The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารการนำเสนอ งป.รายจ่าย ประจำปี ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library DIPROM CENTER 3, 2022-06-07 04:26:42

งบประมาณฉบับประชาชน 2566 (ฉบับร่าง) พรบ.

เอกสารการนำเสนอ งป.รายจ่าย ประจำปี ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย

Keywords: งป.รายจ่าย

สำนักงบประมำณ
สำนกั นำยกรัฐมนตรี

฿

งบประมาณ ฉบับประชาชน
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ปี 66

คานา

“งบประมาณฉบบั ประชาชน” คือ เอกสารการนาเสนองบประมาณรายจ่ายประจาปี
ในรูปแบบท่ีเข้าใจง่าย เพื่อให้ประชาชน สามารถเข้าถึง และ เข้าใจข้อมูลการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายได้ง่ายขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
ภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการงบประมาณ เพื่อนาไปสู่การเป็นรัฐบาล
ท่ีโปรง่ ใส และมีความนา่ เชื่อถอื

เอกสารงบประมาณฉบับประชาชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบับนี้ ได้นาเสนอ
ขอ้ มลู งบประมาณตามร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
โดยมีการนาเสนอข้อมูลภาวะเศรษฐกิจ ประมาณการรายรับ แหล่งที่มาของรายรับ นโยบาย
วงเงินและโครงสร้างงบประมาณ การจาแนกงบประมาณตามมิติต่าง ๆ รวมทั้งมีการนาเสนอ
ข ้อ ม ูล ป ร ะ โ ย ช น์ที ่ป ร ะ ช า ช น จ ะ ไ ด ้ร ับ จ า ก ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ ่า ย ป ร ะ จ า ป ีง บ ป ร ะ ม า ณ
พ.ศ. 2566 ในหัวขอ้ “ประชาชนได้อะไรจากงบประมาณปี 2566”

สานักงบประมาณ
พฤษภาคม 2565

สารบญั

คานา หน้า

• นโยบายการจดั ทางบประมาณ ปี 2566 1
• ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2566
• ประมาณการรายรับ ปี 2566 2
• หน้ีสาธารณะและสถานะเงินคงคลัง 3
• โครงสร้างงบประมาณรายจ่าย ปี 2566 4
• งบประมาณรายจ่าย ปี 2566 จาแนกตามยุทธศาสตรช์ าติ 5

ยุทธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ และแผนแม่บท 6
ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
7
• งบประมาณปี 2566 จาแนกตาม 13 หมุดหมาย 8
9
ภายใต้ (รา่ ง) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 10

• งบประมาณรายจา่ ยบรู ณาการ
• 5 ลาดับกระทรวงที่ได้รับงบประมาณสูงสดุ
• งบประมาณปี 2566 จาแนกตามกระทรวง

ประชาชนไดอ้ ะไรจากงบประมาณ ปี 2566 หนา้

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ด้านความมั่นคง

• ขับเคลอื่ นการแก้ไขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (จชต.) 14

• ป้องกนั ปราบราม และบาบัดรกั ษาผูต้ ิดยาเสพติด 16

• จดั การปัญหาแรงงานตา่ งด้าวและการคา้ มนุษย์ 17

• พฒั นาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบตั ิ 18

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั

• พัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์ 20

• สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว 22

• การเกษตรสรา้ งมลู ค่า 23

• เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) 24

• การส่งเสรมิ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทเ่ี ข้มแขง็ แขง่ ขันได้ 25

• พฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต 26

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

• เสรมิ สรา้ งใหค้ นมีสุขภาวะที่ดี 28

• พัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 30

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม

• สร้างหลักประกนั ทางสงั คม 33

• สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา 34

• สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 35

• พัฒนาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 36

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ
ทเี่ ป็นมติ รต่อสิง่ แวดล้อม

• บริหารจัดการทรัพยากรน้า 38

• จัดการมลพษิ และสง่ิ แวดล้อม 39

ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหารจดั การภาครฐั

• ต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ 41

• รฐั บาลดิจทิ ัล 42

• พฒั นาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครฐั 43

• พัฒนากฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม 44

1

นโยบายการจดั ทางบประมาณ ปี 2566

“เพ่ือพฒั นาและฟน้ื ฟปู ระเทศจากผลกระทบของการระบาดโควิด-19 มุ่งเน้น
ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีหลักประกันและความคุ้มครองทางเศรษฐกิจ
และสังคม กลุ่มเปราะบางและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลและช่วยเหลือ
จากสวัสดิการภาครัฐอย่างทั่วถึง เป็นธรรม เศรษฐกิจเติบโตอย่างต่อเนื่อง
กระจายประโยชน์สู่ประชาชนทุกกลุ่ม กลุ่มฐานรากมีความเข้มแข็ง หลุดพ้น
จากปัญหาความยากจนและพึ่งพาตนเองได้” โดยกาหนดแนวทางการจัดสรร
งบประมาณ ดงั น้ี

1. นอ้ มนาแนวทางพระราชดาริ 2. สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ
และ “หลักปรัชญาของ และแผนในระดบั ตา่ งๆ
เศรษฐกิจพอเพยี ง”

3. ใหค้ วามสาคญั กับการแกไ้ ขปัญหา 4. สง่ เสรมิ
ความยากจนแบบพงุ่ เปา้ การกระจายอานาจให้ อปท.
6. ดาเนนิ การตามกฎหมาย
เงินกองทุน เงนิ งบประมาณ ระเบียบ และมติ ครม. ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
PPP

อ่ืนๆ

เงินนอกงบประมาณ
เงินส(ะเชส่นมคเงงินเหรลาอืยไฯดล้ ฯ )

5. จดั ทางบประมาณ
ครอบคลมุ ทุกแหล่งเงิน

2

ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2566

มลู ค่า GDP (ล้านบาท) อัตราการขยายตัวของ GDP (%)
17,905,900
(%) 3.2 – 4.2%
17,102,100 6

4 3.5 – 4.5%

2
0

ปี 2565 ปี 2566 ปี 2565 ปี 2566

Consumption (C) Investment (I)

Government Export – Import
Spending (G) (X-M)

อตั ราเงนิ เฟอ้ GDP Deflator (%)

1.2 – 2.2% 0.5 – 1.5%

ปี 2565 ปี 2566

ที่มา : เอกสารงบประมาณโดยสงั เขป ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566

3

ประมาณการรายรับ ปี 2566

รายได้สทุ ธิ เงนิ กเู้ พือ่ ชดเชยขาดดลุ งบประมาณรายจา่ ยปี 2566

2,490,000 ล้านบาท 695,000 ลา้ นบาท 3,185,000 ล้านบาท

รายได้จากภาษีอากร (สทุ ธิ) รายได้ท่มี ใิ ชภ่ าษีอากร
2,254,312.5 ลา้ นบาท 235,687.5 ล้านบาท

ตวั อย่างรายได้จดั เกบ็ จากภาษีสาคญั เช่น รายไดจ้ ากรฐั พาณิชย์
149,600 ล้านบาท
ภาษมี ูลค่าเพม่ิ
869,100 ล้านบาท (เชน่ รายได้จากสานักงานสลากกนิ แบ่งรัฐบาล
บริษทั ปตท. จากดั (มหาชน))
ภาษีเงนิ ได้นติ บิ ุคคล
674,000 ลา้ นบาท รายไดอ้ น่ื

ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา (เชน่ ค่าปรับ คา่ ใบอนุญาตต่าง ๆ)
356,700 ล้านบาท
69,155.2 ล้านบาท
ภาษโี ภคภัณฑ์อ่นื
การขายส่ิงของและบรกิ าร
(เชน่ ภาษีเบียร์ ภาษรี ถยนต์) 16,932.3 ลา้ นบาท

252,083.9 ลา้ นบาท

ภาษนี า้ มนั และผลติ ภัณฑน์ า้ มัน
211,870 ล้านบาท

ภาษีสินคา้ เขา้ – ออก
104,000 ล้านบาท

หนส้ี าธารณะ 34.
และสถานะเงนิ คงคลงั

หนส้ี าธารณะคงคา้ ง ณ 31 มีนาคม 2565

9,951,962.7 ล้านบาท
60.6% ของ GDP

กรอบวนิ ัยการเงนิ การคลงั ของรฐั
ไม่เกิน 70% ของ GDP

รายจา่ ยเพื่อการชาระหนภ้ี าครฐั ปี 2566

306,618 ล้านบาท

ชาระคืนตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี และคา่ ธรรมเนียม
100,000 ล้านบาท 206,618 ล้านบาท

(3.14% ของงบประมาณ) (6.5% ของงบประมาณ)

สถานะเงินคงคลัง ณ 30 เมษายน 2565
398,830.7 ลา้ นบาท

โครงสร้าง 5
งบประมาณรายจา่ ย ปี 2566

งบประมาณ 3,185,000 ล้านบาท

รายจ่ายประจา
2,396,942.2

ลา้ นบาท

รายจา่ ยลงทุน
695,077.4
ลา้ นบาท

รายจา่ ยชาระ
คนื ตน้ เงนิ กู้
100,000 ลา้ นบาท

หมายเหตุ: รายจ่ายลงทุน จานวน 695,077.4 ล้านบาท รวมรายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ที่เป็นรายจ่ายลงทุน กรณีการกู้เงิน
เพื่อการลงทนุ ของรัฐวิสาหกจิ จานวน 7,019.6 ลา้ นบาท (จากรายจ่ายชาระคนื ต้นเงินกู้รวม จานวน 100,000 ลา้ นบาท)

6

งบประมาณรายจา่ ย ปี 2566
จาแนกตามยุทธศาสตร์ชาติ

3,185,000 ล้านบาท

งบประมาณ 3,185,000 ลา้ นบาท

ความม่ันคง การสรา้ งความสามารถใน
การแข่งขัน
297,538.6 ลา้ นบาท
574,481.5 ล้านบาท
(9.3%)
(18.0%)
การพัฒนาและเสริมสร้าง
ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ การสรา้ งโอกาส
และความเสมอภาคทางสงั คม
549,514.0 ล้านบาท
869,133.3 ล้านบาท
(17.3%)
(27.3 %)
การสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิต
ทเ่ี ป็นมิตรต่อสงิ่ แวดล้อม การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ
225,769.9 ลา้ นบาท
668,562.7 ล้านบาท
(7.1 %)
(21.0%)

งบประมาณรายจ่าย ปี 2566
จาแนกตามยุทธศาสตรก์ ารจดั สรรงบประมาณ

3,185,000 ลา้ นบาท

งบประมาณ ความม่นั คง
3,185,000
ล้านบาท 296,003.6 ล้านบาท

(9.3%)

การสรา้ งความสามารถใน การพฒั นาและเสริมสร้าง
การแขง่ ขัน ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

396,125.5 ลา้ นบาท 549,514.0 ลา้ นบาท

(12.4%) (17.2%)

การสรา้ งโอกาส การสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ
และความเสมอภาคทางสังคม ที่เป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม

759,861.3 ล้านบาท 122,964.9 ล้านบาท

(23.9%) (3.9%)

การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบ รายการคา่ ดาเนินการภาครฐั
การบริหารจดั การภาครัฐ
402,518.0 ล้านบาท
658,012.7 ล้านบาท
(12.6%)
(20.7%)

งบประมาณรายจา่ ย ปี 2566 จาแนกตาม
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ

1,324,798.8 ลา้ นบาท

แผนแม่บท งบประมาณ (ลา้ นบาท)

ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นความม่ันคง

1 แผนแมบ่ ทฯ : ความม่นั คง 141,156.4
2 แผนแม่บทฯ : การต่างประเทศ 4,052.4

ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 78,903.7
3 แผนแม่บทฯ : การเกษตร

4 แผนแมบ่ ทฯ : อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต 1,554.6

5 แผนแม่บทฯ : การท่องเที่ยว 5,125.1

6 แผนแมบ่ ทฯ : พ้นื ท่แี ละเมอื งน่าอยอู่ ัจฉริยะ 7,435.2

7 แผนแม่บทฯ : : โครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบโลจสิ ติกส์ และดจิ ิทัล 133,586.9

