INVESTMENT(SROI)
19
SROI IMPACT OUTCOME
จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี
สิ่งแวดล้อม
0.1
สัดส่วนของผลลั พธ์
สุขภาวะ ทางเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่งแวดล้ อม
23.2 ที่ เกิ ดขึ้นจากโคงการ U2T ทั้ งหมด
โดยจำแนกตามมิติ ของผลลั พธ์ 5 ด้ านดั งนี้
เศรษฐกิจ - เศรษฐกิ จ/การเงิ น 152.4 ล้ านบาท
51.1
การมีส่วนร่วม
10.9 - ศั กยภาพ 43.6 ล้ านบาท
- การมีส่วนร่วม/ภาคี เครือข่าย 32.6 ล้ านบาท
ศักยภาพ - สุขภาวะ(กาย-ใจ) 69.3 ล้ านบาท
14.6 - สิ่งแวดล้ อม 0.4 ล้ านบาท
มู ล ค่ า ร ว ม
2 9 8 . 3 ล้านบาท
SROI
8 . 8 7 Xหากลงทุน 1 บาทจะได้รับผลตอบแทนจาการลงทุนครั้งนี้ 8.87 บาท
สัดส่วนของผลลั พธ์ทางเศรษฐกิ จ
สังคมและสิ่งแวดล้ อมที่ เกิ ดขึ้น
ระหว่างกลุ่ มผู้ได้ รับประโยชน์กั บกลุ่ มผู้ดำเนินโครงการ
60 5 6 . 9 ผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ดำเนินโครงการหลัก
40 40.5 39.7 25.7 0.2 0
12.7 8.0
20 1 1 . 8 4.5 สิ่งแวดล้อม
ศักยภาพ สุขภาวะ
0 การมีส่วนร่วม
เศรษฐกิจ
20
21
รายงานผล
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล
THAILAND
COMMUNITY
BIG DATA
ข้อมู ลเพิ่มเติ ม
22
ข้อมู ลการย้ายถิ่ นจากสถานการณ์โควิด-19
THAILAND ย้ายกลั บมาจาก 32 %
COMMUNITY จังหวัด ชลบุ รีมากที่ สุด
ส่ว น ใ ห ญ่ สำ เ ร็จ
BIG DATA 2 1 คน ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ มัธ ย ม
CHANTHABURI กรุงเทพฯอั นดับ 2 51.7 %
20 คน
ย้า ย ม า พ ร้อ ม ค ร อ บ ค รัว
แหล่ งท่ องเที่ ยว มีแหล่ งท่ องเที่ ยว ส่ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
ในจังหวัดจันทบุ รี
3 6 7แหล่ง เชิงประวัติ ศาสตร์
แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม
ร อ ง ล ง ม า คื อ แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิง ธ ร ร ม ช า ติ
ที่ พัก มีสถานที่ พัก ส่ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น ที่ พัก
โรงแรม
4 2 9แห่ง วิลล่ า รีสอร์ท บังกะโล
ที่ ติ ดชายทะเล
ร า ค า ถู ก ห มู ช ะ ม ว งเมนูที่
เ ฉ ลี่ ย ต่ำ ก ว่า ห้ ามพลาด
ก๋ วยเตี๋ ยวหมู เลี ยง
100
ร้ า น อ า ห า ร บาท เส้นจันท์ ผัดปู
อาหารทะเลสด ๆ
1 , 1 9 3 ร้าน
การเกษตร สั ต ว์ ใ น ท้ อ ง ถิ่ นภูมิปัญญา
ท้ องถิ่ น ง า น หัต ถ ก ร ร ม
ป ลูก พืช ส่ว น ใ ห ญ่
ร อ ง ม า คื อ ก า ร ป ร ะ ม ง ส่ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น สัต ว์น้ำ เสื่ อจันทบู ร
ที่ เ ลี้ ย ง ไ ว้เ พื่ อ จำ ห น่ า ย
นิ ย ม ป ลูก ทุเ รีย น 23
แหล่ งน้ำ
ส่ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น ค ล อ ง
ร อ ง ล ง ม า เ ป็ น อ่ า ง เ ก็ บ น้ำ
และฝาย
เ รื่ อ ง เ ล่ า ค ว า ม สำ เ ร็ จ
SUCCESS STORY
ข อ ง จั ง ห วั ด
ที่ ใ ช้ เ ป็ น ต้ น แ บ บ
ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น
