แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ 2565 – 2567 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
ก บันทึกความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษา เรื่อง เห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ได้จัดท า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567 คณะกรรมการสถานศึกษา มีการประชุมเพื่อเห็นชอบพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2567 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด สระบุรี และมีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ดังนี้ เห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567 ของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ไม่เห็นชอบ เนื่องจาก........................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ลงนาม......................................ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายทองใบ มาลิการ)
ค ค าน า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ได้ด าเนินการตาม นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยได้ จัดท าตามแนวทางวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ที่ได้ก าหนดไว้ เป็นไปตามเป้าหมาย ด้วยความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยการน าผลการปฏิบัติที่ผ่านมาทบทวน พัฒนา ปรับปรุงในการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีประสิทธิภาพตาม บริบทของแต่ละพื้นที่และสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุนจากภาคีเครือข่าย โดยกฎกระทรวง ว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 14 ก าหนดให้สถานศึกษาต้องจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด สระบุรี จึงด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ ประจ าปีงบประมาณ 2565 -2567 เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทที่จะก าหนดเป้าหมายและ แนวทางในการพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาที่ก าหนด สถานศึกษาสามารถจัด การศึกษาบรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมายต่อไป กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ตุลาคม 2564
ค สารบัญ หน้า การอนุมัติแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา................. ...................................................................... ก ค าน า…………………………………………………………………………………………………………………………….. ข สารบัญ……………………………......................................................................................................... ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน.......................................................................................1 ข้อมูลพื้นฐานอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ..…….……….………………………………………………… 1 ข้อมูลพื้นฐานกศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ..…….……….…………………………………………… 4 ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา………….…………………………………………………..…….. 4 สถานที่ตั้ง……………………..…………………………….……….…………………………………………. 4 โครงสร้าง กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ............……………………..…………………………….. 5 อ านาจและหน้าที่ของ กศน.อ าเภอ.............................................................................. 6 คณะกรรมการสถานศึกษา............................................................................................. 6 ข้อมูลบุคลากร................................................................................................................ 7 ท าเนียบผู้บริหาร............................................................................................................ 7 การประเมินคุณภาพการศึกษา...................................................................................... 7 ข้อมูลสถิติจ านวนนักศึกษา........................................................................................... 7 กศน.ต าบลในสังกัด....................................................................................................... 8 ข้อมูลห้องสมุดประชาชนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ........................................................... 8 แหล่งเรียนรู้ในชุมชน..................................................................................................... 9 ส่วนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา……………….….…………………………………………………..……. 12 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)............................................................... 13 แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579).................................................... 14 นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ....................................................15 การวิเคราะห์ SWOT ส านักงาน กศน.จังหวัด ............................................................. 20 ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา …………………………………………………………………………… 23 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ......................................... 23 การวิเคราะห์SWOT กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ…………………………………………………29 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา…………………………………………………...........31 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3 ปี ………………………………………………….......................33
ค สารบัญ (ต่อ) ส่วนที่ 4 การน าแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติ………………………………………………………………………… 38 การน าแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติ ………………………………………………………………………….. 38 เงื่อนไขสู่ความส าเร็จ ………………………………………………………………...............………….. 39 คณะผู้จัดท า ค าสั่งคณะท างานจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ข้อมูลพื้นฐานของอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ อาณาเขต อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดสระบุรีห่างจากตัวจังหวัดสระบุรีระยะทาง 9 กิโลเมตร อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ระยะทาง 117 กิโลเมตร สภาพด้านชุมชน อ าเภอเฉลิมพระเกียรติแบ่งออกเป็น 6 ต าบล 1 เทศบาล คือ ต าบลหน้าพระลาน ต าบล พุแค ต าบล ห้วยบง ต าบลบ้านแก้ง ต าบลเขาดินพัฒนา ต าบลผึ้งรวง และเทศบาลต าบลหน้าพระลานประชากรส่วนใหญ่ ร้อยละ 45 ประกอบเกษตรกรรม ร้อยละ 38 อาชีพรับจ้างในภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเกี่ยวกับหิน และ วัสดุ ก่อสร้างตามมาหลายอย่าง เช่น โรงงานย่อยหินไทย โรงงานปูนขาว โรงโม่หินในเขตต าบลหน้าพระลาน และต าบล พุแค ประชากรอาชีพพาณิชยกรรม และอาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 17เนื่องจากสภาพพื้นที่กว่าร้อยละ 20 ในเขตต าบลหน้าพระลาน ต าบลพุแค เป็นภูเขาหินปูน บ่อลูกรัง มีแร่ธาตุมากจึงท าให้เกิดกิจการ อุตสาหกรรม กิจการขนส่ง หัตถกรรมหินอ่อน ซ่อมเครื่องยนต์การรับจ้างอื่นๆ และอาชีพทางการเกษตร การ ลงทุนด้านอุตสาหกรรม สภาพด้านสังคม เป็นประชากรในพื้นที่มีเชื้อสายไท-ยวน มีภาษาถิ่นคือภาษาไทยวน สังคมที่ผสมผสานทางวัฒนธรรม เนื่องจากประชากรประชากรแฝงที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นฐานเข้ามาท างาน ในโรงงาน หรือรับจ้างขับรถบรรทุก ปัญหาสังคมส่วนใหญ่จึงมาจากผลพวงของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ที่ไม่สมดุล เช่น ปัญหามลภาวะ แวดล้อม ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรปัญหายาเสพติด ปัญหาชุมชนแออัด ปัญหาคนว่างงาน ปัญหาความ ขัดแย้งทางวัฒนธรรม และความเป็นอยู่แบบวิถีชีวิตสังคมท้องถิ่นแบบดั้งเดิมกับการเปลี่ยนแปลง เติบโตใน แบบสังคมอุตสาหกรรม
2 แผนที่อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
3 ข้อมูลด้านประชากรจ าแนกตามเพศและเขตพื้นที่ต าบล ต าบล ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ต าบลหน้าพระลาน 3,853 3,918 7,834 ต าบลเขาดินพัฒนา 1,697 1,735 3,432 ต าบลบ้านแก้ง 1,842 2,002 3,844 ต าบลผึ้งรวง 1,390 1,474 2,864 ต าบลพุแค 3,268 3,438 6,706 ต าบลห้วยบง 2,427 2,635 5,062 รวม 6 ต าบล 14,477 15,202 29,742 จ านวนผู้พิการจ าแนกตามประเภทความพิการ ประเภทผู้พิการ จ านวนผู้พิการ (คน) ชาย หญิง รวม -ทางสมอง 65 43 108 -ทางสายตา 24 21 45 -ทางร่ายกาย 354 310 664 -พิการซ้ าซ้อน 37 55 92 รวม 480 429 909 กลุ่มผู้พิการจากตารางข้อมูลจ านวนคนพิการในพื้นที่อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จ าแนกประเภทความ พิการ ส่วนใหญ่มีความพิการทางด้านร่างกาย ทางสมอง พิการซ้ าซ้อน ทางสายตา ตามล าดับ