8 แผนแม่บทฯ : ผปู้ ระกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ 2,721.3
9 แผนแม่บทฯ : เขตเศรษฐกจิ พิเศษ 11,786.2
10 แผนแมบ่ ทฯ : การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม 17,375.6

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

11 แผนแมบ่ ทฯ : การปรบั เปล่ียนคา่ นิยมและวฒั นธรรม 2,472.3
31,699.5
12 แผนแมบ่ ทฯ : การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ 19,871.4
13 แผนแมบ่ ทฯ : การพฒั นาการเรียนรู้ 51,883.9
14 แผนแมบ่ ทฯ : การเสริมสรา้ งใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะทีดี
15 แผนแมบ่ ทฯ : ศกั ยภาพการกีฬา 1,934.2

งบประมาณรายจา่ ย ปี 2566 จาแนกตาม
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ

1,324,798.8 ลา้ นบาท

แผนแมบ่ ท งบประมาณ (ลา้ นบาท)

ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

16 แผนแมบ่ ทฯ : พลงั ทางสงั คม 334,482.2
17 แผนแมบ่ ทฯ : เศรษฐกิจฐานราก 1,474.3
18 แผนแมบ่ ทฯ : ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม
374,760.2

ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเี่ ป็ นมติ รต่อสิ่งแวดล้อม

198 แผนแบทฯ : การเติบโตอยา่ งย่งั ยืน 7,257.3
2108 แผนแมบ่ ทฯ : การบรหิ ารจดั การนา้ ทง้ั ระบบ 54,121.8

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ

21 แผนแมบ่ ทฯ : การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั 30,420.9

22 แผนแมบ่ ทฯ : การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ 497.9

23 แผนแมบ่ ทฯ : กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม 10,225.5

7

งบประมาณรายจ่าย ปี 2566 จาแนกตาม
13 หมุดหมาย ภายใต้ (ร่าง) แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 13

1,068,275.9 ลา้ นบาท

หมดุ หมาย งบประมาณ (ลา้ นบาท)

1 ประเทศชน้ั นาดา้ นสนิ คา้ เกษตรและเกษตรแปรรปู มลู คา่ สูง 80,211.9

2 จดุ หมายการทอ่ งเทีย่ วทเ่ี นน้ คณุ ภาพและย่งั ยืน 7,273.7

3 ฐานการผลิตยานยนตไ์ ฟฟ้าทีส่ าคญั ของโลก 759.2

4 ศนู ยก์ ลางการแพทยแ์ ละสุขภาพมลู ค่าสูง 112,635.1

5 ประตกู ารค้าการลงทนุ และยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ 118,684.2

6 ฐานการผลติ อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สอ์ จั ฉริยะ 1,437.4

7 SMEs ทีเ่ ข้มแขง็ ศกั ยภาพสูง แขง่ ขันได้ 9,367.1

8 มีพ้ืนทแ่ี ละเมอื งอัจฉรยิ ะท่นี ่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างย่ังยืน 180,231.8

9 มีความยากจนขา้ มรุน่ ลดลง ความคมุ้ ครองทางสังคม 445,729.0
ท่ีเพียงพอ เหมาะสม 63,136.4
6,024.3
10 มีเศรษฐกิจหมนุ เวียนและสังคมคาร์บอนตา่ 322,,400492..47
43.092.3
11 ลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภยั ธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 30,787.2

12 มีกาลังคนสมรรถนะสูง มงุ่ เรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง
ตอบโจทยก์ ารพฒั นาแห่งอนาคต

13 ภาครัฐทันสมัย มปี ระสทิ ธภิ าพ ตอบโจทย์ประชาชน

8

งบประมาณรายจา่ ยบรู ณาการ
218,477.7 ลา้ นบาท

แผนงานบูรณาการ ปี 2566 งบประมาณ (ลา้ นบาท)

1. ขบั เคลอื่ นการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 6,251.2

2. เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก 11,086.9

3. ต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ 498.0

4. เตรียมความพร้อมเพ่อื รองรบั สงั คมสูงวัย 448.7

5. บรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ 54,121.9

6. ปอ้ งกนั ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพตดิ 4,188.2

7. พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 131,372.8

8. พัฒนาและสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 1,474.3

9. พฒั นาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 1,554.6

10. รฐั บาลดิจทิ ลั 2,356.0

11. สรา้ งรายได้จากการทอ่ งเท่ยี ว 5,125.1

5 ลาดับกระทรวง 9
ทไ่ี ดร้ บั งบประมาณสงู สดุ

ก. ศกึ ษาธกิ าร

325,900.2 ลบ. ก. มหาดไทย

325,578.9 ลบ. ก. การคลัง

285,230.4 ลบ.

ก. กลาโหม

197,292.7 ลบ.

คา่ ใช้จ่าย ก. คมนาคม
ตามภารกจิ 180,502 ลบ.
121,876.7 ลบ.
(37.4%)

คา่ ใช้จา่ ย รายจ่าย

ตามภารกิจ ชาระหน้ี คา่ ใช้จา่ ย
ตามภารกิจ
278,259.3 ลบ. ภาครัฐ 89,853.7 ลบ.
(85.5%) 261,756.4 ลบ. (45.5%)
(91.8%)
บคุ ลากร บุคลากร ค่าใชจ้ ่าย
204,023.5 ลบ. ค่าใช้จ่าย 107,439 ลบ. ตามภารกิจ
ตามภารกจิ (54.5%) 170,868.9 ลบ.
(62.6%) 10,505.4 ลบ. (94.7%)
(3.7%)
บุคลากร บคุ ลากร 9บ,(65คุ 3.ล33า%.1ก)รลบ.
47,319.6 ลบ. 12,968.6 ลบ.

(14.5%) (4.5%)

งบประมาณปี 2566 10
จาแนกตามกระทรวง

หน่วย : ล้านบาท

กระทรวง 2565 2566

งบกลาง 587,409.3 590,470.0
สานกั นายกรฐั มนตรี 32,012.9 32,477.8
กระทรวงกลาโหม 201,666.4 197,292.7
กระทรวงการคลัง 273,602.8 285,230.4
กระทรวงการตา่ งประเทศ 7,406.5 7,556.5
กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า 5,092.9 5,330.8
กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 24,624.9 24,626.9
กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม 123,446.6 124,748.2
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 109,852.6 126,067.1
กระทรวงคมนาคม 173,164.3 180,502.0
กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม 6,825.2 6,822.1
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 28,111.3 30,638.6
กระทรวงพลังงาน 2,707.4 2,707.4
กระทรวงพาณชิ ย์ 6,345.1 6,489.5
กระทรวงมหาดไทย 315,513.1 325,578.9
กระทรวงยุตธิ รรม 24,003.8 24,693.9
กระทรวงแรงงาน 49,701.9 54,338.5

งบประมาณปี 2566 11
จาแนกตามกระทรวง

กระทรวง 2565 หนว่ ย : ลา้ นบาท

กระทรวงวัฒนธรรม 6,993.5 2566
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 330,426.6
กระทรวงสาธารณสขุ 154,029.3 6,748.0
กระทรวงอตุ สาหกรรม 325,900.2
ส่วนราชการไม่สังกัดสานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงหรอื ทบวง 4,341.1 156,408.7
และหน่วยงานภายใต้การควบคุมดแู ลของนายกรฐั มนตรี
จังหวัดและกล่มุ จงั หวดั 4,490.8

รฐั วิสาหกจิ 122,624.7 125,257.9
หน่วยงานของรัฐสภา
หน่วยงานของศาล 17,411.0 21,727.7
หน่วยงานขององค์กรอสิ ระและองคก์ รอัยการ 127,865.5 162,989.7
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
หน่วยงานอน่ื ของรัฐ 8,088.3 7,752.2
22,940.8 22,959.5
สภากาชาดไทย 18,459.0 19,085.0
ส่วนราชการในพระองค์ 76,882.8 81,180.3

ทนุ หมุนเวยี น 477.9 477.4
รายจ่ายเพื่อชดใชเ้ งินคงคลงั 8,265.4 8,854.0
รายจ่ายเพอื่ ชดใชเ้ งนิ ทนุ สารองจา่ ย 8,761.4 8,611.7
195,370.4 206,985.6
รวมทงั้ สนิ้
596.7 -
24,978.6 -
3,100,000.0 3,185,000.0

ประชาชนไดอ้ ะไร
จากงบประมาณ ปี 2566

ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ด้านความม่นั คง

• ขบั เคลอ่ื นการแกไ้ ขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.)
• ป้องกัน ปราบปราม และบาบดั รักษา
ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ
• จัดการปัญหาแรงงานตา่ งดา้ ว
และการคา้ มนุษย์
• พฒั นาระบบการเตรยี มพรอ้ มแหง่ ชาติ
และระบบบรหิ ารจดั การภยั พิบัติ

14

ขับเคล่ือนการแกไ้ ขปัญหา
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (จชต.)

6,251.2 ลา้ นบาท

ประเทศชาตมิ นั่ คง ประชาชนในพน้ื ทมี่ ีความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ อยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสขุ
ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม และไดร้ บั การพฒั นาอย่างเท่าเทยี มกับภาคอนื่ ๆ โดยมกี ารดาเนินโครงการสาคญั ดงั น้ี

ความม่นั คง 2,037.73 ลา้ นบาท

รกั ษาความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ ของประชาชน

• หมู่บ้านในพ้นื ที่ จชต. ได้รับการจัดระบบรักษาความสงบเรยี บร้อย

1,976 หมูบ่ า้ น 811.02 ล้านบาท

• เสริมขดี ความสามารถในการรกั ษาความปลอดภัย โดยมเี ป้าหมาย

จานวนเหตุการณร์ ุนแรงลดลง ร้อยละ 60 เทยี บกับปี 2560 674.73 ลา้ นบาท

เพิ่มประสิทธิภาพงานขา่ วกรอง 740.95 ล้านบาท

• เพิม่ ประสทิ ธภิ าพงานข่าวกรอง โดยมีปรมิ าณข่าวสารท่ีสามารถนามาใช้

ประโยชนแ์ กไ้ ขปัญหาในพืน้ ท่ี รอ้ ยละ 80 564.56 ล้านบาท

• บรู ณาการเชือ่ มโยงฐานขอ้ มลู ดา้ นความมัน่ คงในพ้นื ที่ เพ่อื สนบั สนุนหน่วยปฏิบัติ

มากขนึ้ ร้อยละ 60 เทียบกับปี 2560 126.12 ล้านบาท

การแสวงหาทางออกจากความขัดแย้งโดยสนั ตวิ ิธี 15.72 ล้านบาท
123.97 ล้านบาท
• เปดิ พ้นื ท่ีทางการเมอื งและเวทพี ูดคยุ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ 40 เวที

9.33 ล้านบาท

• จัดการพูดคุยเพือ่ สนั ตสิ ขุ ระหวา่ งรฐั บาลกับแกนนาขบวนการผ้เู หน็ ต่างในพนื้ ที่
เพ่ือแกไ้ ขปญั หาความขดั แย้งจงั หวัดชายแดนภาคใต้ตอ่ เนื่อง ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี

6.40 ลา้ นบาท

การบริหารจดั การ

พัฒนาและปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพด้วยหลักธรรมาภิบาล

• ศนู ยป์ ฏิบัติการอาเภอ 37 แห่ง สามารถให้บรกิ ารไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

25.90 ลา้ นบาท

• เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครฐั โดยกาหนดแนวทาง มาตรการ

ในการขับเคลอ่ื นการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 5 เรอื่ ง 33.97 ลา้ นบาท

15

ขบั เคล่ือนการแกไ้ ขปญั หา
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.)