24
ตำ บ ล ห น อ ง บั ว ดูเ รื่ อ ง ร า ว
สำ นั ก บ ริก า ร วิช า ก า ร Success Story Telling
ม ห า วิท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ รำ ไ พ พ ร ร ณี
บอกเล่าเส้นทางสู่ความสำเร็จ
กิจกรรมที่ยกระดับ ตำบลหนองบัว
การท่องเที่ยวและบริการทางการท่องเที่ยว
กิจกรรมในส่วนต้นน้ำ
กิจกรรมเก็บข้อมูลท่องเที่ยวตำบลหนองบัว
เพื่อทำการศึกษาศักยภาพของตำบล
ในการวางแผนในการพัฒนา
กิจกรรมในส่วนกลางน้ำ
กิจกรรม platform ท่องเที่ยวแบบ new
normal คู่มือการท่องเที่ยว สื่อ
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว พัฒนาการ
บริการทางการท่องเที่ยว
กิจกรรมในส่วนปลายน้ำ
กิจกรรมมัคคุเทศก์น้อยในการดำเนินการ
สร้างอาชีพและรายได้ในเรื่อง กิจกรรมท่อง
เที่ยวภูมิปัญญาท้องถิ่น
วิธีการสู่เป้าหมาย
พัฒนาท่องเที่ยวเชิงนิเวศ,พัฒนาแนวเส้นทาง
การท่องเที่ยว,ปลูกฝังเยาวชนกับแนวทาง
การแนะนำการท่องเที่ยว
เป้าหมายของความสำเร็จ
กิจกรรมพัฒนานวัตกรรมการท่องเที่ยว
ลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่ม
ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รวมถึง
คุณภาพชีวิตของชาวชุมชนหนองบัว ให้เกิด
การพัฒนาที่ยั่งยืน
25
ตำบลเกวียนหั ก
ค ณ ะ เ ท ค โ น โ ล ยีอุ ต ส า ห ก ร ร ม
ม ห า วิท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ รำ ไ พ พ ร ร ณี
กิจกรรมที่ยกระดับ ดูเ รื่ อ ง ร า ว
พัฒนาการท่องเที่ยว
Success Story Telling
กิจกรรมในส่วนต้นน้ำ
ลงพื้นที่หาแหล่งท่องเที่ยวในวิถีชุมชน บอกเล่าเส้นทางสู่ความสำเร็จ
ตำบลเกวียนหัก
กิจกรรมในส่วนกลางน้ำ
จัดทำเล่มโฟโต้บุ๊คสถานที่ท่องเที่ยว,ทำเพจ
facebook โปรโมทท่องเที่ยว, จัดทำคลิป
โปรโมทส่งเสริมการท่องเที่ยว
กิจกรรมในส่วนปลายน้ำ
โพสกิจกรรมใน facebook เพื่อเพิ่มจำนวน
ผู้ติดตาม จัดทำเล่มโพโต้บุ๊คไปวางสถานที่
ต่าง ๆ และมีให้โหลดเป็น e-book
วิธีการสู่เป้าหมาย
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้เกวียนหัก
เป็นที่รู้จัก อบรมให้เยาวชนในชุมชนสามารถ
เป็นมัคคุเทศก์ได้
เป้าหมายของความสำเร็จ
กิจกรรมพัฒนาขายแพ็คเกจท่องเที่ยว
เป็น one day trip หรือขายแพ็คเกจ 3 วัน
2 คืนหรือ 2 วัน 1 คืนก็ได้
26
ตำ บ ล จั น ท เ ข ล ม ดูเ รื่ อ ง ร า ว
สำ นั ก ศิ ล ป วัฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ พัฒ น า ชุ ม ช น Success Story Telling
ม ห า วิท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ รำ ไ พ พ ร ร ณี
บอกเล่าเส้นทางสู่ความสำเร็จ
กิจกรรมที่ยกระดับ ตำบลจันทเขลม
กิจกรรมพัฒนากลุ่มอาชีพส่งเสริมทักษะ
การพึ่งตนเอง
กิจกรรมในส่วนต้นน้ำ
ศึกษาวิเคราะห์ถอดบทเรียนความสำเร็จ
ความล้มเหลวของกลุ่มอาชีพในพื้นที่
จันทเขลมทุกคน
กิจกรรมในส่วนกลางน้ำ
เสริมพลังความรู้โดยเชื่อมโยงกับ
ภูมิปัญญาชุมชนและศักยภาพชุมชน
กิจกรรมในส่วนปลายน้ำ
จัดตั้งกลุ่มอาชีพขึ้นมาใหม่โดยดึงกลุ่มคน