4 จ านวนประชากรจ าแนกตามระดับการศึกษา (จ านวนประชากรที่อยู่จริง 22,527 คน) การศึกษา จ าแนกตามระดับการศึกษา ชาย หญิง รวม ไม่เคยศึกษา 232 300 532 อนุบาล/ศูนย์เด็กเล็ก 236 206 442 ต่ ากว่าประถมศึกษา (ป.4) 810 904 1,714 ประถมศึกษา 3,194 3,631 6,825 ม.ต้น 2,637 2,423 5,060 ม.ปลาย 1,855 1,921 3,776 อนุปริญญา 1,272 854 2,126 ปริญญาตรี 692 1,283 1,975 สูงกว่าปริญญาตรี 33 44 77 รวม 10,961 11,566 22,527 ประวัติความเป็นมาของ กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ เดิมศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติมีสถานะเป็นสถานศึกษาใน สังกัด ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสระบุรีตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเรื่องจัดตั้งศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2540 โดยใช้ศาลา เอนกประสงค์วัดมงคลชัยพัฒนาเป็นที่ท าการชั่วคราวเมื่อปี2541ได้ย้ายจากศาลาเอนกประสงค์วัดมงคลชัย พัฒนา มาท าการอยู่ที่ว่าการอ าเภอเฉลิมพระเกียรติในเดือนกันยายน กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดสรร งบประมาณก่อสร้างอาคาร 2 ชั้น พื้นที่ชั้นบนใช้เป็นห้องสมุดประชาชนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติและชั้นล่างเป็น ที่ท าการศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติและได้ย้ายเข้ามาท าการตั้งแต่เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์2542 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2551 ได้มีการประกาศใช้ พรบ.การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี สถานที่ตั้ง อยู่เลขที่ 99/8 หมู่ที่ 2 พื้นที่เขตต าบลเขาดินพัฒนา อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด สระบุรี รหัสไปรษณีย์ 18000 โทรศัพท์ 036-275-917 โทรสาร 036-275-917 E-mail : [email protected]
โครงสร้างการด าเนินงาน ก ผู้อ านว กลุ่มจัดการศึกษ กลุ่มอ านวยการ งานอ านวยการ งานพัฒนาวิชาการ งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานธุรการและสารบรรณ งานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ งานอาคารสถานที่ งานบุคลากร/สวัสดิการ งานประชาสัมพันธ์ งานเลขานุการ/คกก.สถานศึกษา งานประกันคุณภาพ งานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน/ict งานแผนงาน/โครงการ งานนิเทศติดตามและประเมินผล งานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม งานเลขานุการสถานศึกษา งานส่งเสริมการรู้หนังสือ งานทะเบียนนักศึกษา งานวัดผล/ประเมินผล งานพัฒนาหลักสูตร/สื่อ/นวัตก งานพัฒนาคุณภาพผู้เรียน งานประเมินการรู้หนังสือ
5 กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการ พิเศษ น งานการศึกษาต่อเนื่อง งานการศึกษาตามอัธยาศัย งานส่งเสริมภาคีเครือข่าย อ กรรม น อ งานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ/อาชีพชั้นเรียน/1อ าเภอ 1อาชีพ) งานการศึกษาต่อเนื่อง งานทักษะชีวิต งานพัฒนาสังคมและชุมชน งานเศรษฐกิจพอเพียง งานห้องสมุดประชาชน งานแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา งานส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัคร ส่งเสริมการอ่าน งานการศึกษาเคคื่อนที่ งานศูนย์ให้ค าปรึกษา/แนะแนว งานพัฒนา กศน.ต าบล/ 4 ศูนย์การเรียนรู้ งานโครงการพิเศษ งานอาสาสมัคร กศน. งานลูกเสือ/ยุวกาชาด/จิตอาสา
6 อ านาจและหน้าที่ของ กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ อ านาจและหน้าที่ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสระบุรี มีอ านาจและหน้าที่ดังนี้ 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 3. ด าเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 5. จัด ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ด าเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 8. ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ด าเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด 12. ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ 1. นายทองใบ มาลิการ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ประธานกรรมการ 2. พระวิสิฐคณาภรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านศาสนาศิลปวัฒนธรรม กรรมการ 3. นางสาวนาตยา ชัยยะ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านพัฒนาสังคมชุมชนสิ่งแวดล้อม กรรมการ 4. นายณรงค์ พุทธิษา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านความมั่นคง กรรมการ 5. นายภคพล วงษ์สง่า ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านการเมืองการปกครอง กรรมการ 6. นางชลอศรีอินต๊ะ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ 7. นายสมยศ ศิริมงคล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น กรรมการ 8. นางศิริกร นวลแดง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสาธารณสุข กรรมการ 9. นางนงนุช ไทยภักดี ผอ. กศน. อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ กรรมการและเลขานุการ
7 ข้อมูลบุคลากร กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ประเภท/ต าแหน่ง ระดับการศึกษา ต่ ากว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจ านวน ผู้บริหาร/ข้าราชการครู - 1 1 - 2 บุคลากรทางการศึกษา - - - - - ลูกจ้างประจ า - - - - - พนักงานราชการ - 8 - - 8 ครูศูนย์การเรียนชุมชน - - - - - อัตราจ้าง (บรรณารักษ์) - 1 - - 1 รวมจ านวน - 10 1 - 11 ท าเนียบผู้บริหาร 1. นายวีระ จ าปาเกตุกุล ด ารงต าแหน่ง 1 เมษายน 2540 ถึง 30 กันยายน 2545 2. นายวิระ บุญประสิทธิ์ ด ารงต าแหน่ง 1 ตุลาคม 2545 ถึง 16 พฤษภาคม 2548 3. นายสมจิตร กองสุข ด ารงต าแหน่ง 17 พฤษภาคม 2548 ถึง 5 ตุลาคม 2552 4. นางสาวฉัฐนันท์ ฉันทกุล ด ารงต าแหน่ง 6 ตุลาคม 2552 ถึง 2 ตุลาคม 2555 5. นางภัทรมน เยี่ยงไธสงค์ ด ารงต าแหน่ง 3 ตุลาคม 2555 ถึง 8 พฤศจิกายน 2562 6. นางนงนุช ไทยภักดี ด ารงต าแหน่ง 6 มกราคม 2563 ถึงปัจจุบัน การประเมินมาตรฐานการศึกษา 1. กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ผ่านการประเมิน สมศ.รอบที่ 4 ปี 2564 2. กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ผ่านการประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2562 ข้อมูลสถิติจ านวนนักศึกษา สถิติจ านวนนักศึกษา กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติแยกรายภาคเรียน รายละเอียด ดังนี้ ภาค เรียน ประถมศึกษา รวม ม.ต้น รวม ม.ปลาย รวม รวม ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ทั้งหมด 1/63 10 5 15 74 38 112 74 60 134 261 2/63 7 5 12 88 36 124 75 65 140 276 1/64 5 8 13 60 40 100 68 67 135 248 2/64 3 8 11 50 44 94 63 58 121 226
8 กศน.ต าบลในสังกัด ที่ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ 1. กศน.ต าบลหน้าพระลาน อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหลังเก่าเทศบาล ต าบลหน้าพระลาน เลขที่ 1/2 หมู่ที่ 2 ต าบลหน้าพระลาน อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี นายปกรณ์ บริบูรณ์ 2. กศน.ต าบลพุแค อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหลังเก่า หมู่ที่ 1 ต าบลพุแค อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี นางสมฤดี บริบูรณ์ 3. กศน.ต าบลเขาดินพัฒนา อาคารศูนย์ทอผ้าต าบลเขาดินพัฒนา หมู่ที่ 2 ต าบลเขาดินพัฒนา อ าเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสระบุรี นางณันทรัตน์ ชูวงษ์ 4. กศน.ต าบลห้วยบง อาคารโรงเรียนวัดมงคล(หลังเก่า) เลขที่ 45 หมู่ที่ 5 ต าบลห้วยบง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี น.ส.กัญญาณัฐ แก้งวัง 5. กศน.ต าบลบ้านแก้ง อาคารโรงเรียนวัดสุนันทาราม หมู่ 3 ต าบลบ้านแก้ง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี นายมนัส ดีวงษ์ 6. กศน.ต าบลผึ้งรวง อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต าบลผึ้งรวง เลขที่ 111 หมู่ 1 ต าบลผึ้งรวง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสระบุรี นางสาววีณา งามข า ข้อมูลห้องสมุดประชาชนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ห้องสมุดประชาชนอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ตั้งที่อยู่เลขที่ 99/8 หมู่ที่ 2 พื้นที่ต าบลเขาดินพัฒนา อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี 18000 โทรศัพท์ 036-275-917 โทรสาร 036-275-917 โดยมี นางสาวอังศุมาลิน หงส์สถิตวงค์ บรรณารักษ์จ้างเหมาบริการ เป็นผู้ให้บริการ เปิดให้บริการวันอาทิตย์– วัน ศุกร์เวลา 08.30-16.30 น.ปิดวันเสาร์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มีมุมให้บริการส่งเสริมการอ่านและกิจกรรม ส่งเสริมการอ่าน ดังนี้ 1)มุมนิทรรศการในหลวงรัชกาลที่ 9 2) มุมนิทรรศการสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3)มุมเด็ก 4)มุม ICT สืบค้นข้อมูลและบริการ Wifi