6,251 ล้านบาท

การพฒั นา

99.16 ล้านบาท เสริมสรา้ งความเข้าใจและประสานความร่วมมือ
205.04 ล้านบาท
• จัดทาชุดข้อมูลเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางสือ่ ต่าง ๆ สรา้ งความเข้าใจในระดับชมุ ชน
พบปะผู้นาศาสนา ประชาชนในหมู่บ้านพืน้ ท่ี จชต. โดยประชาชนเชื่อม่ันตอ่

ขา่ วสารและนโยบายการแก้ไขปัญหา จชต. ร้อยละ 79 63.75 ล้านบาท

• ผลิตและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการบริหารและพัฒนาพ้ืนท่ี จชต. มคี วามถกู ตอ้ ง

รอบดา้ น ร้อยละ 80 11.70 ลา้ นบาท

พฒั นาพหุวัฒนธรรมที่เขม้ แข็ง
และเสริมสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน

• จดั เสวนาสัมพันธ์ผนู้ าชมุ ชนพทุ ธ/มสุ ลิม ฝกึ อบรมสัมมนากลุม่ เยาวชนเสรมิ สร้าง

สงั คมพหุวฒั นธรรมในพ้นื ที่ จชต. 20 ตาบล 110.25 ล้านบาท

• ประชาชนในชมุ ชนรว่ มจดั กิจกรรมทส่ี ร้างสรรค์บนพ้ืนฐานของสงั คมพหวุ ัฒนธรรม

ไม่นอ้ ยกว่า 70 ชุมชน 27.27 ล้านบาท

พฒั นาตามศักยภาพพื้นที่

• พฒั นาพน้ื ท่ีชมุ ชนและโครงสร้างพนื้ ฐาน พ้ืนท่ฟี าร์มตัวอย่างฯ และภูมิทศั น์

กวา่ 198 โครงการ 1,548.81 ลา้ นบาท

• ครวั เรือนยากจนตามฐานขอ้ มูล TPMAP ไดร้ บั การพฒั นาคุณภาพชีวิตตาม

แผนการใหค้ วามช่วยเหลอื ไม่น้อยกว่า 700 ครัวเรอื น 276.06 ลา้ นบาท

2,564.44 ลา้ นบาท

463.99 ล้านบาท อานวยความยตุ ธิ รรมและเยียวยาผู้ไดร้ ับผลกระทบ

• ช่วยเหลอื เยียวยาผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากเหตกุ ารณค์ วามไม่สงบในพืน้ ท่ี จชต.

จานวน 6,506 ราย 138.59 ลา้ นบาท

• สนบั สนุนทุนการศึกษารายปแี กผ่ ทู้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ

ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 5,438 คน 175.62 ลา้ นบาท

16

ปอ้ งกนั ปราบปราม
และบาบดั รักษาผู้ตดิ ยาเสพตดิ

4,188.2 ล้านบาท

1 ป้องกันและแกไ้ ข 2 ปราบปรามยาเสพตดิ 3 บาบดั รักษา และฟืน้ ฟู
ปัญหายาเสพตดิ ผูต้ ิดยาเสพตดิ
1,405.86 ลา้ นบาท 1,631.94 ล้านบาท 1,150.39 ล้านบาท
ผปู้ ว่ ยยาเสพติด เข้าส่กู ระบวนการ
ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ยุติบทบาทการคา้ ยาเสพตดิ ระดับสาคญั บาบัดรักษาและไดร้ บั การตดิ ตาม
โดยจบั กุม ยดึ อายดั ทรัพย์สนิ ตามมาตรฐาน รอ้ ยละ 60
• ประชากรเปา้ หมายในพน้ื ท่ีท่ีมกี ารแพร่ 422.09 ลา้ นบาท
ระบาดของยาเสพติดได้รับการป้องกนั ร้อยละ 50 ของเครือขา่ ยยาเสพตดิ และไดร้ ับการถ่ายทอดองคค์ วามรู้
ดา้ นการบาบัดรักษายาเสพตดิ
80,000 คน 596.55 ล้านบาท 1,518.73 ลา้ นบาท 10 เรอ่ื ง 19.31 ล้านบาท

• จดั ตงั้ หม่บู ้านเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพติด

1,240 หมู่บา้ น 145.70 ล้านบาท

• รณรงคป์ อ้ งกันยาเสพตดิ ในเรอื นจา
โดยตรวจค้นสง่ิ ต้องห้ามภายในเรอื นจา

142 แห่ง 43.32 ลา้ นบาท

สร้างภูมิค้มุ กันและเฝ้าระวัง ศกึ ษา ค้นคว้า ตวั อยา่ งการตรวจ บาบดั รักษา และฟ้ืนฟสู มรรถภาพ
ยาเสพตดิ ใหก้ ับกล่มุ ต่าง ๆ วเิ คราะหท์ างหอ้ งปฏบิ ัติการ ผ้ตู ดิ ยาเสพติดกลุม่ ตา่ ง ๆ

• ประชากรวยั เสยี่ ง อายุ 3 – 29 ปี เพอ่ื สนับสนนุ แกไ้ ขปัญหาผเู้ สพยาเสพติด 489.05 ล้านบาท
ได้รบั การสร้างภูมิคมุ้ กนั และปอ้ งกัน
ยาเสพติด 493,500 คน 80,000 ตัวอยา่ ง 83.96 ล้านบาท • กลมุ่ ผูถ้ ูกคุมประพฤติคดียาเสพตดิ
40,000 คน
255.25 ล้านบาท ตรวจสอบตัวยา เคมีภณั ฑ์
และสารตั้งตน้ ท่ีเปน็ วตั ถุเสพตดิ • กลมุ่ เด็กและเยาวชนในศนู ยฝ์ ึกอบรม
• วัยรุ่นและเยาวชน ได้รบั ความรู้ ในสถานประกอบการ 27,020 ราย 3,000 คน
มภี มู คิ ุ้มกันทางจติ 120,000 คน
29.25 ล้านบาท • กลุม่ ผู้ต้องขงั ทม่ี ปี ระวัติยาเสพติด
95 ลา้ นบาท 19,000 คน

ประชาชนไดอ้ ะไร • กล่มุ ทม่ี ีภาวะยงุ่ ยากซับซอ้ น
13,300 คน

• กลุ่มทีม่ ีปญั หาสุขภาพจิต
3,700 คน

พ้ืนท่ีแพรร่ ะบาดยาเสพตดิ ได้รบั การเสรมิ สร้างให้เป็นพน้ื ท่ีปลอดภยั
เด็ก เยาวชน ผ้ใู ช้แรงงาน และประชาชนไดร้ ับความรู้และมภี มู คิ ุ้มกนั
จากภัยยาเสพติด
ผตู้ ิดยาเสพติดเข้าถึงบริการทางการแพทยแ์ ละได้รับการบาบัดรกั ษา
ผทู้ ่ีผา่ นการบาบัดไดร้ ับการตดิ ตามและชว่ ยเหลืออยา่ งใกล้ชิด
รวมทงั้ ได้รบั โอกาสในการดารงชวี ิตอยู่ในสังคมได้อยา่ งปกตสิ ขุ

จดั การปัญหาแรงงาน 17
ตา่ งดา้ วและการค้ามนษุ ย์
299.7 ลา้ นบาท

1 เฝ้าระวงั ปราบปรามการค้ามนุษย์ในพ้ืนทีก่ ลุ่มเสย่ี ง

• ตรวจสอบการทางานแรงงานตา่ งดา้ ว 254,000 คน สถานประกอบการ
30,000 แหง่ พรอ้ มจดั ทาทะเบียนประวัติคนต่างดา้ วทย่ี นื่ ขออนุญาตเขา้ ทางาน

• ปราบปรามและดาเนินคดคี วามผดิ ฐานคา้ มนุษย์ ไมน่ ้อยกวา่ 200 คดี
• ตรวจตราและเฝ้าระวังในพ้ืนทเี่ สย่ี งของชมุ ชน 878 อาเภอ

2 สร้างความเขา้ ใจ ป้องกนั การตกเปน็ เหยื่อขบวนการคา้ มนษุ ย์

• ฝกึ อบรมความรู้แนวปฏิบัตทิ ่ถี กู ตอ้ งปอ้ งกนั การตกเป็นเหย่อื การคา้ มนุษย์ แก่นายจ้างและแรงงาน 93,600 คน
• อบรมประชาชนกล่มุ เสี่ยง สร้างความรูค้ วามเข้าใจปญั หาการค้ามนษุ ย์ สามารถปอ้ งกันตนเองได้ 8,800 คน
• เสรมิ สรา้ งความรู้ดา้ นสทิ ธแิ รงงานตามกฎหมายและแนวปฏบิ ัตกิ ารใชแ้ รงงานทด่ี ี (GLP)

แกส่ ถานประกอบการ 3,000 แหง่

3 การคุม้ ครองแรงงานและช่วยเหลือผู้เสียหาย

• ผ้เู สยี หายจากขบวนการคา้ มนษุ ยไ์ ดร้ ับความชว่ ยเหลือค้มุ ครองกลบั คนื สู่สังคม 700 คน
• แรงงานประมงได้รบั ความคุ้มครองผ่านระบบออกหนังสอื คนประจาเรือสาหรบั คนต่างดา้ ว 40,000 ราย
• สารวจ ปรับปรุงทะเบียนประวตั ิ / จดั ทาบัตรประจาตวั ให้แก่แรงงานตา่ งดา้ ว 151,100 ราย

ประชาชนไดอ้ ะไร ประเทศได้อะไร

• ผู้ประกอบการ นายจา้ ง เขา้ ถึงแรงงานที่มี • ประเทศไทยปฏบิ ตั ติ ามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน
คุณภาพมาตรฐาน ตรงตามความตอ้ งการ ระหว่างประเทศ ไดร้ บั การยอมรับจาก
นานาประเทศ
• แรงงานตา่ งดา้ วไดร้ บั การคมุ้ ครอง
จากการปฏิบตั ทิ ไ่ี ม่เปน็ ธรรม

18

พัฒนาระบบการเตรยี มพร้อม
แหง่ ชาติและระบบบริหาร

จดั การภัยพิบัติ 16,971.8 ล้านบาท

1 เตรียมความพรอ้ มรับมอื สาธารณภัย 3,406.59 ลา้ นบาท

ครุภัณฑ์สาธารณภัยพร้อมใช้งานเม่อื เกิดภยั เพิม่ ศักยภาพระบบแจ้งเตอื นภัย

จัดหาครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณ์ใหม้ ีความพร้อม ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นวตั กรรม เครื่องมอื
เพยี งพอตอ่ การปอ้ งกัน ฟน้ื ฟูสาธารณภัย ในการเตรยี มความพรอ้ ม แจง้ เตอื น การจดั การ
และให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัย ในภาวะฉุกเฉินทุกมติ ิสาเร็จ รอ้ ยละ 80
ไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 90

พัฒนาบคุ ลากรและเครอื ขา่ ย เพิ่มความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง

อบรมเสรมิ สร้างความรูใ้ นการจัดการสาธารณภยั จัดทามาตรการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ
แกบ่ ุคลากร เครือข่าย และประชาชน เพอื่ รบั มอื ทางทอ้ งถนนช่วยลดอุบตั เิ หตุ ในช่วงเทศกาล
ภัยพบิ ัติอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพเพิม่ ขึ้น รอ้ ยละ 80 และชว่ งเวลาปกติ

2 ป้องกันการกัดเซาะพน้ื ท่ตี ล่ิงริมแมน่ า้ 3 ช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิกรณีฉุกเฉิน

กอ่ สร้างเขอื่ นปอ้ งกนั การกดั เซาะตลิง่ ริมแมน่ ้า ผู้ประสบภัยพบิ ัตไิ ดร้ ับความชว่ ยเหลอื
ในประเทศ ลดปัญหาการพงั ทลายเสยี หาย บรรเทาความเดือดรอ้ น เปน็ คา่ ใช้จ่ายจาเปน็
ของพื้นที่เกษตร พืน้ ทีอ่ ยู่อาศยั ใกล้แม่นา้
ความยาวกวา่ 176,414 เมตร ในการดารงชพี 2,000 ล้านบาท