เปราะบางยากจน ผู้มาสร้างกลุ่มและฝึกฝน
ความรู้ทักษะให้เกิดความชำนาญ
วิธีการสู่เป้าหมาย
ส่งเสริมผลักดันให้ศักยภาพชุมชน
เพื่อการรวมจัดตั้งกลุ่มอาชีพที่เกิดจาชุมชน
โดยชุมชนเพื่อชุมชน
เป้าหมายของความสำเร็จ
กลุ่มอาชีพใหม่ของกลุ่มคนยากจนในพื้นที่
มารวมตัวกันภายใต้ชื่อพลังชอง
27
ตำบลตะกาดเง้ า ดูเ รื่ อ ง ร า ว
ม ห า วิท ย า ลั ย บู ร พ า Success Story Telling
วิท ย า เ ข ต จัน ท บุ รี
บอกเล่าเส้นทางสู่ความสำเร็จ
กิจกรรมที่ยกระดับ ตำบลตะกาดเง้า
การสร้างระบบการเพาะเลี้ยงเห็ดมิลล์กี้
เชิงพาณิชย์อย่างง่าย
กิจกรรมในส่วนต้นน้ำ
การสำรวจความต้องการอาชีพเสริม
ในกลุ่มชาวบ้านอาชีพรับจ้าง รายได้น้อยถึง
ปานกลาง
กิจกรรมในส่วนกลางน้ำ
การอบรมเชิงปฏิบัติการการเพาะเห็ดมิลล์กี้
อย่างง่าย
กิจกรรมในส่วนปลายน้ำ
การสร้างพื้นที่ต้นแบบการเพาะเห็ดมิลล์กี้
เพื่อให้ผู้สนใจเข้ามาเรียนรู้ได้ตัวเองผ่านศูนย์
การเรียนรู้
วิธีการสู่เป้าหมาย
การสร้างพื้นที่ต้นแบบผ่านศูนย์การเรียนรู้
โดยจะมีแหล่งให้ความรู้ได้แก่ นวัตกรชุมชน
สื่อวีดีโอและโปสเตอร์
เป้าหมายของความสำเร็จ
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ ลดรายจ่าย
และเพิ่มรายได้ หรือเกิดอาชีพหลักหรืออาชีพ
เสริมให้กับชาวบ้านในชุมชน
28
ข้ อ เ ส น อ จั ง ห วั ด
จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์
GAP ANALYSIS
เ พื่ อ ต่ อ ย อ ด ง า น
ก า ร พั ฒ น า จั ง ห วั ด
ข้อมู ลเพิ่มเติ ม
29
A ข้ อ มู ล เ ชิ ง พื้ น ที่
A1 พื้ นที่ ท่ องเที่ ยว เชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชิงประวัติ ศาสตร์และวัฒนธรรม
สถานะที่ ต้ องการ
แพ็กเกจการท่ องเที่ ยว จุ ดเช็คอิ นของแต่ ละหมู่ที่ สำคั ญ เส้นทางการท่ องเที่ ยว
แบบครบวงจร เที่ ยวสวนผลไม้ กิ จกรรมอนุรักษ์ และการท่ องเที่ ยวเชิงนิเวศ
ที่ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้ อมชุ มชน เพิ่มจำนวนนักท่ องเที่ ยว แปลงข้อมู ลเชิงพื้ นที่ ให้เป็นดิจิทั ล
ทั้งหมดและจัดทำ VIRTUAL CITY เพิ่มพื้ นที่ ป่าในชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
มีการประชาสัมพันธ์เส้นทางการท่ องเที่ ยว มีแผนที่ เส้นทางการท่ องเที่ ยว
มีการทำ MOU เรื่ องมัคคุเทศก์ น้อย ไม่มีจุ ดเช็คอิ น มีสถานที่ ท่ องเที่ ยวทางทะเล
ที่ สวยงาม มีโบราณสถานที่ ทรงคุณค่ าและเป็นเอกลั กษณ์สำคั ญ อาหารทะเลและอาหาร
พื้ นถิ่ นมีความโดดเด่นที่ มีเอกลั กษณ์
GAP
ขาดช่องทางการขายแพ็คเกจ ขาดจุ ดเช็คอิ นตามจุ ดต่ างๆ ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ขาดการประชาสัมพันธ์และการเข้าถึ งทรัพยากรชุ มชนของนักท่ องเที่ ยว
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย H
โครงการเปลี่ ยนเที่ ยวทิ พย์ให้เป็นทริปที่ น่าเที่ ยว
A2 พัฒนาพื้ นที่ ทางสังคม เพื่ อการเรียนรู้
สถานะที่ ต้ องการ
ชุ มชนมีศู นย์การเรียนรู้ที่ สามารถใช้เป็นพื้ นที่ ที่ คนในตำบลได้มาแลกเปลี่ ยนเรียนรู้ระหว่าง