9 Free 5)มุมหนังสือใหม่ 6)มุมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ 7)มุมหนังสือวารสาร 8)มุมหนังสือพิมพ์ 9) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน และทุนทางสังคมที่สามารถน ามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ประเภทบุคคล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทาง สังคม-วัฒนธรรมและต้นทุนงบประมาณ 1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ ที่ ชื่อ - สกุล ความสามารถประสบการณ์ ที่อยู่ 1. นายประพันธ์ ค าธิระ หัตถกรรมหินอ่อน ม.8 ต.หน้าพระลาน 2. นางอารีย์ ทองมี ตัดเย็บเสื้อผ้า ม. 2 กลุ่มสตรีต.หน้าพระลาน 3. นางศรีวภา แม้นบุตร การทอผ้าฝ้าย ต.ห้วยบง 4. นางค าพาน พิษณุทนงศักดิ์ งานศิลปะประดิษฐ์ ต.บ้านแก้ง 5. นายอ านาจ ข ามาลัย เศรษฐกิจพอเพียงทฤษฎีใหม่ โครงการทฤษฎีใหม่ ต.ห้วยบง 6. น.ส.นารีรัตน์ อุทัยแสงสกุล กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ม.1 พุแค 7. นายโต ษรเสวี หมอดิน ม.4 ต าบลพุแค 8. นางบัวดอก เมฆา ขนมพื้นเมือง ต าบลเขาดินพัฒนา 9. นางชลอศรี อินต๊ะ การทอผ้าพื้นเมือง ต าบลเขาดินพัฒนา 10. นางสาวณัฐชา แก้ววิมล การปลูกอินทผาลัม ต าบลหน้าพระลาน 11. นายวิทยา แสนใจ เกษตรปลอดสารพิษ ต าบลพุแค 12. นายบุญจันทร์ เชื้อกล้า เกษตรผสมผสาน ม.1 ต าบลผึ้งรวง 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่ ที่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 1. การทอผ้าบ้านเขาดินพัฒนา การทอผ้าบ้าน ต าบลเขาดินพัฒนา 2. กลุ่มขนมกระยาสารท บ้านตั้งใหม่มงคล การท าขนมพื้นบ้าน ต าบลเขาดินพัฒนา 3. ศูนย์วิจัยพลังงานจากไม้ การท าเตาเผาถ่าน ต าบลพุแค 4. การท าผ้าฝ้ายทอมือกลุ่มบ้านห้วยบง การท าผ้าฝ้ายทอมือ ต าบลห้วยบง 5. โครงการทฤษฎีใหม่ วัดมงคลชัยพัฒนา ทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง ต าบลห้วยบง 6. กลุ่มสตรีตัดเย็บเสื้อผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า ต าบลหน้าพระลาน 7. การท าหัตถกรรมหินอ่อน รัตนาหินอ่อน หัตถกรรมหินอ่อน ต าบลหน้าพระลาน 8. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน คุกกี้ทานตะวัน วิสาหกิจชุมชน ต าบลพุแค 9. สวนพฤษศาสตร์พุแค พฤษศาสตร์ ต าบลพุแค 10. ไร่เกษตรสีทอง การปลูกอินทผาลัม ต าบลหน้าพระลาน
10 3. แหล่งสนับสนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนต าบลหน้าพระลาน ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี องค์การบริหารส่วนต าบลพุแค ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติจ.สระบุรี องค์การบริหารส่วนต าบลห้วยบง ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี องค์การบริหารส่วนต าบลเขาดินพัฒนา ต.เขาดินพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี องค์การบริหารส่วนต าบลผึ้งรวง ต.ผึ้งรวง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านแก้ง ต.บ้านแก้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี เทศบาลต าบลหน้าพระลาน ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนเทพศิรินทร์ (พุแค) ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนหน้าพระลาน (พิบูลสงเคราะห์) ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนวัดมงคล ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนวัดห้วยบง ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนวัดสุวรรณทาราม ต.บ้านแก้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนบ้านหนองจาน ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนบ้านคุ้งเขาเขียว ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนบ้านเขารวก ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนวัดพุแค ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนวัดวังเลน ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ โรงเรียนวัดสาธุประชาสรรค์ ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงเรียนบ้านห้วยหินขาว ต.เขาดินพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จ.สระบุรี ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี สวนพฤกษศาสตร์ ภาคกลาง (พุแค) ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ต.เขาดินพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี วัดมงคลชัยพัฒนา ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ศูนย์ OTOP สระบุรี (พุแค) ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี กลุ่มอาชีพสตรี (ตัดเย็บเสื้อผ้าต าบลหน้าพระลาน) ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี สถานีต ารวจภูธรอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ต.เขาดินพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี
11 ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ สถานีต ารวจภูธรต าบลหน้าพระลาน ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โครงการพัฒนาพื้นที่ทฤษฎีใหม่ วัดมงคลชัยพัฒนา ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาดินพัฒนา ต.เขาดินพัฒนา อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านแก้ง ต.บ้านแก้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลผึ้งรวง ต.ผึ้งรวง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลพุแค ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลห้วยบง ต.ห้วยบง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหน้าพระลาน ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี
12 ส่วนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี มุ่งเน้น พัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กล่าวถึงแนวทางจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้หลายประการ เช่น หลักการจัดการศึกษาเป็น การศึกษาตลอดชีวิต ส าหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การพัฒนาสาระและ กระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไป อย่างต่อเนื่อง (มาตรา 8) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น (มาตรา 9 (6)) การจัดการศึกษาต้องยึดหลักการว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนา ตนเองได้และถือว่า ผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ (มาตรา22) การจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ก าหนดไว้ว่า ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ด าเนินการ ดังต่อไปนี้ (มาตรา24) คือ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของ ผู้เรียน โดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ เผชิญ สถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา 3) การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ท าได้คิดเป็น ท าเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอ านวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้ง สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ การเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ 6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการ ประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตาม ศักยภาพ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ในมาตรา 7 มี เป้าหมายส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ เพื่อ 1) ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง พัฒนา ศักยภาพก าลังคนและก าลังสังคม ที่ใช้ความรู้และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคงและคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ2) ภาคีเครือข่ายเกิดแรงจูงใจ และมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมเพื่อจัดกิจกรรมการศึกษาและในมาตรา 8 มีเป้าหมายส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อ 1) ให้ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอื้อต่อการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 2) ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจ าเป็นในการยกระดับคุณภาพ ชีวิต ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 3) ผู้เรียนสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ และเทียบโอนผลการเรียนกับการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ
13 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ (5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ (6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐบาลหลักด้านการศึกษา นโยบายที่ 4 การศึกษาและเรียนรู้การทะนุบ ารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม 4.1จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ 4.2 ในระยะเฉพาหน้าจะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา 4.3 ให้องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน ทั่วไปมีโอกาสร่วมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและทั่วถึง 4.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.5 ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน 4.6 พัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพและมีจิตวิญญาณของความเป็นคน 4.7 ท านุบ ารุงและอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ สนับสนุนให้องค์กรทาง ศาสนามีบทบาทส าคัญในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างสันติสุขและความ ปรองดองสมานฉันท์ในสังคมไทยอย่างยั่งยืน 4.8 อนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถิ่น ภูมิปัญญา ท้องถิ่น รวมทั้งความหลากหลายของศิลปวัฒนธรรมไทย 4.9 สนับสนุนการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านและ วัฒนธรรมสากล 4.10 ปลูกฝังค่านิยมและจิตส านึกที่ดี
14 แผนการศึกษาแห่งชาติ20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่2 การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
15 นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้ก าหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อย ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึง ปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริม ศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุ ปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส่วน นโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบาย เร่งด่วนเรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง แห่งชาติ (พ.ศ.2562-2568) โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประชาชนจะได้รับการ พัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ได้ก าหนดนโยบายและจุดเน้น ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อเป็นเข็มมุ่งของหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการด าเนินงานให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ของแผนต่างๆ ดังกล่าว ส านักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ค านึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจายอ านาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการท างานและการเรียนรู้ ตลอดจนใช้ ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การ จัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะ
16 น าไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้บริการส าหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ โดยได้ก าหนด นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดังนี้ หลักการ กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ 1.1 น้อมน าพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องใน การปกครองระบบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมถึงการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศสอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมถึง ปรับลดความหลากหลายและความซ้ าซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษาส าหรับกลุ่มเป้าหมายบนพื้นที่ สูง พื้นที่พิเศษ และพื้นที่ชายแดน รวมทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ ความส าคัญกับการเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมิน สมรรถนะผู้เรียนให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพ ผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอ านาจไปยังพื้นที่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
17 1.6 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับ กลุ่มเป้าหมายที่สามารถเรียนรู้ได้สะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อการเรียนรู้ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้อง ตามกฏหมายง่ายต่อการสืบค้นและน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ 1.8 เร่งด าเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอน หน่วยกิตเพื่อการสร้างโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การก ากับ ติดตาม ทั้งในระบบ OnSite และ Online รวมทั้งส่งเสริมการวิจัยเพื่อเป็นฐานในการพัฒนาการด าเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วง วัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสม กับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้น ที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้อง กับบริบทพื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงา และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริม ความรู้สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และ ช่องทางการจ าหน่าย 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุ เพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการด ารงชีวิตที่เหมาะกับช่วงวัย 2.5 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการออทิสติก เด็กเร่ร่อน และผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ
18 2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษา ให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียน เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ 2.7 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน กศน. 2.8 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตในชุมชน 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและ เผยแพร่เพื่อให้หน่วยงาน/สถานศึกษา น าไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สถานศึกษา เช่นสถาบัน กศน. ภาค สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร สถานศึกษาขึ้นตรงสังกัดส่วนกลาง กลุ่มส านักงาน กศน.จังหวัด ศูนย์ฝึกและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตลอด ชีวิตในพื้นที่ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ต าบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้า หลวง” (ศศช.) ให้เป็นพื้นที่การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ส าคัญของชุมชน 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชนที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตรา การอ่านและการรู้หนังสือของประชาชน 3.4 ให้บริการวิทยาศาสตร์เชิงรุก Science@home โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือน า วิทยาศาสตร์สู่ชีวิตประจ าวันในทุกครอบครัว 3.5 ส่งเสริมและสนับสุนนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ในรูปแบบ Public Learning Space/Co-Learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคม 3.6 ยกระดับและพัฒนาศูนย์ฝึกอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เป็นสถาบันพัฒนา อาชีพระดับภาค 3.7 ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานของกลุ่ม กศน.จังหวัดให้มีประสิทธิภาพ 4. ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาทโครงสร้างของหน่วยงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตามกฏหมาย
19 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ค าสั่ง และข้อบังคับต่างๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการ บริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้เช่น การปรับหลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการจัดหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 4.3 ปรับปรุงแผนอัตราก าลัง รวมทั้งก าหนดแนวทางที่ชัดเจนในการน าคนเข้าสู่ต าแหน่ง การย้าย โอน และการเลื่อนระดับ 4.4 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานต าแหน่งให้ ตรงกับสายงาน และทักษะที่จ าเป็นในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 4.5 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษา ให้มีความครอบคลุม เหมาะสม เช่นการปรับค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของผู้พิการ เด็กปฐมวัย 4.6 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา เพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็น ระบบ เช่น ข้อมูลการรายงานผลการด าเนินงาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเร่ร่อน ผู้พิการ 4.7 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการอย่างเต็ม รูปแบบ 4.8 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คุณภาพและความโปร่งใสการด าเนินงานของภาครัฐ (ITA) 4.9 เสริมสร้างขวัญและก าลังใจ ให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ประกาศเกียรติคุณ การมอบโล่/วุฒิบัตร 4.10 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส าหรับประชาชน ทิศทางการด าเนินงานของส านักงาน กศน.จังหวัดสระบุรี ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี ได้ประชุมบุคลากร เพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการก าหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจาก สภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานซึ่งเป็นจุดยืนหรือจุดเริ่มต้นของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของส านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี อันเป็นปัจจัยต่อการส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัด เพื่อน าผลไปใช้ในการก าหนดทิศทางการ ด าเนินงานของหน่วยงาน ซึ่งได้ผลการประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน ดังนี้