11,565.24 ล้านบาท

• ประชาชนได้รับการแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ ลดการสูญเสยี ประชาชนได้อะไร
และความเสย่ี งในชีวิตและทรพั ยส์ นิ

• ประชาชนผปู้ ระสบภยั ได้รบั ความชว่ ยเหลอื และบรรเทาความเดอื ดรอ้ นในเบอื้ งตน้ อย่างรวดเรว็

• ประเทศชาตมิ ีศักยภาพ สามารถฟื้นตัวสู่สภาวะปกตไิ ดอ้ ย่างรวดเรว็ หลังประสบภยั พบิ ตั ิ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน

• พัฒนาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
• สรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว
• การเกษตรสร้างมูลค่า
• เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)
• การสง่ เสรมิ วิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอ่ มทเ่ี ข้มแข็ง แขง่ ขนั ได้
• พฒั นาอุตสาหกรรมและบรกิ าร
แหง่ อนาคต

พฒั นาดา้ นคมนาคม 20
และระบบโลจสิ ตกิ ส์
131,372.8 ลา้ นบาท
โครงสร้างพ้นื ฐานทางถนน

• โครงการกอ่ สรา้ งทางหลวงแผ่นดนิ 4,017 กม. ทางหลวงพิเศษระหวา่ งเมือง 48.467 กม. สะพาน 11,109 เมตร
• โครงการทางพเิ ศษสายกะทู้ - ปา่ ตอง จงั หวดั ภเู กต็
• โครงการจดั ทา Model การพัฒนาโครงข่ายการคมนาคมเช่อื มโยง GMS เพอ่ื สนับสนุนด้านเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ียว
• โครงการเพ่ิมขดี ความสามารถการทดสอบระบบอัดประจไุ ฟฟา้ รองรับระบบขนส่งสาธารณะสมยั ใหม่

โครงสร้างพ้นื ฐานทางราง

• ระบบรถไฟความเร็วสงู ระยะที่ 1 ช่วงกรุงเทพมหานคร – นครราชสีมา
• พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานการขนส่งของทางราง สายเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ
สายบา้ นไผ่ – มหาสารคาม – ร้อยเอ็ด – มกุ ดาหาร - นครพนม
• พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานเพ่ือส่งเสริมการขนสง่ ทางราง 986.24 กม.
• พฒั นารปู แบบการกากับดแู ลและการบรหิ ารจดั การระบบตว๋ั รว่ ม
• โครงการระบบรถไฟชานเมอื ง สายสีแดงเข้ม ช่วงรงั สติ – ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสติ
ช่วงตลิ่งชนั - ศาลายา ชว่ งบางซือ่ – หัวลาโพง และสถานเี พม่ิ เติม 3 สถานี
สายสแี ดงอ่อน ชว่ งตลง่ิ ชัน – ศริ ริ าช ชว่ งบางซ่ือ - พญาไท - มกั กะสนั - หัวหมาก

• ค่าจัดกรรมสิทธ์ิท่ดี นิ โครงการรถไฟฟา้ สายสีน้าเงนิ ชว่ งหวั ลาโพง – บางแค ช่วงบางซ่อื – ท่าพระ
สายสีเขียว ชว่ งแบริง่ – สมทุ รปราการ ช่วงหมอชติ - สะพานใหม่ – คคู ต
• โครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลอื ง ชว่ งลาดพรา้ ว – สาโรง
• โครงการศนู ยเ์ ปลย่ี นถ่ายรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าเชยี งของ จ. เชยี งราย
• โครงการพัฒนาปัจจัยสนบั สนนุ ด้านโลจิสติกส์
• โครงการจดั หาเครื่องช่ังนา้ หนกั และอปุ กรณ์ด้านการจราจรเพือ่ เพ่ิมประสิทธิภาพดา้ นการคา้
และการบรกิ ารระหว่างประเทศ ดา่ นศลุ กากรสะเดาแห่งใหม่

พัฒนาดา้ นคมนาคม 21
และระบบโลจิสติกส์

โครงสรา้ งพ้ืนฐานทางน้า โครงสรา้ งพ้นื ฐานทางอากาศ

• โครงการเพิม่ ขดี ความสามารถของท่าอากาศยาน
ตามมาตรฐานการบินระหว่างประเทศ 22 แหง่
ใน กทม. และจงั หวดั ตา่ งๆ เช่น ลาปาง ตาก
แพร่ น่าน เลย รอ้ ยเอ็ด ระนอง ยะลา นราธิวาส

• โครงการกอ่ สร้างเขือ่ นปอ้ งกนั ตล่งิ • พัฒนาบุคลากร พัฒนาปัจจยั สนบั สนุน
• ขดุ ลอกและบารงุ รักษารอ่ งน้าชายฝง่ั ทะเล เพ่อื รองรับ
เพิ่มประสิทธิภาพการเดินเรือ
ในแมน่ ้าตา่ งๆ เพ่อื รองรับการขนส่งสินค้า อุตสาหกรรม
114.764 ลา้ นตนั

โลจสิ ตกิ ส์ 2,750 คน

ประชาชนได้อะไร • เดนิ ทางสะดวก รวดเรว็ ปลอดภัย การขนสง่ หลากหลาย
• การขนสง่ สนิ คา้ คลอ่ งตวั กระจายความเจรญิ สภู่ มู ิภาค
• ผปู้ ระกอบการมที างเลือกในการขนสง่ สนิ คา้ และมีตน้ ทนุ ทีต่ ่าลง

ประเทศไดอ้ ะไร • ต้นทนุ โลจิสตกิ สข์ องประเทศลดลง มีความสามารถในการแขง่ ขันเพมิ่ ขน้ึ
• เกิดความเช่ือมโยงทางเศรษฐกจิ และสงั คม
กับประเทศเพอื่ นบา้ น/นานาประเทศ

สร้างรายได้ 22
ฃ จากการท่องเที่ยว
5,125.1 ลา้ นบาท
ประชาชนได้อะไร

ไดร้ บั ความสะดวก ปลอดภยั การท่องเท่ียววิถชี มุ ชนไดร้ ับการพัฒนา
แหล่งท่องเท่ยี วธรรมชาตไิ ด้รับการฟน้ื ฟู
• จานวนชุมชนท่ไี ดร้ ับการผลักดันใหเ้ ขา้ สตู่ ลาดอุตสาหกรรม
• เพ่มิ ศักยภาพด้านการทอ่ งเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์ 10 แหง่ การท่องเทยี่ ว เพม่ิ ข้ึน 20 ชุมชน
• เสริมชายหาดป้องกันการกดั เซาะ 3 แห่ง
• ตดิ ต้ังทุ่นแพลอยน้าฝง่ั อา่ วไทย 2 จังหวดั / อันดามนั 2 จังหวัด / • พฒั นาเสน้ ทางชมุ ชนท่องเทย่ี ว OTOP นวตั วิถี 50 ชุมชน
• ชมุ ชนท่องเทย่ี วไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพ 50 ชุมชน
ทุน่ ผกู เรือเพ่ืออนรุ กั ษแ์ นวปะการัง 5 จงั หวัด • พัฒนาและยกระดับชุมชนเข้าสมู่ าตรฐานการท่องเทยี่ วไทย
• มีระบบปฏิบัติการฉุกเฉนิ ทคี่ รบวงจรทง้ั ทางบก ทางน้า
50 ชมุ ชน มผี ปู้ ระกอบการเข้าสมู่ าตรฐาน 160 คน
และทางอากาศ 1 ระบบ • มสี นิ ค้าและบริการทสี่ ร้างสรรค์ใหม่ พรอ้ มเสนอขาย

มแี หลง่ ท่องเท่ยี วหลากหลาย 25 รายการ
กระจายตัวทั้งเมอื งหลกั และเมอื งรอง • สร้างชุมชนท่องเที่ยวในพน้ื ทีเ่ มืองรองที่มศี ักยภาพ

• กอ่ สรา้ งทางหลวงชนบทเพอ่ื การทอ่ งเทีย่ ว 231.771 กม. 1 ชุมชน / 2 นวัตกรรม / ผู้ประกอบการเข้าเปน็ สมาชกิ
• เตรยี มความพรอ้ มเข้าเปน็ สมาชิกเครอื ข่ายเมืองสรา้ งสรรค์ เพ่มิ ข้ึน 15 ราย

2 เมือง ไดแ้ ก่ น่าน และสพุ รรณบุรี นักทอ่ งเทยี่ วมจี านวนเพิม่ มากขึ้น
• เมอื งในพื้นทีพ่ เิ ศษไดร้ บั การพัฒนาตามแนวทาง UNESCO
• การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ไมซ์ภายใตร้ ปู แบบกิจกรรม
5 เมือง ไดแ้ ก่ สุโขทยั เลย ชลบุรี เชยี งราย และเพชรบรุ ี 7 Themes และยกระดบั การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน
• แหลง่ ธรณีวทิ ยาได้รบั การพัฒนาเปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ ว 9 แหง่ สู่ Product MICE Premium 2 เมือง

มีเป้าหมายผูเ้ ยี่ยมชมไมน่ ้อยกวา่ 70,000 ราย • ส่งเสรมิ การตลาดทง้ั ในและตา่ งประเทศโดยสร้างการรับรู้
• เพ่ิมศักยภาพสวนพฤกษศาสตรร์ ะยอง ให้เปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ ว ประเทศไทย มีจานวนการรบั รแู้ คมเปญ 1,080 ลา้ นคน/ครัง้

เชิงคณุ ภาพ • ส่งเสริมการทอ่ งเทย่ี วเชอื่ มโยงกลุ่มอาเซียน งานสมั มนา
ระดบั นานาชาติ 4 งาน / งานท่กี ล่มุ GMS เข้ามาจัดงาน
ประชาชนและผูป้ ระกอบการมีรายได้เพิม่ ขน้ึ ในไทย 8 งาน

• ผู้ประกอบการท่องเทีย่ วไดร้ บั การถ่ายทอดความรดู้ า้ นการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มรี ายได้เพ่มิ ขึน้ 500 ราย

• พัฒนาเมอื งทอ่ งเท่ียว 10 เมอื ง รองรบั การจดั งานท่องเทยี่ วเชิงธรุ กิจ
ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร เชยี งใหม่ ขอนแกน่ ภเู ก็ต พัทยา ชมุ พร
กระบี่ สุราษฎรธ์ านี สงขลา และเมืองรองทม่ี ศี ักยภาพ

ประเทศไดอ้ ะไร รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ียวไม่นอ้ ยกวา่ 2.4 ลา้ นล้านบาท

ขีดความสามารถทางการแขง่ ขันด้านการท่องเท่ียวของไทย
อยูใ่ นอนั ดับไมต่ า่ กว่า 1 ใน 30 ของโลก

การเกษตรสร้างมลู คา่ 23

78,903.7 ล้านบาท

เกษตรกรไดร้ ับการสง่ เสรมิ เกษตรกรไดร้ บั การปรับเปลย่ี น
ความเขม้ แขง็ การผลติ ให้เหมาะสมกบั ศกั ยภาพ
พนื้ ที่ ทาให้ผลผลติ ตอ่ หนว่ ยเพ่มิ ข้นึ
โครงการประกันรายได้สินค้าเกษตร :
มเี กษตรกรไดร้ บั ประโยชน์ 7.92 ลา้ นครัวเรอื น บริหารจดั การผลิตสินคา้ เกษตร
ตามแผนทีเ่ กษตรเชงิ รุก (Agri-Map) :
เกษตรกรสามารถลดต้นทนุ ปรับเปล่ียนการผลติ ตามศักยภาพพืน้ ที่
การผลิตทาใหร้ ายไดเ้ พิ่มข้นึ
ตาม Agri-Map 71,540 ไร่
ส่งเสริมระบบเกษตรแปลงใหญ่ :
รวมกลุม่ ผลิตสนิ ค้าเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรกรมีเมลด็ พนั ธพุ์ ชื และ
พนั ธุ์สตั วท์ มี่ ีคุณภาพไดม้ าตรฐาน
3,023 แปลง และ 201,000 ไร่
เพียงพอกบั ความตอ้ งการ
ผู้บริโภคไดบ้ รโิ ภคสินคา้ เกษตร
ทีผ่ า่ นการรบั รองคณุ ภาพมาตรฐาน พฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร :
• จานวนเมลด็ พนั ธไุ์ ดร้ บั การตรวจสอบมาตรฐาน
ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร :
สนิ ค้าเกษตรและอาหารเข้าสรู่ ะบบมาตรฐาน เพือ่ ออกใบรับรอง 1,700 ตวั อย่าง
ความปลอดภัยด้วยการตรวจประเมินแหลง่ ผลิต • จานวนสตั ว์ทไ่ี ด้รบั บริการพัฒนาสขุ ภาพสตั ว์