กั นทั้งในด้านพัฒนาทั กษะอาชีพ วัฒนธรรม ภูมิปั ญญา นวัตกรรม และเทคโนโลยี
เพื่ อพัฒนาคุณภาพชีวิต สู่การพึ่ งพาตนเองของชุ มชนอย่างยั่งยืน โดยอาศั ยแนวคิ ด
เศรษฐกิ จพอเพียงและเกษตรอิ นทรีย์
สถานะปัจจุ บัน
บางตำบลมีพื้ นที่ ที่ ได้รับการพัฒนาเป็นพื้ นที่ ทางสังคมแต่ ยังไม่มีการจัดตั้งเป็น
ศู นย์การเรียนรู้ที่ เป็นระบบอย่างชัดเจน
GAP
ขาดศู นย์การเรียนรู้ประจำตำบลและขาดการพัฒนาระบบ ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
การบริหารจัดการศู นย์การเรียนรู้
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย M
โ ค ร ง ก า ร 1 ตำ บ ล 1 ศู น ย์ก า ร เ รีย น รู้ภูมิปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น 30
A ข้ อ มู ล เ ชิ ง พื้ น ที่
A3 พื้ นที่ ปลูกพืชสมุ นไพร
สถานะที่ ต้ องการ ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
สร้างเครือข่ายผู้ปลูกพืชสมุ นไพร และสร้างแหล่ งผลิ ตที่ มีคุณภาพ
สถานะปัจจุ บัน M
กลุ่ มผู้ปลูกสมุ นไพรยังไม่ชัดเจน พื้ นที่ ปลูกกระจัดกระจาย
GAP
ขาดข้อมู ลในพื้ นที่ ในการปลูกสมุ นไพร - ขาดการรวบรวมข้อมู ลหมอชาวบ้าน
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการจัดทำฐานข้อมู ลสมุ นไพรท้ องถิ่ น
โครงการอนุรักษ์ ภูมิปั ญญา การรักษาโรคด้วยสมุ นไพรท้ องถิ่ น
A4 พื้ นที่ ทางการเกษตร
สถานะที่ ต้ องการ
ปลูกพืชสวนครัวบริเวณรั้วใกล้ บ้าน ปลอดสารพิษ เพื่ อลดรายจ่ายหรือเพิ่มรายได้,ผลิ ตผล
ทางการเกษตรปลอดภั ยจากสารเคมีอั นตราย,มีการจัดการน้ำอย่างเพียงพอทางการ
เกษตร
สถานะปัจจุ บัน
ส่วนใหญ่ทำการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว เช่น ทำสวนผลไม้ ทุเรียน เงาะ มังคุด พริกไทย
ยางพารา ลำไย และใช้สารเคมีสังเคราะห์ในกระบวนการปลูกและเก็ บเกี่ ยว การขาดแคลน
น้ำในช่วงหน้าแล้ งในการทำการเกษตร
GAP
ให้ประชาชนตระหนักถึ งความสำคั ญและประโยชน์ในการปลูกผักและผลไม้ ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ป ล อ ด ส า ร พิ ษ , ข า ด ก า ร จั ด ก า ร น้ำ สำ ห รั บ ก า ร เ ก ษ ต ร
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย L
โครงการชุ มชนต้ นแบบผักสวนครัวรั้วกิ นได้ โครงการผลไม้ปลอดภั ยใส่ใจ
ผู้บริโภค โครงการบริหารจัดการน้ำทางการเกษตร
31
B ข้ อ มู ล เ ชิ ง ธุ ร กิ จ
B1 การพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชน อาหาร สมุ นไพร สินค้ าอุ ปโภค
สถานะที่ ต้ องการ
ผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนที่ ได้รับมาตรฐานและมีมู ลค่ าที่ สูงขึ้ นด้วยแนวคิ ดนวัตกรรม
(AGRICULTURAL PRODUCT INNOVATION) เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย
การนำวัตถุดิบในชุ มชนมาสู่การสร้างสินค้ าชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