20 การวิเคราะห์ SWOT องค์กรของ ส านักงาน กศน. จังหวัดสระบุรี จุดแข็ง(สภาพแวดล้อมภายใน) 1. บุคลากรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ตามโครงสร้างของส านักงาน กศน.จังหวัด 3. บุคลากรมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับสถานศึกษาในสังกัด 4. บุคลากรมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ 5. มีการจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาในสังกัดอย่างเพียงพอและทั่วถึง 6. มีอาคาร สถานที่ สิ่งอ านวยความสะดวกอย่างเพียงพอในการสนับสนุนสถานศึกษา 7. ให้บริการในการด าเนินงานของสถานศึกษา เช่น ยานพาหนะ บุคลากร 8. มีการก ากับติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานต่อเนื่องสม่ าเสมอ จุดอ่อน(สภาพแวดล้อมภายใน) 1. ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาสังกัดส านักงาน กศน.จังหวัดสระบุรีขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากสถานศึกษาส่วนหนึ่งยังไม่น าผลการประกันคุณภาพมาเป็นแนวทางการพัฒนา 2. ส านักงาน กศน.จังหวัดไม่สามารถเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามก าหนดเวลาเนื่องจาก สถานศึกษา เบิกจ่ายล่าช้า โอกาสในการพัฒนา (สภาพแวดล้อมภายนอก) 1. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณอย่างเพียงพอ 2. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และนโยบายของรัฐบาลให้ความส าคัญกับการศึกษา ซึ่งเอื้อต่อการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษามากขึ้น 3. มีแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น/แหล่งประวัติศาสตร์จ านวนมาก ที่สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) 5. มีการกระจายอ านาจให้กับสถานศึกษาบริหารจัดการได้ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง 6. ความก้าวหน้าของสื่อเทคโนโลยี ช่วยให้ครู/อาจารย์ ผู้เรียนและประชาชนสามารถใช้เป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างกว้างขวาง
21 อุปสรรค(สภาพแวดล้อมภายนอก) 1. สถานศึกษาบางแห่งมีระยะทางไกล ท าให้การติดต่อประสานงานในภารกิจเร่งด่วนเกิดความล่าช้า 2. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีหนังสือจ าแนกประเภทวัสดุส านักงาน และยกเลิกการ จัดซื้อครุภัณฑ์ต่ ากว่าเกณฑ์ ท าให้ไม่เอื้อต่อการด าเนินงาน 3. การก าหนดแนวทางในการด าเนินงานตามนโยบายมีความล่าช้า ท าให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตาม ก าหนดเวลา จากผลการประเมินสถานการณ์ของส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดสระบุรีโดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของหน่วยงานดังกล่าว ข้างต้น ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรีสามารถน ามาก าหนด ทิศทางการด าเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ และ กลยุทธ์ ดังนี้ ปรัชญา “ปรัชญาคิดเป็น บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ มุ่งส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ ทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ เน้นการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจัดกระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบัติ หน้าที่ 2. สรรหา และบรรจุแต่งตั้งบุคลากร ตามต าแหน่งที่ต้องการ 3. จัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษาในสังกัดอย่างเพียงพอและทั่วถึง 4. ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาให้ด าเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 5. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 6. ส่งเสริม สนับสนุน ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 7. นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานต่อเนื่องสม่ าเสมอ
22 เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดตามความส าเร็จ 1. บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจัด กระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบัติหน้าที่ 1. ร้อยละของบุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจัด กระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบัติหน้าที่ 2. มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ตามต าแหน่งที่ต้องการ 2. ร้อยละของบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ตามต าแหน่งที่ ต้องการ 3. สถานศึกษาได้รับงบประมาณในการด าเนินงาน อย่างเพียงพอ 3. ร้อยละของสถานศึกษาได้รับงบประมาณในการ ด าเนินงานอย่างเพียงพอ 4. สถานศึกษามีการด าเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ร้อยละของสถานศึกษามีการด าเนินงานอย่างมี ประสิทธิภาพ 5. สถานศึกษาได้รับการส่งเสริม สนับสนุนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท าให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 5. ร้อยละของสถานศึกษาจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยท าให้เกิดสังคมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิต 6. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่ เข้มแข็งเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพโดยต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพจากภายนอก 6. ร้อยละของสถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพ ภายในที่เข้มแข็งเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพจาก ภายนอก 7. สถานศึกษาด าเนินงานอย่างเป็นระบบ ตามกระบวนการท างานอย่างมีคุณภาพ (PDCA) 7. ร้อยละของสถานศึกษาด าเนินงานอย่างเป็นระบบ ตามกระบวนการท างานอย่างมีคุณภาพ (PDCA) กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพบุคลากร กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมและสนับสนุนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาระบบนิเทศติดตามและประเมินผล
23 ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากผลการประเมินสถานการณของสถานศึกษา โดยการวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของสถานศึกษาดังกลาวขางตน สถานศึกษาสามารถน ามาก าหนดทิศทางการด าเนินงาน ของสถานศึกษา ไดแก ปรัชญา วิสัยทัศนพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงคกลยุทธแนวทางการ พัฒนา และตัวชี้วัดความส าเร็จ ดังนี้ ปรัชญา คิดเป็น เน้นผลงาน ประสานชุมชน พัฒนาตนเอง วิสัยทัศน์ กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติเป็นองค์กรหลักในการจัดให้ประชาชนได้รับการศึกษาตลอดชีวิตที่มี คุณภาพ อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้มีการบริหารโดยหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตเศรษฐกิจและสังคมอย่างพอเพียง อัตลักษณ์ อยู่อย่างพอเพียง อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง การด ารงชีวิตที่พอประมาณ ความมีเหตุผล ซื่อตรง ไม่โลภมาก อยู่เป็นสุข อาจจะมีของหรูหราก็ได้แต่ไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณ พูดจาก็พอเพียง ท าอะไรก็พอเพียง พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพเพื่อยกระดับการศึกษา สมรรถนะในการเรียนรู้และการแก้ปัญหาพัฒนาอาชีพคุณภาพชีวิตและสังคมของประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่า เทียม 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของภาคีเครือข่าย 3. พัฒนาสื่อการศึกษาและส่งเสริมการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้สามารถด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