ไม่น้อยกว่า 240,500 แห่ง 15.36 ลา้ นตวั

เขตพฒั นาพิเศษ 24
ภาคตะวันออก (EEC)
11,086.9 ลา้ นบาท

ประชาชนได้อะไร

การเดนิ ทางในพ้นื ทโ่ี ดยรอบ EEC มีความสะดวกยิ่งขน้ึ

• กอ่ สร้างทางหลวงรองรับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออกระยะทาง 95.17 กม.
• ก่อสร้างปรับปรุงทางรถไฟเข้าพ้ืนท่ที า่ เรอื จุกเสมด็ การทา่ เรือสตั หบี
• โครงการรถไฟความเรว็ สูงเช่อื ม 3 สนามบนิ (ดอนเมอื ง สุวรรณภมู ิ และอู่ตะเภา)

ประชาชน บคุ ลากร ได้รับความรดู้ ้านเทคโนโลยี และนวัตกรรม เกิดการจา้ งงาน

ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย

• ถา่ ยทอดเทคโนโลยชี วี ภาพ (Biopolis) 40 ชุมชน
• ถา่ ยทอดและยกระดับโรงงานให้ใช้เทคโนโลยี IIoT 150 ราย
• ผลติ และพัฒนาบคุ ลากร เพ่อื รองรับอตุ สาหกรรมเป้าหมาย ไมน่ อ้ ยกว่า 4,850 คน

ประชาชนในพน้ื ท่ี EEC มคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี ท้ังด้านสาธารณูปโภค สง่ิ แวดล้อม

ท่องเทย่ี ว และสาธารณสุข

• ก่อสร้างศูนย์การแพทยค์ รบวงจร 2 แห่ง : รพ. ปลวกแดง จ. ระยอง และ รพ. พทุ ธโสธร จ. ฉะเชิงเทรา
• กอ่ สร้างโรงพยาบาลศนู ยเ์ ฉพาะทาง 3 แห่ง : รพ. แกลง จ. ระยอง รพ. ชลบรุ ี จ. ชลบรุ ี

และ รพ. บางปะกง จ. ฉะเชิงเทรา
• พฒั นาผังเมอื ง ปรบั ปรุงภมู ิทศั น์ ระบบสาธารณูปโภค ไม่นอ้ ยกว่า 14 ผงั
• ก่อสรา้ ง ปรบั ปรงุ ขยายนา้ ประปา 4 แห่ง

ประเทศได้อะไร

• เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
• เกดิ การลงทุนของภาครัฐและเอกชนในพ้ืนท่ี EEC สง่ ผลให้ GDP ประเทศเพ่มิ ขน้ึ
• มกี ารเช่อื มโยงทางเศรษฐกิจและสงั คมกับนานาประเทศ

การส่งเสรมิ 25

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ที่เข้มแขง็ แขง่ ขันได้
2,721.4 ลา้ นบาท

ประชาชนได้อะไร

ผปู้ ระกอบการเตบิ โต เขม้ แข็ง แขง่ ขนั ได้ในระดับสากล

• พฒั นาผูป้ ระกอบการใหเ้ ตบิ โต แข่งขนั ไดใ้ นระดับสากล ไมน่ อ้ ยกวา่ 800,000 ราย
• เสริมสรา้ งศกั ยภาพวิสาหกิจดว้ ยเทคโนโลยีดิจทิ ัล 22,000/2,400 คน/กจิ การ
• พัฒนาบคุ ลากรในวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมทเี่ ขา้ รบั การประเมนิ สมรรถนะ

ตามมาตรฐานอาชพี สู่ความเป็นมอื อาชีพ 2,000 ราย
• พัฒนาผูป้ ระกอบการของหน่วยบม่ เพาะวิสาหกจิ ในสถาบนั อดุ มศึกษา

เปน็ ผู้ประกอบการในระดับ (Pre-Incubation) 900 ราย

ผปู้ ระกอบการเข้าถึงบริการทางการเงิน ผปู้ ระกอบการเข้าถึงตลาด

• สง่ เสริม SME ใหเ้ ข้าถงึ แหล่งเงนิ ทุน ไม่น้อยกวา่ • ส่งเสริมผู้ประกอบการมชี อ่ งทางการค้า

1,200 ราย ผา่ น e-Commerce ไม่นอ้ ยกวา่ 25,800 คน
• สถานประกอบการ SME ไดร้ บั การปรบั เปลยี่ น • อบรมผูป้ ระกอบการเพอ่ื ให้ความรู้

เครอื่ งจักรเพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพ ไมน่ อ้ ยกว่า ด้านเทคโนโลยี นวตั กรรมการค้าต่างประเทศ

2,000 เครอื่ ง เพ่อื ขยายตลาดสง่ ออกสินค้า 800 ราย

สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อต่อการดาเนินธรุ กิจ

• จดั งาน Startup x Innovation Thailand Expo (SITE) เพื่อใหค้ วามรู้ด้านธุรกิจ

แก่ผปู้ ระกอบการทเ่ี ข้ารว่ มงาน 250 คน
• อบรมผู้ประกอบการใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกับกฎหมายกจิ การของลูกหน้ี

ที่เป็น SME 1,000 ราย

ประเทศไดอ้ ะไร

• กระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญเตบิ โต เพิ่มขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ในระดับเวทีการคา้ โลก
• เกดิ การจา้ งงาน สร้างรายได้ และเปน็ กลไกในการแกไ้ ขปญั หาความยากจน

26

พฒั นาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
1,554.6 ลา้ นบาท

1

ประชาชนได้อะไร โครงสร้างพ้นื ฐานที่เอื้อ
ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม
2
และบริการแห่งอนาคต
ผู้ประกอบการ บุคลากรในอุตสาหกรรม
ไดร้ ับประโยชน์จากการพฒั นา • ศนู ย์เทคโนโลยีตน้ แบบทมี่ คี วามเปน็ เลิศดา้ นการวิจยั
และรบั รองผลติ ภณั ฑช์ ว่ ยเพ่ิม และพัฒนายาตัวใหม่ (NCE) จานวน 1 ศนู ย์
ขีดความสามารถในการแข่งขนั • โครงการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐาน
เพอ่ื รองรบั อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
• พัฒนาวสิ าหกิจและผรู้ ับบริการไดร้ ับการพฒั นา • โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน เพ่อื รองรบั
- อตุ สาหกรรมชวี ภาพ 300 คน 52 กิจการ การขยายตัวของอตุ สาหกรรมดิจิทัลฯ
เกิดการพัฒนาตน้ แบบ 2 รายการ และ 52 ผลิตภัณฑ์
- อตุ สาหกรรมเครอื่ งมอื แพทย์ 300 คน 50 กิจการ 3
เกดิ การพัฒนาตน้ แบบ 27 รายการ
- อุตสาหกรรมดจิ ิทัล 500 คน 140 กิจการ แรงงาน บุคลากร
- อตุ สาหกรรมยานยนตส์ มัยใหม่ 400 คน 50 กิจการ ในภาคอตุ สาหกรรม
• สง่ เสริมผลิตภัณฑ์ชีวภาพพร้อมแผนธรุ กจิ ได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพรองรับ
ของผลติ ภัณฑท์ ี่นาไปตอ่ ยอดเชิงพาณิชย์ การขยายตัวของอตุ สาหกรรม
2 ผลิตภณั ฑ์ ผปู้ ระกอบการ 15 ราย
• บุคลากรในอุตสาหกรรมต่างๆ ไดร้ ับ
การฝกึ อบรมและเข้ารับการประเมินสมรรถนะ
- อตุ สาหกรรมชีวภาพ 500 คน
- อตุ สาหกรรมดิจทิ ัล 200 คน
- อุตสาหกรรมยานยนต์สมยั ใหม่ 240 คน

ประเทศได้อะไร GDP ภาคอตุ สาหกรรมและบรกิ ารของประเทศเพม่ิ ข้นึ
มกี ารลงทนุ จากต่างประเทศ

(Foreign Direct Investment) มากขน้ึ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรพั ยากรมนษุ ย์

• เสริมสรา้ งให้คนมีสุขภาวะท่ดี ี
• พัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้

เสรมิ สรา้ งใหค้ นมีสุขภาวะทด่ี ี 28

51,883.9 ล้านบาท

พฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิ
และเครอื ขา่ ยระบบสขุ ภาพ

คลนิ กิ หมอครอบครัว สนับสนุนค่าปว่ ยการ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ

จากเดมิ 3,000 ทีม และพัฒนาศักยภาพ ตาบล (รพ.สต.)
เพ่ิมเป็น 3,500 ทีม
อสม. หมอประจาบา้ น เพือ่ การพัฒนาด้านสุขภาพเชิงรุก
161 ล้านบาท และการพัฒนา รพ.สต. ตดิ ดาว
รวม 1.05 ล้านคน
12,613.74 ล้านบาท 9,942 แห่ง 2,109.29 ล้านบาท

พัฒนาบคุ ลากรทางการแพทย์

ผลติ บุคลากรด้านสาธารณสขุ กระจายแพทย์ไปสู่ชนบท
ให้เพยี งพอในพ้นื ท่ีหา่ งไกล
- ก.สาธารณสุข (พยาบาล/บุคลากร ไม่น้อยกวา่ 7,490 คน
ทางการแพทย)์ ไม่น้อยกว่า 25,900 คน 1,892.14 ล้านบาท

479.60 ลา้ นบาท

- ก.การอดุ มศึกษาฯ (แพทย์/พยาบาล)

ไม่น้อยกวา่ 5,800 คน 2,379.19 ลา้ นบาท

29

เสรมิ สรา้ งใหค้ นมีสุขภาวะท่ดี ี

เสรมิ สร้างความม่ันคงทางสุขภาพ
และบรกิ ารทางการแพทย์ครบวงจร

พัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ พฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การแพทย์ในการวินจิ ฉยั และป้องกนั โรค ครบวงจรและระบบการส่งตอ่

330.47 ลา้ นบาท - พฒั นาระบบบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน
และภัยสุขภาพ ระบบบรกิ าร
- พัฒนาและยกระดบั การบรหิ ารจัดการ การแพทย์ฉกุ เฉินครบวงจรและการสง่ ตอ่
ข้อมลู อ้างองิ ทางห้องปฏบิ ัตกิ าร - พฒั นาคณุ ภาพบรกิ ารการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย
- บูรณาการฐานขอ้ มลู ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ประสานกันเป็นเครอื ข่ายอย่างมี
การแพทย์ และเครอื ข่ายห้องปฏบิ ตั ิการ ประสทิ ธิภาพและต่อเนอื่ ง
เพือ่ ความม่นั คงด้านสขุ ภาพ

พัฒนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม
ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

สมนุ ไพร กัญชา กัญชง เพ่ิมประสิทธภิ าพการวินจิ ฉยั และรกั ษา

สง่ เสริมการผลติ น้ามันกัญชา สาหรับใช้ - พฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลดา้ นสขุ ภาพ
ในโรงพยาบาลสังกัด ก.สาธารณสขุ ทางการแพทย์เฉพาะทาง
- พฒั นาระบบรกั ษาพยาบาลทางไกล
ทว่ั ประเทศ และขับเคลอ่ื นกญั ชา กญั ชง Telemedicine, Telepharmacy,
กระท่อม ทางการแพทย์แผนไทย Telenursing
และการแพทยท์ างเลือก