มีผลิ ตภั ณฑ์ แปรรูปจากผลไม้ที่ ยังไม่ได้รับการพัฒนาและยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
ผลิ ตภั ณฑ์
GAP
การพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ แปรรูปผลไม้ท้ องถิ่ นสู่มาตรฐาน อย. ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
มียอดขายสินค้ าเพิ่มขึ้ น (การตลาด, การขาย)
H
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนโดยใช้นวัตกรรม
ทางการผลิ ตและการออกแบบ
B2 การพัฒนาภาพลั กษณ์ผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชน
สถานะที่ ต้ องการ
อั ตลั กษณ์ผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนได้รับการยกระดับทั้งในด้านภาพลั กษณ์
และมาตรฐานการบรรจุ สินค้ าชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
ผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนส่วนใหญ่ยังมีภาพลั กษณ์ที่ ไม่ชวนซื้ อ ไม่โดนใจผู้บริโภคและบรรจุ ภั ณฑ์
ไ ม่ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น
GAP ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
การสร้างอั ตลั กษณ์ของผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชน และความเข้าใจมาตรฐาน
ของบรรจุ ภั ณฑ์ ในการยืดอายุ ผลิ ตภั ณฑ์ M
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการยกระดับภาพลั กษณ์ผลิ ตภั ณฑ์ LOCAL สู่ เลอค่ า
32
B ข้ อ มู ล เ ชิ ง ธุ ร กิ จ
B3 การยกระดั บวิสาหกิ จชุ มชน
สถานะที่ ต้ องการ
จัดให้มีระบบการบริหารจัดการกลุ่ มให้เกิ ดการร่วมกลุ่ มกั นอย่างเข้มแข็ง,จดทะเบียน
จัดตั้ง,พัฒนาระบบบริหารจัดการวิสาหกิ จชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
บางตำบลมีการรวมกลุ่ มแต่ ยังไม่มีตั้งจัดวิสาหกิ จชุ มชนและบางตำบลมีการจัดตั้ง
แต่ ยังไม่มีระบบบริหารจัดการวิสาหกิ จชุ มชน
GAP ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
การส่งเสริมการสร้างความร่วมมือให้กั บคนในชุ มชนมีส่วนร่วม
เพื่ อจัดตั้งกลุ่ มวิสาหกิ จชุ มชนในการสร้างรายได้ M
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการยกระดับเศรษฐกิ จชุ มฐานรากด้วยวิสาหกิ จชุ มชน
33
C ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ร ะ ช า ก ร
C1 -ผู้นำชุ มชน ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
สถานะที่ ต้ องการ H
ผู้นำชุ มชนต้ นแบบมีการแบ่งบันความรู้การบริหารจัดการชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
ผู้นำชุ มชนยังขาดเครือข่ายในการบริหารจัดการชุ มชน
GAP
ขาดเครือข่ายในการแบ่งปั นประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุ มชน
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของผู้นำชุ มชน
C2 ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้ องถิ่ น
สถานะที่ ต้ องการ
ศู นย์การเรียนรู้ชุ มชน
สถานะปัจจุ บัน