24 เป้าประสงค์และตัวชี้วัดตามความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 1. ประชาชนสามารถเขาถึงบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการเรียนรูตลอดชีวิต ที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอยางทั่วถึง 1. ร้อยละประชาชนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการ เขาถึงการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน 2. ร้อยละแหลงเรียนรูสื่อและนวัตกรรมการเรียนรูมีคุณภาพ และมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยไมจ ากัดเวลา และสถานที 3.ร้อยละการเขารับบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานใหแกผูเรียนในทุกพื้นที่ ครอบคลุมผูที่มีความตองการ จ าเปนพิเศษ 4. ร้อยละการสงเสริมใหมีการบูรณาการ การศึกษานอกระบบ เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาถึงโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ สอดคลองกับวัย สภาพรางกายและสุขภาพ ความจ าเปน ความตองการและความสนใจ และสามารถน าผลที่ไดจาก การศึกษาและการเรียนรูไปเทียบระดับ เทียบโอน เชื่อมโยง สงตอระหวางการศึกษาทุกรูปแบบทุกระดับได 5. ร้อยละการสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบที่สอดคลอง กับความสนใจและวิถีชีวิตของผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย 6.ร้อยละการพัฒนาระบบการเทียบโอนและการเทียบระดับ การศึกษาใหมีมาตรฐานและสามารถเชื่อมโยงการศึกษาและ การเรียนรูทุกระดับ ทุกรูปแบบ 7.พัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชนใหมีมาตรฐานตามประเภท แหลงการเรียนรูและสอดคลองกับความสนใจและวิถีชีวิตของ ผูรับบริการแตละกลุมเปาหมาย รวมทั้ง สามารถใหบริการได อยางทั่วถึง 8.พัฒนาหองสมุด และจัดแหลงเรียนรูที่หลากหลาย กระจาย อยูทุกพื้นที่ใหเปนกลไกในการแสวงหาความรูของประชาชน
25 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 10. พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูสื่อเพื่อการเรียนรูและ การใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุกรูปแบบ ตลอดจนขยาย เครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาทุกแหง ครอบคลุมทุกพื้นที่และเพียงพอกับผูเรียน เพื่อเอื้อตอการเรียน รูดวยตนเอง และการเรียนรูแบบมีสวนรวม 2. ประชาชนมีสมรรถนะและทักษะในการด ารงชีวิตที่ เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และพรอมรับการเปลี่ยนแปลงของ โลกในศตวรรษที่ 21 1.คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถตามมาตรฐาน การศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ 2.ประชาชนไดรับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการ ด ารงชีวิตที่เหมาะสมกับชวงวัย และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง ของโลกในศตวรรษที่ 21 3.ระบบการวัดผลและประเมินผลและการเทียบโอนการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพ 4.ประชาชนมีความรักในสถาบันหลักของชาติและยึดมั่นการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุข 5.สถานศึกษาสามารถจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรูตาม หลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐาน 6.ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะ อยางตอเนื่อง 7.กลุมผูดอยโอกาส กลุมผูพลาดโอกาส และกลุมผูขาดโอกาส ไดรับโอกาสในการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการด ารงชีวิต เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี 8.ผูเรียน ผูรับบริการ ไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการ เขารับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยางมีคุณภาพ 9.พัฒนาหลักสูตรยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการ เรียนรูใหทันตอความเปลี่ยนแปลงเหมาะสมและสอดคลองกับ สภาพของกลุมเปาหมาย 10.พัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคะแนนเฉลี่ย ของการทดสอบคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ (NNET)
26 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 11.พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกับ สภาวการณการพัฒนาประเทศและเปนไปตามสภาพและ ความตองการของกลุมเปาหมาย โดยค านึงถึงการพัฒนา คุณภาพ มาตรฐาน เสริมสรางความตระหนักในคุณคาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความรูเรื่องทักษะที่ จ าเปนในศตวรรษที่ 21 12.พัฒนารูปแบบและวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีมี คุณภาพและมาตรฐาน สามารถวัด และประเมินไดตรงตามวัตถุประสงคและน าผลการประเมิน ไปใชไดจริง 13.สงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู สื่อเพื่อการเรียนรูและการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทุก รูปแบบที่ไดมาตรฐาน 14.พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและหลักสูตรการอบรม แกกลุมผูสูงวัยใหมีคุณภาพและชีวิตที่ดี 15.สงเสริมใหมีการจัดท าแผนการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน/ รายบุคคล เพื่อเปนเครื่องมือในการก าหนดทิศทางและ สรางแรงจูงใจในการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน 16.พัฒนาหลักสูตรอาชีพเพื่อเสริมสรางการพัฒนาอาชีพใหกับ ประชาชนในชุมชนแบบครบวงจรซึ่งเปนกระบวนการตนทางถึง ปลายทางตั้งแตกระบวนการผลิต การแปรรูป การจัดจ าหนาย การตลาด และการด าเนินการในเชิงธุรกิจ 17.สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง และ ปรับเปลี่ยนคานิยมของประชาชนใหมีวินัยจิตสาธารณะ และ พฤติกรรมที่พึงประสงค
27 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 18.พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากรใหตรง กับสายงานหรือความช านาญเพื่อใหสามารถจัดการศึกษาและ สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ 19.สงเสริมใหแรงงานไดรับโอกาสยกระดับคุณวุฒิทางการ ศึกษาและทักษะความรูที่สูงขึ้น 20.พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรูที่ปลูกจิตวิทยาศาสตร ใหกับประชาชนผาน STEMEducation ส าหรับประชาชน อัน จะน าไปสูการใชความคิดวิเคราะห ความคิดสรางสรรค และ การใชเหตุผลในการด าเนินชีวิต 21.สงเสริมการสรางสรรคความรูใหม ๆ ทั้งจากภูมิปญญาทอง ถิ่นที่มีอยูเดิมและความรูดานนวัตกรรมใหมๆ 22.จัดกิจกรรม สื่อ และนิทรรศการที่มีชีวิตและกระตุนความ คิดสรางสรรค ในแหลงเรียนรู 3.สถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมี ประสิทธิภาพเพื่อใหบริการการศึกษาและการเรียนรู ตลอดชีวิตใหกับประชาชนอยางทั่วถึงและมี ประสิทธิภาพ 1. โครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาของ หนวยงานและสถานศึกษามีความทันสมัย และมีคุณภาพ 2.ระบบฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษา ครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน และระบบเชื่อมโยงกับหนวย งานอื่นเพื่อประโยชนในการจัดและบริการการศึกษาได 3.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา การจัดการ เรียนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรูที่มีความยืด หยุนหลากหลาย สามารถเขาถึงไดโดยไมจ ากัดเวลาและสถานที่ 4.สงเสริมใหมีสื่อดิจิทัลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการสง เสริมการมีอาชีพเพิ่มขึ้น 5.จัดและสนับสนุนสถานศึกษา แหลงการเรียนรูกศน.ต าบล ใหมีความพรอมเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานดาน ICT และ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
28 เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ 4.สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใตการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล 1.ระบบบริหารจัดการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สงผล ตอคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาและการเรียนรู ตลอดชีวิต 2.ระบบบริหารงานบุคคล มีความเปนธรรม สรางขวัญและ ก าลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดเต็มตามศักยภาพ 3.บุคลากรทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาความรูทักษะ ตามมาตรฐานต าแหนง รวมทั้งบทบาทภารกิจที่ไดรับ มอบหมาย 4.ระบบและกลไกการวัด ติดตาม และประเมินผลการศึกษา และการเรียนรูมีประสิทธิภาพ 5.ทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต 1.สงเสริม สนับสนุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการ เปนภาคีเครือข่ายและสรางแรงจูงใจในรูปแบบตางๆ ใหภาคี เครอืขายรวมจัดและสงเสริมการจัดการเรียนรูในชุมชนอยาง ตอเนื่องและยั่งยืน 2.สงเสริมการสรางสภาพแวดลอมของชุมชน ทองถิ่น สังคม เพื่อเอื้อตอการศึกษาและการเรียนรูและสนับสนุนการสราง กลไกการขับเคลื่อนชุมชนไปสูสังคมแหงการเรียนรู 3.ทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและ การเรียนรูท่ีตอบสนองตอความตองการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อสรางสังคมแหงการเรียนรูใหเกิดขึ้นในพื้นที่/ชุมชน