30

พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้

51,570.9 ลา้ นบาท

และพสัฒง่ เนสารทมิ ักศษักะยทภุกาพชว่ งวยั

พัฒนาทักษะชีวิตและเตรยี มความพรอ้ ม พัฒนาทักษะเฉพาะทางของแรงงานอสิ ระ
เด็กและเยาวชนในศตวรรษที่ 21 ยคุ 4.0 (Gig Worker)

จัดกจิ กรรมและพัฒนาเครือข่ายเดก็ และเยาวชน ฝกึ อบรมทักษะอาชพี ใหแ้ ก่
ผถู้ อื บตั รสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ
ไม่น้อยกวา่ 150,000 คน
ไม่นอ้ ยกวา่ 31,500 คน 210 ล้านบาท
140.84 ล้านบาท
ส่งเสรมิ ศกั ยภาพและพฒั นาอาชีพคนพกิ าร
พฒั นาทกั ษะอาชพี สตรีและครอบครวั
ใหม้ ีอาชพี ทมี่ น่ั คงสามารถดารงชีวิตได้
เพื่อให้สตรมี ีทกั ษะอาชีพ และสามารถประกอบอาชีพ
สรา้ งรายไดอ้ ยา่ งมนั่ คง อย่างมคี ณุ ภาพ ไมน่ ้อยกวา่ 12,000 คน 39.26 ลา้ นบาท

ไม่นอ้ ยกวา่ 12,000 คน 155.09 ล้านบาท

พัฒนาคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ

ผลติ ผูด้ แู ลผสู้ งู อายุ และส่งเสรมิ

การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตของผู้สงู อายุ 160,000 คน

30.11 ล้านบาท

พัฒนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั สรา้ งแพลตฟอร์มการเรยี นรใู้ หม่ด้วยดจิ ิทลั

ส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ผา่ นการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

3 ระบบ 31.17 ลา้ นบาท 2 ระบบ 5 ลา้ นบาท

31

พฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้

พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

- พฒั นาโรงเรียนคณุ ภาพทุกตาบล

8,224 โรงเรียน 5,110.58 ล้านบาท
- สง่ เสริมและพัฒนาสถานศกึ ษาเอกชน
ด้านวิทยาศาสตร์ 550 โรงเรียน 10.20 ล้านบาท

พฒั นาหลักสูตร ประถม พัฒนาศักยภาพครู
กระบวนการเรียนการสอน มธั ยม และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

- จัดการเรียนรสู้ ะเตม็ ศึกษา ให้มีสมรรถนะของ “ครูยคุ ใหม่”

18,000 โรงเรียน 13.50 ลา้ นบาท - พัฒนาครเู พอ่ื การจัดการเรียนรสู้ ่ฐู านสมรรถนะ
- พัฒนาสมรรถนะดา้ นภาษาอังกฤษ
- จดั การเรียนรวู้ ิทยาการคานวณ
- พฒั นาครูใหม้ คี วามเป็นเลิศและเชย่ี วชาญเฉพาะ
(Computing Science) ไมน่ อ้ ยกว่า
(Excellent Teacher) ตามมาตรฐานวิชาชีพ
29,800 โรงเรยี น 14.29 ล้านบาท
ไม่นอ้ ยกว่า 63,000 คน 387.49 ลา้ นบาท

พัฒนาการเรยี นรแู้ ละวิทยาการ

ผลิตบณั ฑติ พันธ์ใุ หม่/อาชีวะพนั ธ์ุใหม่ อาชวี ศึกษา ยกระดับการอาชีวศกึ ษา
อุดมศึกษา
- รองรบั อุตสาหกรรม New Growth Engine - พัฒนาความเป็นเลิศทางอาชีวศึกษา
 ผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ไมน่ ้อยกว่า
ไม่น้อยกวา่ 130 สถานศกึ ษา 150.66 ลา้ นบาท
8,000 คน 761.46 ลา้ นบาท
- ขบั เคลื่อนวทิ ยาลยั เทคโนโลยฐี านวิทยาศาสตร์
 ผลิตอาชวี ะพนั ธ์ใุ หม่ ไมน่ อ้ ยกวา่
ไม่นอ้ ยกวา่ 500 คน 96.29 ลบ.
2,000 คน 69.44 ลา้ นบาท
- ยกระดับการผลิตและพัฒนานักเรียนอาชีวะ
- รองรับการพัฒนาเขตพฒั นาพิเศษ
ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของประเทศ
ภาคตะวนั ออก (EEC) ไม่นอ้ ยกว่า
25,000 คน 98 ล้านบาท
5,000 คน 31.25 ล้านบาท

พัฒนาและผลิตกาลงั คนของประเทศ

รองรบั นโยบาย Thailand 4.0

ไม่น้อยกวา่ 2,000 คน 490.06 ลา้ นบาท

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นการสร้างโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสงั คม

9310 0600 0000 0000 ฿

• สร้างหลักประกันทางสังคม
• สรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา
• สร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสงั คม
• พฒั นาและส่งเสรมิ
เศรษฐกิจฐานราก

33

สรา้ งหลักประกันทางสงั คม

269,465.2 ลา้ นบาท

หลกั ประกันทางสังคม

ระบบประกันสขุ ภาพถว้ นหนา้ 161,602.67 ล้านบาท 47.73
ลา้ นคน
(รวมคา่ บริหารจดั การทางการแพทย์ 56,585.61ล้านบาท) สนับสนุนค่าบริการทางการแพทย์ เพ่ิม ค่าใชจ้ ่ายรายหัว

สทิ ธปิ ระโยชนเ์ พ่ิมเติม จาก 3,260 บาท/ราย เปน็ 3,385.98 บาท/ราย ในปี 2566

บรกิ ารตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง โรคหัวใจ และวัณโรค เพมิ่ ความสะดวกในการเขา้ รบั บริการ

บริการ Intermediate care บริการฉกุ เฉนิ คุณภาพภาครฐั
บริการรักษาภาวะความดนั เลอื ดในปอดสงู ดว้ ยกา๊ ซไนตรกิ ออกไซด์ บริการจา่ ยอุปกรณฯ์ ผ่านหนว่ ยบรกิ ารรับสง่ ต่อเฉพาะดา้ น
ทางการแพทยใ์ นเด็กแรกเกดิ
บริการตรวจ HBeAg ในหญิงตัง้ ครรภท์ ี่มี HBsAg Positive ลดความแออดั ในโรงพยาบาล
บรกิ ารผา่ ตดั รากฟนั เทยี มในผู้สูงอายุ บริการตรวจวัดความดันโลหิตสงู ดว้ ยตนเองทีบ่ า้ น
บรกิ ารใหค้ าปรึกษาทางโทรศัพทส์ ายดว่ นเลกิ บหุ ร่ี

สิทธิประโยชน์เพ่มิ เตมิ ระบบประกันสงั คม 48,514.2 ล้านบาท 24.34
ลา้ นคน
ปรับสิทธิประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ สามารถนาเงนิ
สะสมออกมาใช้กอ่ นได้หรือนาไปเปน็ หลกั ประกนั การกู้เงนิ เพมิ่ สิทธิประโยชน์กรณีทุพพลภาพ ได้รบั เงินทดแทนการขาดรายได้
หรอื เลือกรบั บาเหน็จหรือบานาญชราภาพ จากไมเ่ กินรอ้ ยละ 50 เปน็ ร้อยละ 70 ของคา่ จ้าง

ประกนั เงินบานาญชราภาพขน้ั ตา่ กรณผี ู้รับบานาญเสยี ชวี ิต เพ่ิมสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบตุ ร ไดร้ บั เงินสงเคราะหก์ ารหยดุ งาน
ให้ได้รับเงนิ บานาญครบ 60 เดือน เพอ่ื การคลอดบตุ ร (ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง) จาก 90 วนั เปน็ 98 วัน

สิทธิประโยชน์เพิม่ เติม ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลขา้ ราชการ พนกั งานของรัฐและลูกจา้ ง 76,000 ลา้ นบาท 4.7
ล้านคน

ผมู้ สี ทิ ธิและบุคคลในครอบครัวขอใชส้ ิทธิเบิกคา่ รักษาพยาบาลจากทางราชการไดใ้ นสถานพยาบาลของเอกชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการเบิกจ่ายตรง
ประเภทผูป้ ว่ ยใน กรณนี ัดผ่าตัดล่วงหนา้ จากเดมิ 52 โรค 86 หตั ถการ เพม่ิ เตมิ เป็น 55 โรค 100 หตั ถการ

ปรับปรุงอตั ราการจ่ายค่ารกั ษาพยาบาลประเภทผปู้ ว่ ยในตามหลักเกณฑก์ ลุม่ วนิ ิจฉยั โรคร่วม (DRGs) ฉบบั ที่ 6

ประชาชนได้อะไร ประเทศไดอ้ ะไร

ประชาชนทกุ คนสามารถเขา้ ถึงบรกิ าร ประชากรไดร้ บั ความคุ้มครองและเข้าถงึ บรกิ าร
ทางการแพทย์และสาธารณสุข สุขภาพตามมาตรฐานและไดร้ ับการดแู ล
ทีเ่ หมาะสมอย่างเทา่ เทียมและเปน็ ธรรม
ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า

34

สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา

81,269.0 ลา้ นบาท

จัดการศึกษาโดยไมเ่ สียคา่ ใชจ้ ่าย 15 ปี กองทุนเพื่อความเสมอภาค การศกึ ษาทางไกล
ตั้งแตอ่ นุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ทางการศกึ ษา
ส่งเสริมการเรยี นผา่ นเทคโนโลยี
(ม.ปลาย/ปวช.) โดยสนบั สนนุ ผู้ขาดแคลนทุนทรพั ย์และดอ้ ยโอกาส ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
ค่าจัดการเรยี น การสอน ค่าหนงั สอื เรียน ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือและเขา้ ถงึ ไม่น้อยกวา่ 7,914 โรงเรยี น
การศกึ ษาอย่างครอบคลมุ
ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น คา่ เคร่ืองแบบ 2.68 ล้านคน 6,073.76 ลา้ นบาท 317.65 ล้านบาท
นกั เรียน และคา่ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น

ไม่นอ้ ยกว่า 10.8 ลา้ นคน
79,151.3 ล้านบาท

(รวม อปท. สบศ. สตช. พศ. มกช.)

ผลิตครูเพอื่ พฒั นาท้องถนิ่ สนับสนนุ ทนุ การศกึ ษา
ระดบั อุดมศึกษา
ส่งเสริมและสนับสนนุ ทนุ การศกึ ษา
ผลติ ครูเพ่อื พัฒนาทอ้ งถ่ินใหส้ ามารถ สนบั สนุนทุนการศกึ ษาเพ่ือขยายโอกาส
ทางการศึกษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา
แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ทวั่ ประเทศ ท่ศี กึ ษาในสาขาทขี่ าดแคลน
และเปน็ ความตอ้ งการของพื้นที่
650 โรงเรยี น ไมน่ ้อยกวา่ 2,166 คน ไมน่ ้อยกวา่ 6,040 คน
187.66 ล้านบาท 222.78 ล้านบาท

ประชาชนไดอ้ ะไร ประเทศได้อะไร

ประชาชนทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ สรา้ งหลักประกนั ทางการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานอยา่ งเท่าเทยี มและท่ัวถึง เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าทางสงั คม นาไปสู่
การขบั เคล่อื นการเตบิ โตของประเทศอย่างยั่งยืน

หมายเหตุ: สบศ. = สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ สตช. = สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ พศ. =สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ มกช. = มหาวิทยาลัยการกฬี าแห่งชาติ

สรา้ งโอกาส 35
และความเสมอภาคทางสงั คม

9310 0600 0000 0000 375,723.4 ล้านบาท

เสริมสร้างพลงั ทางสงั คม ยุทธศาสตร์ ม.ราชภฏั เพือ่ การพฒั นาท้องถ่ิน (ศาสตร์พระราชา)
ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและน้อมนาแนวทางพระราชดารสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ
รวมท้งั ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาผา่ น ม.ราชภัฏ จานวน 38 แห่ง 1,184 ลา้ นบาท

สวสั ดกิ ารดา้ นสังคม สนับสนุนเบ้ียยังชีพผสู้ ูงอายุ 11.03 ลา้ นคน 87,580.10 ลา้ นบาท.
ปรับปรงุ ศูนย์พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และส่งเสริมอาชพี ผู้สงู อายุ 22 แห่ง 19.46 ลา้ นบาท.
ผู้สงู อายุ สงเคราะห์ผู้สงู อายใุ นภาวะยากลาบาก 12,500 คน 37.50 ล้านบาท.
สนบั สนนุ ใหผ้ สู้ งู อายุมีงานทาและมีรายได้เพิ่มขึ้น 12,000 คน 13.08 ลา้ นบาท.
ปรับปรงุ ซ่อมแซมบ้านผูส้ งู อายุให้มคี วามเหมาะสมและปลอดภยั 10,000 แหง่ 225 ลา้ นบาท
สนับสนนุ การจัดการศพผ้สู ูงอายตุ ามประเพณี 106,355 ราย 319.07 ลา้ นบาท.