แต่ ละตำบลมีปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปั ญญาท้ องถิ่ นแต่ ยังขาดระบบในการรวบรวมข้อมู ล
และจัดตั้งศู นย์จัดการเรียนรู้ชุ มชน ขาดการดำเนินงานที่ ชัดเจน
GAP ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ขาดศู นย์การเรียนรู้ ขาดการบริหารจัดการศู นย์การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
M
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการ 1 ตำบล 1 ศู นย์การเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้ องถิ่ น
34
C ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ร ะ ช า ก ร
C3 พัฒนาแรงงานฝีมือในชุ มชน
สถานะที่ ต้ องการ
แรงงานฝี มือดี
สถานะปัจจุ บัน ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ขาดแรงงานฝี มือ,มีการย้ายถิ่ นจากสถานะการณ์โควิด 19
H
GAP
แรงงานยังขาดทั กษะฝี มือแรงงานในด้านต่ าง ๆ
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการส่งเสริมศั กยภาพฝี มือแรงงานสู่การเป็นแรงงานมืออาชีพ
C4 สุขภาพของคนในชุ มชน
สถานะที่ ต้ องการ
ชุ มชนมีการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถานะปัจจุ บัน ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพอาศั ยระบบ อสม.
H
GAP
ชุ มชนยังขาดเทคโนโลยีในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้ อมและสุขภาพ
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมสุขภาวะชุ มชน
35
C ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ร ะ ช า ก ร
C5 ชาวประมงในพื้ นที่ /ชาวบ้าน/ ชาวสวน ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
สถานะที่ ต้ องการ H
ให้มีอาชีพเสริมแก่ ชาวประมงระหว่างที่ ออกเรือไม่ได้
ชาวสวนมีรายได้เพิ่ม/ อาชีพเสริม ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
สถานะปัจจุ บัน M
ชาวประมงประสบปั ญหาสถานการณ์โควิดทำให้ไม่สามารถออกเรือได้
ส่งผลให้เกิ ดการว่างงาน ชาวสวนมีเวลาว่างมากในช่วงรอผลผลิ ต 36
GAP
ขาดทั กษะอาชีพเสริมที่ นอกเหนือจากการทำประมง และการทำสวน
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการพัฒนาทั กษะอาชีพเพื่ อเพิ่มช่องทางการหารายได้
C6 เกษตรกร
สถานะที่ ต้ องการ
มีการนำหลั กเกษตรทฤษฎี ใหม่มาใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานะปัจจุ บัน
มีเพียงเกษตรกรบางรายที่ มีการนำหลั กเกษตรทฤษฎี ใหม่มาใช้
GAP
การส่งเสริมการนำหลั กเกษตรทฤษฎี ใหม่มาใช้
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการให้ความรู้หลั กเกษตรทฤษฎี ใหม่
C ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ร ะ ช า ก ร
C7 ผู้ประกอบการ
สถานะที่ ต้ องการ
ผู้ประกอบการที่ มีศั กยภาพในการดำเนินธุ รกิ จก้ าวทั นยุ คดิจิทั ล
สถานะปัจจุ บัน
ผู้ประกอบการหรือคนในชุ มชนมีความรู้และทั กษะในการผลิ ตและจัดจำหน่ายสินค้ าให้ตรง
กั บความต้ องการของตลาด