29 กลยุทธ์ 1. เพิ่มและกระจายโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาและการเรียนรูที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคนทุกชวงวัยใหมีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. สงเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกชวงวัย 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและสงเสริมใหทุกภาคสวนมีบทบาทและมีสวนรวมในการจัด การศึกษา การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จุดแข็งของ กศน.อ าเภอ (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อ าเภอ คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อ าเภอ) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยมองค์กร 1. บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนในพื้นที่ท าให้มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานและการ ประสานงานที่ดี 2. บุคลากรมีความรัก ความสามัคคีจึงได้รับความร่วมมือท าให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 3. บุคลากรทุกคนไดรับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่สถานศึกษา จัดโครงการพัฒนาบุคลากรและหน่วยงานต้นสังกัดจัดอย่างต่อเนื่อง 4. บุคลากรมีมนุษยสัมพันธ์มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ท า ให้สามารถด าเนินงาน กศน.ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีครูกศน.ต าบลครบทุกต าบลจึงสามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 6. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารและมีการถ่ายทอดหลักการท างานได้เป็นอย่างดี 7. บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน 8. คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความส าคัญและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานเป็น อย่างดี 9. ภาคีเครือข่ายและชุมชนให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี 1.2 จุดอ่อนของ กศน.อ าเภอ (Weaknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อ าเภอ คณะกรรมการ กศน.อ าเภอ) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยมองค์กร 1. ครูจบไม่ตรงสาขาในการจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา
30 2. กศน.ต าบลขาดครุภัณฑ์ส าหรับใช้ในการบริหารจัดการและจัดกิจกรรม 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อสื่อสาร และด้านสิ่งแวดล้อม 1. มีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานระดับอ าเภอและผู้น าท้องถิ่นอย่างสม่ าเสมอและ ต่อเนื่อง 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่ใน บริเวณเดียวกับศูนย์ราชการของอ าเภอจึงส่งผลให้การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานระดับอ าเภอเป็นไป อย่างสะดวกรวดเร็ว 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ใช้เทคโลโน ยีในการปฏิบัติงานท าให้การท างานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 4. ในชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายสามารถจัดองค์ความรู้ที่ตรงตามความต้องการของ ผู้เรียน 5. ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น าท้องถิ่น หน่วยงานภาคีเครือข่ายใน ท้องถิ่นและคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดการศึกษา 2.2 อุปสรรค/ความเสี่ยง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อสื่อสาร และด้านสิ่งแวดล้อม 1. งบประมาณที่ได้รับจัดสรรไม่เพียงพอต่อการด าเนินงานในพื้นที่ ท าให้ไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง 2. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ท าให้การจัดกิจกรรมบางกิจกรรมมี ข้อจ ากัด 3. การจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ยังมีข้อจ ากัดในการเบิกจ่ายงบประมาณ 4. กศน.ต าบลบางแห่งมีอาคารที่ไม่เหมาะแก่การพัฒนาปรับปรุงและจัดกิจกรรม
31 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาส านักงาน กศน. ปี พ.ศ. 2560-2579 โครงการ/กิจกรรม กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ยุทธศาสตร์ที่ 1.คนไทยสามารถเขาถึงบริการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และ มาตรฐานอยางทั่วถึง 1. การส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. การเทียบระดับการศึกษา 3. การจัดการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4. การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในห้องสมุด - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เคลื่อนที่ รถโมบาย - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านห้องสมุดเคลื่อนที่ ส าหรับชาวตลาด - กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน - กิจกรรมอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 5. กิจกรรมพัฒนา กศน.ต าบลสู่ กศน.ต าบล 5 ดี พรีเมียม ยุทธศาสตร์ที่ 2 คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการ ด ารงชีวิตที่เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 1. การจัดการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน 2. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง - กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - หลักสูตรอาชีพกลุ่มสนใจ - กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ - กิจกรรม ๑ อ าเภอ ๑ อาชีพ - กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต - กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน - กิจกรรมการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
32 ยุทธศาสตร์การพัฒนาส านักงาน กศน. ปี พ.ศ. 2560-2579 โครงการ/กิจกรรม กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ - กิจกรรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ - กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพการสุขภาพจิตผู้สูงอายุ 2. โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 หนวยงานและสถานศึกษามีระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพื่อใหบริการ การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตใหกับประชาชน อยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 1. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง - กิจกรรมสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับต าบล 2.การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ 3. โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีใน การจัดการเรียนการสอน 4.การด าเนินการระบบ DMIS ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษา และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ 1. โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 2. โครงการประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. 3. โครงการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษา 4. โครงการการด าเนินงาน องค์กรนักศึกษา 4. โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
33 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3 ปี เป้าประสงค์ กลยุทธ์กศน. อ าเภอ โครงการ/ กิจกรรม จ านวนเป้าหมาย (คน/ครั้ง/แห่ง) ตัวชี้วัด 2565 2566 2567 ความส าเร็จ 1. คนไทยสามารถ เขาถึงบริการ การศึกษานอก ระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย รวมทั้ง การเรียนรูตลอด ชีวิตที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอยาง ทั่วถึง 1. การศึกษาขั้น พื้นฐานคุณภาพ 2. การศึกษา ต่อเนื่องตรงใจ 3. การศึกษาตาม อัธยาศัยขยาย โอกาสทั่วถึง 4. ผนึกเครือข่าย พัฒนา 5. บุคลากรเปี่ยม สมรรถนะ 6. บริหารจัดการ เต็มประสิทธิภาพ โครงการการ ส่งเสริมการรู้ หนังสือ 6 6 6 - ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ โครงการ จัดการศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 460 470 480 -ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ โครงการจัด การศึกษาเพื่อ การพัฒนา อาชีพ 800 810 820 -ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการเรียน ตามหลักเกณฑ์ - น าความรู้ไป ประกอบอาชีพ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ การศึกษาตาม อัธยาศัย 6,000 6,050 6,100 -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่าน -ผู้รับบริการมีความ พึงพอใจการศึกษา ตามอัธยาศัย
34 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ กิจกรรม จ านวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัด 2565 2566 2567 ความส าเร็จ 2. คนไทยมี สมรรถนะและ ทักษะในการ ด ารงชีวิตที่ เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง และพร อมรับการ เปลี่ยนแปลงของ โลกในศตวรรษที่ 21 1. การศึกษาขั้น พื้นฐานคุณภาพ 2. การศึกษา ต่อเนื่องตรงใจ 3. การศึกษาตาม อัธยาศัยขยาย โอกาสทั่วถึง 4. ผนึกเครือข่าย พัฒนา 5. บุคลากรเปี่ยม สมรรถนะ 6. บริหารจัดการ เต็มประสิทธิภาพ การศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะ ชีวิต 260 270 280 -ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ โครงการ จัดการศึกษา เพื่อพัฒนา สังคมและ ชุมชน 180 190 200 -ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ การเรียนรู้หลัก ปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง 120 125 130 ผู้เรียนผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - น าความรู้ไปปรับ ใช้ในชีวิตประจ าวัน - ผู้เรียนมีความพึง พอใจ