สนับสนุนเบี้ยเดก็ แรกเกิด (0 – 6 ปี) 2.58 ลา้ นคน 16,321.18 ล้านบาท เดก็
สงเคราะห์ครอบครวั ช่วยเหลือเดก็ ขาดแคลนและเดก็ ฝากเล้ียงตามบ้าน
172,625 คน 172.63 ล้านบาท
ชว่ ยเหลือค่าเล้ียงดคู รอบครัวอปุ ถมั ภ์ 5,297 คน 127.13 ล้านบาท

ผู้พิการ สนบั สนนุ เบีย้ ยังชีพความพิการ 2.09 ล้านคน 22,986 ล้านบาท
จดั สิ่งอานวยความสะดวกและบริการสาธารณะสาหรับคนพิการ 20,000 คน 144.42 ล้านบาท

ช่วยเหลือผมู้ รี ายได้น้อยภายใต้โครงการบัตรสวสั ดิการแหง่ รัฐ 13.4 ล้านคน 35,514.62 ล้านบาท

- ลดค่าใชจ้ า่ ยครวั เรอื น (1) 200 บาทต่อเดอื น สาหรับผู้มีรายได้ต้ังแต่ 30,001 – 100,000 บาทตอ่ ปี

(2) 300 บาทตอ่ เดือน สาหรบั ผมู้ รี ายได้ไมเ่ กิน 30,000 บาทต่อปี

- ลดค่ากา๊ ซหุงต้มุ 45 บาท ตอ่ 3 เดือน

- ลดค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทาง 500 บาทตอ่ เดือน (ขสมก./รถไฟฟา้ /บขส./รถไฟ)

เงนิ สงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ท่พี ่งึ 80,000 คน 240 ลา้ นบาท

พัฒนาทอี่ ย่อู าศยั ผ้มู ีรายได้นอ้ ย (บา้ นพอเพยี ง) 25,000 ครัวเรือน 562.50 ล้านบาท ผู้มีรายไดน้ ้อย
ปรบั ปรุงทอี่ ยอู่ าศัยเพอ่ื แก้ปญั หาชมุ ชนแออัด (บา้ นมั่นคง) 3,750 ครวั เรือน 336.75 ล้านบาท

พัฒนาทอี่ ยู่อาศัยชุมชนริมคลองเปรมประชากร 100 ครวั เรือน 42.6 ล้านบาท

การเข้าถงึ แหลง่ เงนิ ทุนของประชาชนในชมุ ชนเพอ่ื สรา้ งอาชพี และรายได้ 173,990 คน 453.76 ลา้ นบาท

ประชาชนได้อะไร ประเทศได้อะไร

ประชาชนทุกคนไดร้ บั ความคมุ้ ครองทาง ประชากรโดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางไดร้ บั
สังคมข้ันพื้นฐานในการเข้าถงึ สวัสดกิ าร ความคมุ้ ครองและมีหลกั ประกนั ทางสังคม

ภาครัฐอย่างเท่าเทียมและทวั่ ถึง และสวัสดกิ ารทางสงั คมที่เหมาะสม
และเป็นธรรม นาไปสกู่ ารยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี

36

พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก

1,474.3 ล้านบาท

เกษตรกรไดร้ ับการถ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านเกษตรอัจฉรยิ ะ ประชาชนได้อะไร
และความรู้เพ่ือเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิต
เพม่ิ โอกาสในการประกอบอาชพี เพื่อสร้าง
อบรมและถา่ ยทอดความรเู้ ทคโนโลยีการเกษตรอจั ฉรยิ ะ ความม่ันคงทางอาชพี และยกระดบั รายได้
(Smart farmer) ไม่นอ้ ยกว่า 33,423 ราย
เกษตรกรได้รบั การพัฒนาและส่งเสริมอาชพี ไมน่ ้อยกว่า 69,102 ราย การเขา้ ถึงแหลง่ เงนิ ทุนเพอื่ พัฒนาและส่งเสริมอาชพี
ในการสรา้ งความเขม้ แขง็ เศรษฐกจิ ชุมชน 15,980 ราย
เกษตรกรและผู้มรี ายได้นอ้ ยไดร้ บั การจดั สรรทีด่ ิน 68.14 ลา้ นบาท
เพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ และความเป็นอยูท่ ีด่ ีขึ้น จดั ทาแผนพฒั นาเกษตรกรรมชุมชนเพ่อื สร้างความเข้มแข็ง

บรหิ ารจัดการทีด่ ินและแก้ไขปญั หาท่ดี นิ ทากนิ 434.51 ล้านบาท เกษตรกรเศรษฐกจิ ฐานรากฯ 2,310 ราย 3.0 ล้านบาท
จดั สรรท่ีดนิ ทากนิ แกเ่ กษตรกรรายยอ่ ยและผดู้ อ้ ยโอกาส สง่ เสริมและพฒั นาอาชพี เพ่ือแกไ้ ขปญั หาทีด่ ินทากินของ
ไมน่ อ้ ยกวา่ 24,000 ราย 243,250 ไร่ 148.41 ลา้ นบาท
ออกโฉนดและจัดหาทด่ี นิ เพอ่ื กระจายการถอื ครอง เกษตรกร 13,670 ราย 83.14 ลา้ นบาท
ทีด่ ินอยา่ งเป็นธรรม 52,100 แปลง 286.10 ล้านบาท

สหกรณ์ รา้ นคา้ ชมุ ชน วิสาหกจิ ชุมชน สถาบนั เกษตรกร/วิสาหกจิ ชมุ ชน
มีรายได้จากการจาหน่ายสินคา้ ชมุ ชน และผูป้ ระกอบการชมุ ชน ได้รับการพฒั นา
ยกระดบั ความสามารถในการดาเนินธรุ กจิ
และมชี อ่ งทางการตลาดเพิม่ ขน้ึ
พัฒนาความเขม้ แข็งของกลุม่ การผลิต
พฒั นาระบบตลาดสนิ ค้าเกษตรและการรวมตัวของสมาชกิ ผู้ประกอบการ และผลิตภัณฑ์ 395.79 ล้านบาท
ในชมุ ชนผา่ นกระบวนการมสี ว่ นร่วม 474.92 ลา้ นบาท เสริมสร้างและพฒั นาองค์กรเกษตรกร สกู่ ารเป็น Smart
Group ไม่นอ้ ยกว่า 600 กล่มุ
พฒั นาชอ่ งทางการตลาดและสร้างโอกาสทางการตลาดด้วย พฒั นากลุ่มเกษตรกรผปู้ ลกู หม่อนเลี้ยงไหม 30 กลมุ่
e-Commerce ส่งเสริมการขายท้งั ออนไลน์และออฟไลน์ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ OTOP 3,800 กลุ่ม/ราย
สง่ เสริมและพัฒนาผลติ ภัณฑช์ มุ ชนให้มีคุณภาพ
พฒั นาตลาดชุมชนเปา้ หมายใหม่ให้เป็นศนู ยร์ วมการเจรจา และมาตรฐาน ไมน่ อ้ ยกว่า 4,700 ผลติ ภัณฑ์
ซ้ือขายสนิ ค้าเกษตรคุณภาพ ไมน่ อ้ ยกวา่ 55 ชอ่ งทาง

เสรมิ สร้างรายได้ดว้ ยเครอื ขา่ ยเกษตรปลอดภยั 20 จงั หวดั

ประเทศได้อะไร

เพิ่มศักยภาพและเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานรากภายในประเทศใหส้ ามารถ
สรา้ งรายไดเ้ พม่ิ ข้ึน และกระจายรายไดส้ ชู่ ุมชน ลดช่องวา่ งความเหล่ือมลา้ ของรายไดป้ ระชาชน

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ
ทเ่ี ป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม

C
BG

PM 2.5

• บริหารจดั การทรัพยากรน้า
• จัดการมลพิษและสง่ิ แวดลอ้ ม

บรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้า 38

54,121.9 ลา้ นบาท

1 จัดหาน้าสะอาด 2 จดั การน้าภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม

 พฒั นา ขยายเขต และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบประปา  ก่อสร้างแหล่งน้า / ระบบกระจายนา้ (ใหม)่ จานวนแหล่งนา้ /
หมูบ่ ้าน 32 แหง่ / 5,400 ครวั เรือน น้าบาดาลเพ่มิ ข้นึ 485 แหง่
- พ้นื ท่ีรบั ประโยชน์จากแหลง่ น้าเพิ่มข้นึ 38,208 ไร่ /
 พัฒนาระบบประปาเมอื งและพนื้ ทเี่ ศรษฐกจิ 84 แห่ง / พื้นที่ชลประทานเพมิ่ ขนึ้ 208,268 ไร่
26,281 ครัวเรือน - ปริมาตรการเก็บกักน้า / ปริมาณน้าตน้ ทนุ เพ่มิ ขนึ้
141.83 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร / 89,743 ครัวเรือน
 พฒั นานา้ อปุ โภคบรโิ ภคให้ได้มาตรฐานและ
ราคาท่ีเหมาะสม 591 แหง่ / 17,700 ครัวเรอื น  เพ่มิ ประสิทธภิ าพแหลง่ นา้ และระบบกระจายนา้ เดมิ
พื้นทรี่ บั ประโยชนเ์ พมิ่ ข้นึ 19,500 ไร่
3 แกป้ ญั หานา้ ทว่ ม
4 แกป้ ัญหาน้าเสยี ฟื้นฟแู หลง่ นา้ ธรรมชาติ
 ปรับปรุงทางนา้ 4 แหง่ ความยาว 18,000 เมตร
 ปอ้ งกันนา้ ทว่ มชมุ ชนเมือง พ้นื ท่ไี ด้รับการปอ้ งกนั และ  เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบาบัดและควบคุม
การระบายนา้ เสยี 333 แหง่
ลดผลกระทบ 142 แหง่ / 336,882 ไร่ /
88,377 ครวั เรอื น 6 จัดทาแผนบริหารจัดการน้า

5 อนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟูพ้นื ท่ีปา่ ตน้ น้า  องคก์ รลุ่มน้า เครอื ขา่ ย ประชาชน ไดร้ ับการพัฒนา
เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการทรพั ยากรน้าครบ 22 ลุ่มน้า
 จานวนพนื้ ท่ีปา่ ที่ไดร้ บั การปลูกฟ้นื ฟู 14,970 ไร่
 จานวนพนื้ ที่ปอ้ งกนั การชะล้าง พังทลายของดนิ ในพ้ืนที่  มีแผนการบริหารจัดการทรพั ยากรน้าทกุ ระดับ