GAP ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ผู้ประกอบการยังขาดทั กษะด้านการตลาด และยังขาดเครือข่ายเชื่ อมโยง
ช่ อ ง ท า ง ก า ร จั ด จำ ห น่ า ย M
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการพัฒนาศั กยภาพผู้ประกอบการก้ าวสู่ SMART SME
C8 ผู้ประกอบการร้านอาหารและวิสาหกิ จชุ มชน
สถานะที่ ต้ องการ
ผู้ประกอบการที่ เข้าร่วมกิ จกรรมได้รับการรับรองมาตรฐาน SHA และ/หรือ SHA PLUS
เพื่ อสร้างความมั่นใจด้านสุขอนามัยแก่ นักท่ องเที่ ยว
สถานะปัจจุ บัน
ผู้ประกอบการบางส่วนที่ เข้าร่วมโครงการได้รับการรับรองมาตรฐาน SHA
GAP ร ะ ดั บ ค ว า ม สำ คั ญ
ผู้ประกอบการบางส่วนยังติ ดปั ญหาไม่ได้รับการรับรอง
M
วิธีการที่ นำไปสู่เป้าหมาย
โครงการพัฒนาศั กยภาพผู้ประกอบการด้านมาตรฐาน SHA
37
แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า จั ง ห วั ด
จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์
ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น
โครงการ U2T
38
จ า ก แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี
พ.ศ. 2566 – 2570
ได้แบ่งประเด็นการพัฒนาจังหวัดออกเป็น 5 ประเด็นคือ
ประเด็นพัฒนาที่ 1 ประเด็นพัฒนาที่ 2
ย ก ร ะ ดั บ ศั ก ย ภ า พ ก า ร ผ ลิ ต แ ป ร รู ป ยกระดับขีดความสามารถ
แ ล ะ เ ป็ น ศู น ย์ ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ก ร ะ จ า ย อุ ตสาหกรรมอัญมณีและ
สิ น ค้ า เ ก ษ ต ร ที่ มี มู ล ค่ า สู ง เ ป็ น มิ ต ร เครื่องประดับ รวมทั้งผลิตภัณฑ์
ต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน ให้มีมูลค่าสูง ตามอัตลักษณ์
ของจังหวัดจันทบุรี
ประเด็นพัฒนาที่ 3 ประเด็นพัฒนาที่ 4
ยกระดับพื้ นที่เศรษฐกิจชายแดน ย ก ร ะ ดั บ ศั ก ย ภ า พ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ
ให้ได้มาตรฐาน มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ที่เน้นคุณค่า
และความปลอดภัยสูง อัตลักษณ์และความยั่งยืน
ประเด็ นพัฒนาที่ 5
พัฒนาสภาพแวดล้ อมเมืองและพื้ นที่
ช น บ ท ใ ห้ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม สำ ห รั บ
อยู่อาศั ยและพักผ่อนควบคู่
กั บการยกระดับคุณภาพชีวิต
ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ทุ ก ช่ ว ง วั ย
39
อว.ส่วนหน้า จังหวัดจันทบุ รีมีแนวทางการพัฒนา
จังหวัด ซึ่งสอดคล้ องกั บประเด็ นการพัฒนาจังหวัด
3 ประเด็ น
จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ G A P A N A L Y S I S จ า ก ข้ อ มู ล
PBM (PROJECT BASE MANAGEMENT)
TCD (THAILAND COMMUNITY BIG DATA) และ
SROI (SOCIAL RETURN ON INVESTMENT)
ประเด็นที่ ย ก ร ะ ดั บ ศั ก ย ภ า พ ก า ร ผ ลิ ต แ ป ร รู ป แ ล ะ เ ป็ น ศู น ย์ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ก ร ะ จ า ย สิน ค้ า
1 เกษตรที่ มีมู ลค่ าสูงและเป็นมิตรต่ อสิ่งแวดล้อม
โ ค ร ง ก า ร พัฒ น า จัง ห วัด