35 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ กิจกรรม จ านวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัด 2565 2566 2567 ความส าเร็จ 1. การศึกษาขั้น พื้นฐานคุณภาพ 2. การศึกษา ต่อเนื่องตรงใจ 3. การศึกษาตาม อัธยาศัยขยาย โอกาสทั่วถึง 4. ผนึกเครือข่าย พัฒนา 5. บุคลากรเปี่ยม สมรรถนะ 6. บริหารจัดการ เต็มประสิทธิภาพ กิจกรรม ภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อสาร ด้านอาชีพ 15 16 17 -ผู้อบรมผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้อบรมมีความ พึงพอใจ โครงการจัดและ ส่งเสริมการจัด การศึกษาตลอด ชีวิตเพื่อคง พัฒนาการทาง กาย จิตและสมอง ของผู้สูงอายุ 240 240 240 -ผู้อบรมผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้อบรมมีความ พึงพอใจ โครงการพัฒนา บุคลากรด้าน จัดการเรียนรู้ การศึกษานอก ระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย 11 11 11 -บุคลากรได้รับการ พัฒนาทักษะที่ จ าเป็นในจัดการ เรียนรู้การศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย
36 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ กิจกรรม จ านวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัด ความส าเร็จ 2565 2566 2567 3. หนวยงานและ สถานศึกษามี ระบบเทคโนโลยีที่ ทันสมัย และมี ประสิทธิภาพเพื่อ ใหบริการ การศึกษาและการ เรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน อยางทั่วถึงและมี ประสิทธิภาพ 1. การศึกษาขั้น พื้นฐานคุณภาพ 2. การศึกษา ต่อเนื่องตรงใจ 3. การศึกษาตาม อัธยาศัยขยาย โอกาสทั่วถึง 4. ผนึกเครือข่าย พัฒนา 5. บุคลากรเปี่ยม สมรรถนะ 6. บริหารจัดการ เต็มประสิทธิภาพ โครงการดิจิทัล ชุมชนหลักสูตร การค้าออนไลน์ กลยุทธ์การตลาด เชื่อมโยงจาก Online และ Offine 90 90 90 - ผู้อบรมผ่านการ ประเมินผลการ เรียนตาม หลักเกณฑ์ - ผู้อบรมมีความ พึงพอใจ กิจกรรมส่งเสริม การอ่านออนไลน์ 2,000 2,100 2,200 -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการ โครงการพัฒนา บุคลากรด้านการ ใช้เทคโนโลยีใน การจัดการเรียน การสอน 11 11 11 -บุคลากรได้รับการ พัฒนาทักษะที่ จ าเป็นในจัดการ เรียนรู้การศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตาม อัธยาศัย การด าเนินงาน ระบบ DMIS 11 11 11 -มีระบบการ รายงานผลการ ด าเนินที่มี มาตรฐาน
37 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ กิจกรรม จ านวนเป้าหมาย (คน) ตัวชี้วัด ความส าเร็จ 2565 2566 2567 4. หนวยงานและ สถานศึกษามี ระบบบริหาร จัดการที่มี ประสิทธิภาพ ภาย ใตการบริหาร จัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล 1. การศึกษาขั้น พื้นฐานคุณภาพ 2. การศึกษา ต่อเนื่องตรงใจ 3. การศึกษาตาม อัธยาศัยขยาย โอกาสทั่วถึง 4. ผนึกเครือข่าย พัฒนา 5. บุคลากรเปี่ยม สมรรถนะ 6. บริหารจัดการ เต็มประสิทธิภาพ โครงการประกัน คุณภาพ การศึกษา 26 26 26 -มีการบูรณาการ ในการจัด การศึกษาให้มี ประสิทธิภาพและ มีคุณภาพ โครงการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการ จัดการศึกษา 11 11 11 โครงการการ ด าเนินงานองค์กร นักศึกษา 7 7 7 โครงการประชุม คณะกรรมการ สถานศึกษา 9 9 9
38 ส่วนที่ 4 การน าแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติ การน าแผนพัฒนาสูการปฏิบัติ การน าแผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2565 – 2567 ไปสูการ ปฏิบัตินับเปนขั้นตอนที่มีความส าคัญ เนื่องจากเปนกระบวนการที่จะผลักดันหรือขับเคลื่อนการด าเนินงาน ทั้งหมดใหสามารถบรรลุผลลัพธตามตัวชี้วัดและเกณฑความส าเร็จที่ก าหนด จึงจะสามารถบรรลุผลตามปรัชญา วิสัยทัศน อัตลักษณ เอกลักษณและเปาประสงคที่ก าหนดไว การด าเนินงานใหบังเกิดผลอยางมีประสิทธิภาพ จ าเปนตองสรางความเขาใจ ใหแกบุคลากรทุกระดับ เพื่อใหเกิดการยอมรับและมีสวนรวมและมีสวนรวม พรอมที่จะน าแผนงานโครงการตาง ๆ ไปด าเนินการไดอยางเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและกลุมเปาหมาย รวมทั้งมีการระดมสรรพก าลัง และการแสวงหาความรวมมือสนับสนุน และการติดตามผลตามการด าเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติจึงไดก าหนดแนวทางการท าแผนไปสูการ ปฏิบัติ ดังนี้ 1. การน าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูการปฏิบัติ 1.1 คณะกรรมการสถานศึกษาและผูบริหารสถานศึกษาใหความส าคัญ และผลักดันใหมีการ ด าเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางจริงจัง 1.2 สรางความรูความเขาใจรวมกันระหวางคณะกรรมการสถานศึกษา ผูบริหาร และ บุคลากรทุกระดับในสถานศึกษา ใหไดรับทราบและเขาใจทิศทางการด าเนินการไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให การขับเคลื่อนแผนฯ บรรลุเปาประสงค และเปนการสรางองคความรูภายในสถานศึกษา ตลอดจนสรางการมี สวนรวมและความรับผิดชอบในการพัฒนาการด าเนินการสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม 1.3 จัดสรรทรัพยากรตาง ๆ เชนบุคลากร งบประมาณใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติงาน โครงการ และกิจกรรมหลักที่ก าหนดไว 1.4 เผยแพรประชาสัมพันธการด าเนินงานอยางตอเนื่องผานชองทางหรือกิจกรรมตาง ๆ เพื่อกระตุนและขับเคลื่อนการด าเนินโครงการที่ก าหนดไว 2. พัฒนาระบบการประสานการด าเนินงานระหวางสถานศึกษากับภาคีเครือขายและผูมีสวน เกี่ยวของ เพื่อเปนการประสานแผนไปสูการปฏิบัติอยางมีรูปธรรม
39 2.1 สงเสริมใหมีการจัดท าแผนปฺฏิบัติการประจ าปทั้งระดับอ าเภอและต าบล โดยให ความส าคัญกับความสอดคลองและความตอเนื่องกับแผนพัฒนาที่ก าหนดไว โดยมีการก ากับดูแลและการ ติดตามอยางชัดเจน 2.2 สนับสนุนการจัดท าแผนปฏิบัติการระดับอ าเภอและระดับต าบลใหมีความเชื่อมโยง สอดคลองกับหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานสังกัดอื่น ๆ ในพื้นที่ 2.3 ก าหนดขั้นตอนและกระบวนการด าเนินงานตามแผน/โครงการใหชัดเจน โดยจัดล าดับ ความส าคัญของแผน/โครงการ 2.4 ติดตามและตรวจสอบผลการด าเนินงานตามแผน/โครงการอยางสม่ าเสมอ โดยใหเปนไป ตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่ก าหนดไว มีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหเกิดประโยชน์ 3. พัฒนาการติดตามและประเมินผลและใหความส าคัญกับตัวชี้วัดตามความส าเร็จของโครงการโดย บูรณาการใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของตนสังกัดและบริบทของชุมชน ระยะเวลา รวมทั้ง ประสานเครือขายเพื่อการติดตามและประเมินผล 3.1 สนับสนุนใหหนวยงาน ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ ภาคีเครือขายมีสวนรวมในการติดตาม และประเมินผลแผนปฏิบัติงานโครงการ 3.2 น าผลที่ไดจากการติดตามและประเมินผลมาปรับปรุงแผน/โครงการ เพื่อใหบรรลุ เปาหมายอยางตอเนื่อง และสอดคลองกับสภาพการณที่เปลี่ยนไป 3.4 พัฒนาองคความรูและเสริมสรางความเขาใจเรื่องการติดตามและประเมินผล รวมทั้งการ ก าหนดตัวบงชี้แกบุคลากรและผูเกี่ยวของ เพื่อสรางทักษะในการติดตามประเมินผล สามารถน าไปใชประโยชน ในการพัฒนาองคความรูรวมกัน 3.5 พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน การใชประโยชนในการ จัดท ารายงานหนวยตนสังกัดและการประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรผลการด าเนินงานใหเกิดประโยชนความรูตอ องคกรวิชาชีพ ภาคีเครือขาย รวมทั้งภาคประชาชนอยางตอเนื่อง เงื่อนไขสูความส าเร็จ มีแนวทางและกระบวนการส าคัญดังนี้ 1. ใหความส าคัญกับการติดตามความกาวหนา การประเมินผลความส าเร็จและผลกระทบ การด าเนินงานอยางตอเนื่อง โดยพัฒนาระบบและกลไก การก ากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินแผน พัฒนาตัวชี้วัดผลส าเร็จของการด าเนินงานตามแผน ทั้งผลลัพธในเชิงปริมาณและคุณภาพ และน าผลจากการ ก ากับติดตามมาใชเปนแนวทางในการปรับปรุง หรือปรับเปลี่ยนวิธีการด าเนินงานที่สอดคลองกับปญหาที่ เกิดขึ้นในกระบวนการน าแผนไปปฏิบัติจริง
40 2. ตองมีการประเมินแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2565 –2567 ในชวงกลางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ปพ.ศ. 2566) วาผลการด าเนินงานในชวง พ.ศ. 2565 – 2566 บรรลุวิสัยทัศนที่ก าหนดไวมากนอยเพียงใด เพื่อน าไปทบทวนยุทธศาสตรและปรับปรุงกลยุทธที่ จะใชในชวง พ.ศ. 2567 ตอไป 3. บริหารสถานศึกษาโดยใชวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) อยางตอเนื่อง และค านึงถึงมาตรฐานและ ตัวชี้วัดการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกอยางเครงครัด
41 ภาคผนวก
คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา นางนงนุช ไทยภักดี ผอ.กศน.อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ ข้อมูล / ด าเนินงาน นายณัฐวุฒิ อุตหลุด ครู คณะท างาน นางจรรยารักษ์ พุฒจิระ ครูอาสาสมัครฯ คณะท างาน นางสาวศิริรัตน์ อั้นวงศ์ ครูอาสาสมัครฯ คณะท างาน นายปกรณ์ บริบูรณ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน นายมนัส ดีวงษ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน นางณันทรัตน์ ชูวงษ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน นางสมฤดี บริบูรณ์ ครู กศน.ต าบล คณะท างาน น.ส.วีณา งามข า ครู กศน.ต าบล คณะท างาน น.ส.อังศุมาลิน หงษ์สถิตย์วงค์ บรรณารักษ์ คณะท างาน น.ส.กัญญาณัฐ แก้งวัง ครู กศน.ต าบล คณะท างาน/เลขานุการ ผู้เรียบเรียงและจัดพิมพ์ต้นฉบับ นายณัฐวุฒิ อุตหลุด ครู