ตน้ น้าและพื้นทล่ี าดชัน 9,076 แห่ง / 108,223 ไร่

ประชาชนได้อะไร

 ครัวเรือนนอกเขตกรงุ เทพมหานครเข้าถึงน้าประปา
 แหลง่ น้าธรรมชาตไิ ดร้ ับการฟนื้ ฟู จดั การน้าเสีย ป้องกันการพังทลายของดนิ
 ปรมิ าณน้าตน้ ทนุ เพิ่มขึน้
 พืน้ ทไี่ ด้รบั การปอ้ งกันและลดผลกระทบจากอุทกภยั ระบายน้าได้เพิ่มข้ึน

ประเทศไดอ้ ะไร

 มีความม่ันคงด้านนา้ เพมิ่ ขน้ึ
 มกี ารบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา้ อยา่ งเป็นระบบและย่ังยืนท้งั น้าบนดินและน้าใต้ดนิ
 ผลิตภาพของน้าเพม่ิ ขึ้นทงั้ ระบบ ในการใช้นา้ อยา่ งประหยดั และสรา้ งมูลคา่ เพิม่

จากการใช้นา้

จดั การมลพิษและสิ่งแวดลอ้ ม 39

567.6 ล้านบาท

มลพิษด้านขยะ 316.09 ลา้ นบาท มลพิษดา้ นอากาศ 145.90 ล้านบาท

 จัดการมูลฝอยติดเชอ้ื ของโรงพยาบาล  สง่ เสรมิ การไถกลบและผลติ ปุ๋ยอนิ ทรีย์เพื่อลดการปล่อย
- ขยะมลู ฝอยตดิ เช้อื ไดร้ บั การกาจดั อย่างถกู วธิ ี กา๊ ซเรือนกระจก
- โรงพยาบาลพฒั นาอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม - พนื้ ที่การเกษตรได้รับการสง่ เสริมการไถกลบ
ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital และผลิตปยุ๋ หมัก 40,000 ไร่

 แก้ไขปัญหาขยะและสง่ิ แวดลอ้ ม  สง่ เสริมการหยดุ เผาในพน้ื ท่กี ารเกษตร
- ตดิ ตามการดาเนินงานตามแผนจัดการ - เกษตรกรไดร้ ับการถา่ ยทอดความรู้ 17,640 ราย
ขยะมลู ฝอยและของเสียอนั ตรายในทกุ จงั หวัด
 แกไ้ ขปัญหาไฟปา่ และหมอกควนั
 บริหารจัดการขยะทะเล - สนบั สนุนการแก้ไขปญั หาไฟป่าและหมอกควนั
- ขยะทะเลได้รับการบริหารจัดการ ไมน่ ้อยกว่า 250 ตนั ใน 17 จังหวัด

 ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หามลพิษจากขยะมูลฝอย  ตรวจสอบและบงั คับใช้กฎหมายกับยานพาหนะ
และของเสยี อนั ตรายชุมชน - ตรวจสอบ ตรวจจับ และห้ามใช้
- ปรมิ าณกากอุตสาหกรรมทเี่ ป็นของเสียอันตราย ยานพาหนะในพืน้ ทีว่ กิ ฤต ไม่นอ้ ยกว่า 12,000 คัน
ไดร้ บั การจัดการ 1.30 ลา้ นตนั ตอ่ ปี
มลพิษด้านนา้ 105.57 ลา้ นบาท
 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มกี ารบริหารจดั การ
ขยะมูลฝอยอยา่ งเป็นระบบ
- ขยะมลู ฝอยชุมชนไดร้ ับการจัดการ
อยา่ งถูกต้องตามหลกั วชิ าการ
- บุคลากรกลุม่ เปา้ หมายมีความตระหนักรเู้ กี่ยวกบั
การจัดการขยะมลู ฝอยอย่างถูกวิธี 9,748 คน

 ระบบบาบดั นา้ เสียรวมของชมุ ชนมปี ระสิทธิภาพดีขึ้น
- น้าเสยี ได้รับการบาบดั ตามมาตรฐานน้าท้ิง
จากระบบบาบัดน้าเสยี ชุมชน 88,000,000 ลูกบาศกเ์ มตร

ประชาชนได้อะไร

 ขยะทะเลได้รบั การจดั การตามหลักวชิ าการและมาตรฐานสากล
 มลพิษจากขยะมูลฝอยและของเสยี อนั ตรายมีจานวนลดลง
 เกษตรกร ได้รบั การถา่ ยทอดความรูก้ ารหยดุ เผาในพนื้ ทีเ่ กษตร
 ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกลดลง
 ประชาชนในพน้ื ที่เปา้ หมายสามารถใช้ชีวิตในเมืองท่ีมีคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ มท่ีดี

ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนา
ระบบบริหารจดั การภาครัฐ

• ต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ
• รฐั บาลดจิ ิทัล
• พฒั นาบริการประชาชน
และการพฒั นาประสทิ ธิภาพภาครฐั
• พัฒนากฎหมาย
และกระบวนการยตุ ธิ รรม

41

ต่อตา้ นการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ
498.0 ลา้ นบาท

ลา้ นบาท

ปลูกฝงั วิธคี ดิ ปลกุ จติ สานึกให้มวี ัฒนธรรม ปอ้ งกันการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
และพฤติกรรมซ่อื สตั ย์สจุ ริต
 ตรวจสอบทรพั ย์สินและหน้สี นิ ของผมู้ ีหนา้ ท่ี
 สร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ยืน่ บญั ชี 33,274 บัญชี
ในสถานศึกษา 338,500 คน
 เสนอมาตรการ ความเห็น ขอ้ เสนอแนะ
 สร้างหนว่ ยงานภาครฐั และรัฐวสิ าหกจิ ปฏบิ ตั งิ าน และพฒั นากลไกการปอ้ งกันการทุจริต
ดว้ ยคุณธรรมและความโปร่งใส ให้เข้มแข็ง 107 โครงการ

 สรา้ งจิตสานึกใหท้ ุกภาคสว่ นมพี ฤติกรรมไม่ยอมรบั  จดั เก็บข้อมูลการจัดซือ้ จัดจา้ งโดยนาร่องกบั
การทจุ ริต 210 ตาบล 25 ลา้ นบาท อปท. ทั่วประเทศ 420 แห่ง

 สร้างแหล่งเรียนรอู้ งค์กรและชุมชนท้องถนิ่ ตน้ แบบ  พัฒนาบุคลากรในการปอ้ งกัน
ดา้ นการทจุ ริต 220 ชมุ ชน 17 ลา้ นบาท และปราบปรามการทุจรติ 7 หลักสูตร

ปราบปรามการทุจริต

 การตรวจสอบและไตส่ วนปราบปรามการทจุ ริตแลว้ เสรจ็
6,728 เรื่อง

 พฒั นาและขับเคลือ่ นกฎหมายปอ้ งกันและปราบปราม
การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ

 การสบื สวน ปราบปรามเพือ่ ดาเนนิ การกบั ทรัพยส์ ินของ
ผู้กระทาความผดิ ต่อตาแหนง่ หน้าที่ หรือทุจริตตอ่ หน้าที่
ตามกฎหมายฟอกเงนิ 16 เรอื่ ง

ประเทศได้อะไร

 ประชาชนและภาคตี า่ ง ๆ ในสงั คมร่วมมอื กนั ในการปอ้ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
 บคุ ลากรภาครฐั ยึดม่ันในหลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความซ่อื สัตย์สจุ รติ
 ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ
 การปราบปรามการทุจริตประพฤตมิ ชิ อบมปี ระสิทธิภาพมคี วามเดด็ ขาด

เป็นธรรม และตรวจสอบได้

42

รฐั บาลดจิ ทิ ลั

2,356.0 ลา้ นบาท

การให้บรกิ ารประชาชนยุคดจิ ิทัล

บริการภาครัฐในรูปแบบดิจทิ ัล 13 แพลตฟอรม์ 1,376 ล้านบาท อาทิ
 แพลตฟอรม์ เฝ้าระวงั สถานการณ์ของโลกอบุ ตั ใิ หม่อุบตั ซิ า้
 แพลตฟอรม์ ข้อมลู สุขภาพแหง่ ชาติ
 แพลตฟอรม์ แบง่ บันข้อมูลพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลมุ่ เดก็ และเยาวชนในครอบครัวเปราะบาง
 แพลตฟอรม์ การเรียนการสอนออนไลน์ที่เข้าถึงโดยสะดวกถ้วนหน้าสาหรบั นักเรยี นพิการ

ทกุ ประเภท
 แพลตฟอรม์ ธนาคารหนว่ ยกิจดิจทิ ัล ภายใต้ระบบ E-Workforce Ecosystem

เพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของกาลงั คนภาคแรงงาน

การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรภาครัฐรองรบั ยุคดจิ ทิ ัล

พฒั นาทกั ษะดิจทิ ลั ของบุคลากรภาครฐั 9 หน่วยงาน ดว้ ยหลักสูตร
ท่ีจาเปน็ 5 ลา้ นบาท อาทิ
 Personal Data Protection Act (PDPA)
 Cyber Security
 Data Governance

การพฒั นาแพลตฟอร์มกลางและโครงสร้างพ้นื ฐานดา้ นดิจทิ ัล

พฒั นาแพลตฟอรม์ กลางดิจทิ ัลภาครัฐ 20 แพลตฟอร์ม 1,976 ลา้ นบาท อาทิ
 ระบบคลาวดก์ ลางภาครฐั
 แพลตฟอร์มกลางข้อมลู ดา้ นบริหารจดั การทรัพยากรนา้
 แพลตฟอรม์ การเรยี นรสู้ าธารณะออนไลน์
 แพลตฟอรม์ อานวยความสะดวกทางธุรกิจ
 แพลตฟอร์มศูนยก์ ลางข้อมูลเปิดและธรรมาภบิ าลข้อมลู ภาครัฐ

ประเทศได้อะไร

 บุคลากรภาครัฐมีความพร้อมใหบ้ ริการประชาชนในรูปแบบรฐั บาลดจิ ิทลั
 ภาครัฐมีแพลตฟอร์มดจิ ิทลั เพ่ือให้บรกิ ารอยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส
 ภาครัฐสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ิทัลไดอ้ ย่างเตมิ ศักยภาพ

43

พัฒนาบริการประชาชน
และการพฒั นาประสิทธิภาพภาครัฐ

28,064.9 ลา้ นบาท

การพฒั นาบรกิ ารประชาชน การสร้างและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั

 การใหบ้ รกิ ารทะเบียน บัตรประจาตัวประชาชน  สนบั สนนุ ทุนนักเรยี นภาครัฐไปศกึ ษาในตา่ งประเทศ
และขอ้ มูลสารสนเทศจากฐานขอ้ มูลทะเบยี นกลาง 500 คน 950 ลา้ นบาท
500 ลา้ นคร้งั 835 ลา้ นบาท

 การให้บริการด้านทะเบียนและรงั วัดทด่ี ินที่บรกิ าร
ให้แก่ประชาชน 13 ลา้ นราย 676 ลา้ นบาท

 ศนู ยช์ ่วยเหลือและจัดการปญั หาการซื้อขายออนไลน์
105 ล้านบาท

 ศนู ยบ์ ริการข้อมลู ภาครัฐเพ่อื ประชาชน
(GCC 1111) 101 ลา้ นบาท

การพฒั นาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ

 จัดทาข้อมูลกลางภาครฐั เชน่ สามะโนการเกษตร
สามะโนธุรกจิ และอตุ สาหกรรม

 จัดทากรอบพัฒนาสถิตแิ ละชุดขอ้ มลู ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม
ตามมาตรฐานสากล 314 ล้านบาท

 จัดการข้อมลู ท่ดี ินเพือ่ การจดทะเบยี นออนไลน์
ท่วั ประเทศ จานวน 6 ลา้ นแปลง
181 ลา้ นบาท

ประเทศได้อะไร

 ภาครัฐสามารถตอบสนองความตอ้ งการและใหบ้ รกิ ารอยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส
 ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
 บคุ ลากรภาครฐั ยดึ ค่านิยมในการทางานเพ่อื ประชาชน มคี ณุ ธรรม

และมีการพัฒนาตามเสน้ ทางความกา้ วหนา้ ในอาชีพ


Click to View FlipBook Version