1. โครงการส่งเสริมศั กยภาพฝี มือแรงงานสู่การเป็นแรงงานมืออาชีพ
2. โครงการพัฒนาทั กษะอาชีพเพื่ อเพิ่มช่องทางการหารายได้
3. โครงการจัดทำฐานข้อมู ลสมุ นไพรท้ องถิ่ น
4. โครงการผลไม้ปลอดภั ยใส่ใจผู้บริโภค
5. โครงการบริหารจัดการน้ำทางการเกษตร
6. โครงการอนุรักษ์ ภูมิปั ญญาการรักษาโรคด้วยสมุ นไพรท้ องถิ่ น
โ ค ร ง ก า ร วิจัย
1. โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่ อการเกษตรอั จฉริยะ
2. โครงการพัฒนาผลิ ตภาพทางการเกษตร
3. โครงการวิจัยและพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนเพื่ อเพิ่มมู ลค่ าทางเศรษฐกิ จ
จากวัสดุเหลื อใช้ทางการเกษตร
4. โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่ อยกระดับผลิ ตภั ณฑ์ สมุ นไพรจากภูมิปั ญญา
ท้ องถิ่ นภาคตะวันออกสู่ตลาดสากล
40
ป ร ะ เ ด็ น ที่ ยกระดั บศั กยภาพการท่ องเที่ ยวและผลิ ตภั ณฑ์ ท้ องถิ่ น ที่ เน้นคุณค่ า
อั ตลั กษณ์และความยั่งยืน
4
โ ค ร ง ก า ร พัฒ น า จัง ห วัด
1. โครงการเปลี่ ยนเที่ ยวทิ พย์ให้เป็นทริปที่ น่าเที่ ยว
2. โครงการพัฒนายกระดับมาตรฐานผลิ ตภั ณฑ์ ชุ มชนโดยใช้นวัตกรรม
ทางการผลิ ตและการออกแบบ
3. โครงการยกระดับภาพลั กษณ์ผลิ ตภั ณฑ์ LOCAL สู่ เลอค่ า
4. โครงการยกระดับเศรษฐกิ จชุ มฐานรากด้วยวิสาหกิ จชุ มชน
5. โครงการพัฒนาศั กยภาพผู้ประกอบการก้ าวสู่ SMART SME
6. โครงการพัฒนาศั กยภาพผู้ประกอบการด้านมาตรฐาน SHA
โ ค ร ง ก า ร วิจัย
1. โครงการพัฒนาผลิ ตภั ณฑ์ ในท้ องถิ่ นเพื่ อเพิ่มมู ลค่ าสู่มาตรฐานสากล
อ ย่ า ง ค ร บ ว ง จ ร
2. โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่ อยกระดับผลิ ตภั ณฑ์
3. โครงการส่งเสริมการสื่ อสารทางการตลาดด้วยแนวคิ ดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์
4. โครงการสร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุ รกิ จการท่ องเที่ ยววิถี ใหม่
ป ร ะ เ ด็ น ที่ พัฒนาสภาพแวดล้ อมเมืองและพื้ นที่ ชนบทให้ มีความเหมาะสมสำหรับ
อยู่อาศั ยและพักผ่อนควบคู่ กั บการยกระดั บคุณภาพชีวิตของประชากร
5 ทุ ก ช่ ว ง วั ย
โ ค ร ง ก า ร พัฒ น า จัง ห วัด
1. โครงการ 1 ตำบล 1 ศู นย์การเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้ องถิ่ น
2. โครงการชุ มชนต้ นแบบผักสวนครัวรั้วกิ นได้
3. โครงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของผู้นำชุ มชน
4. โครงการพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมสุขภาวะชุ มชน
5. โครงการให้ความรู้หลั กเกษตรทฤษฎี ใหม่
โ ค ร ง ก า ร วิจัย
1. โครงการวิจัยเพื่ อส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อมด้วยนวัตกรรม
นำ ไ ป สู่ เ มื อ ง ส ะ อ า ด
2. โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
41
ภาคผนวก
42
UNIVERSITY
SYSTEM
INTEGRATOR
( U S I ) ของแต่ละมหาวิทยาลัย
TAMBON
SYSTEM
INTEGRATOR
( T S I ) ของแต่ละมหาวิทยาลัย