The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

631081003 กมลชนก อุทโพธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nan9484307, 2021-09-29 04:54:19

631081003 กมลชนก อุทโพธิ์

631081003 กมลชนก อุทโพธิ์

รายงาน
เรอ่ื ง ความผดิ ฐานดูหม่ินเจา้ พนกั งาน
ความผดิ ฐานดหู มน่ิ ศาลหรอื ผู้พพิ ากษาในการพจิ ารณาคดี

จัดทำโดย
นางสาวกมลชนก อุทโพธิ์
รหัสนิสติ 631081003

เสนอ
อาจารย์ วริ ตั น์ นาทิพเวทย์

รายวิชากฎหมายอาญา2 ภาคความผดิ
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

หลกั สตู ร นิตศิ าสตร์บณั ฑิต สาขาวิชานติ ศิ าสตร์ (ภาคปกติ)



บทท่ี1
คำอธิบายเชิงโครงสรา้ งความรับผดิ ทางอาญา

ลกั ษณะ ๒
ความผิดเก่ียวกับการปกครอง

หมวด ๑
ความผดิ ตอ่ เจ้าพนักงาน

“มาตรา ๑๓๖ ผใู้ ดดหู มนิ่ เจา้ พนักงานซึง่ กระทำการตามหน้าที่ หรอื เพราะได้กระทำการ
ตามหนา้ ที่ ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไม่เกินหนง่ึ ปี หรือปรบั ไมเ่ กินสองหม่นื บาท หรือท้ังจำทง้ั ปรับ”

ฐานความผดิ : ดหู ม่นิ เจ้าพนักงาน
อาจแยกออกเป็น ๒ ความผิด ดังน้ี
ความผิดที่ ๑
องคป์ ระกอบภายนอก

(๑) ผ้ใู ด (ผกู้ ระทำ)
(๒) ดหู มนิ่ (การกระทำ)
(๓) เจ้าพนักงาน (วตั ถุแหง่ การกระทำ)
(๔) ซงึ่ กระทำการตามหนา้ ที่



องค์ประกอบภายใน
(๑) เจตนาฯ

หรือ ความผิดท่ี ๒
องคป์ ระกอบภายนอก

(๑) ผูใ้ ด (ผกู้ ระทำ)
(๒) ดหู ม่นิ (การกระทำ)
(๓) เจา้ พนักงาน (วตั ถุแหง่ การกระทำ)
องคป์ ระกอบภายใน
(๑) เจตนาฯ
(๒) มูลเหตชุ ักจงู ใจ เพราะไดก้ ระทำการตามหน้าที่

อธิบาย

๑. ผู้ใด หมายถงึ บคุ คลธรรมดาหรอื นิตบิ คุ คล
๒. ดหู ม่ิน

การดูหม่นิ นัน้ ถอื เป็นลกั ษณะของการกระทำทจ่ี ะเปน็ ความผิดตามมาตราน้ี ซึง่ คำว่า
“ดหู ม่นิ ” หมายถงึ การกระทำดว้ ยประการใด ๆ อันเป็นการดูถกู เหยียดหยาม สบประมาท
ด่าทอ สาปแชง่ หรือทำให้ผู้ถกู ดหู มิ่นลดคณุ ค่าลงในสงั คม

ซึ่งการดูหมนิ่ นนั้ อาจจะกระทำดว้ ยวาจา กิริยาทา่ ทาง หรือลายลักษณ์อกั ษรกไ็ ด้ การดู
หม่นิ ด้วยวาจา เชน่ พูดจาด่าทอตำรวจด้วยคำหยาบชา้ วา่ “อ้ายเย็ดแม่” “ตำรวจชาติหมา” หรือ
ด้วยกิริยาท่าทางก็ เชน่ ยกเทา้ ให้ หรอื ชนู ิ้วให้ของลับ หรอื ด้วยลายลักษณ์อกั ษร เชน่ เขยี น
ขอ้ ความดา่ เจา้ พนกั งานวา่ กินสินบน เปน็ ต้น



๓. เป็นการดูหม่นิ เจ้าพนกั งาน
คำว่า “เจ้าพนักงาน” นั้นหมายถึงเจ้าพนกั งานตามทบี่ ัญญตั ิไวใ้ นมาตรา 1 (16) ซ่งึ ไดแ้ ก่
(๑) บคุ คลซึ่งกฎหมายบญั ญัตวิ า่ เปน็ เจ้าพนักงาน ซ่ึงหมายถงึ บคุ คลผูป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ที่

ราชการโดยไดร้ ับการแตง่ ตัง้ ตามกฎหมาย เชน่ ข้าราชการพลเรือนในกระทรวง ทบวง กรมตา่ ง ๆ
ขา้ ราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ พนักงานอัยการ ตลุ าการศาลปกครอง

(๒) บุคคลซงึ่ ได้รบั แตง่ ตั้งตามกฎหมายใหป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ทร่ี าชการ ไมว่ ่าเปน็ ประจำหรือ
ชัว่ คราวและไมว่ ่าจะไดร้ บั ค่าตอบแทนหรือไม่ เช่น ครขู องโรงเรยี นรัฐบาลได้รบั การแตง่ ต้ังใหท้ ำ
หน้าท่รี ับเงิน ยอ่ มถอื วา่ เป็นเจ้าพนักงานตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย เมื่อครยู ักยอกเงินไปยอ่ มมี
ความผดิ ฐานเจา้ พนกั งานยกั ยอกทรพั ย์ เป็นต้น

๔. การดหู มน่ิ เจา้ พนกั งานจะต้องเป็นกรณีใดกรณหี น่งึ ดงั ต่อไปน้ี

กรณกี ารดูหมิน่ เจ้าพนักงานตามความผิดท่ี ๑
ดหู มน่ิ เจ้าพนักงานซ่งึ กระทำการตามหนา้ ที่
หมายถงึ การดูหม่ินในขณะท่เี จ้าพนกั งานกำลงั ปฏบิ ัตหิ นา้ ทต่ี ามอำนาจหนา้ ท่ขี องตน

และเจา้ พนักงานผ้นู ั้นจะตอ้ งมีฐานะเป็นเจา้ พนักงานอยใู่ นขณะท่ถี ูกดูหมิ่นดว้ ย (ดหู ม่ินซง่ึ หนา้ )
โดยถ้อยคำท่ดี ูหมิ่นนน้ั จะเก่ียวกบั หน้าท่ีหรือไมน่ ั้น ไม่ใช่สาระสำคัญ กลา่ วคือ แมจ้ ะเปน็ การดู
หม่ินในเรื่องส่วนตัวก็มีความผิดตามมาตราน้ี



กรณีการดหู มน่ิ เจ้าพนักงานตามความผิดท่ี ๒
ดหู ม่นิ เจา้ พนักงานเพราะได้กระทำการตามหน้าท่ี
หมายถึง การดูหม่ินภายหลังจากทีเ่ จ้าพนักงานไดก้ ระทำการตามหน้าท่ีมาแล้วโดยชอบ

และเจ้าพนกั งานผนู้ น้ั จะตอ้ งมีฐานะเป็นเจา้ พนักงานอยู่ด้วยในขณะท่ถี ูกดูหม่ิน (ดูหม่ินซ่งึ หนา้ หรือ
ลับหลังกไ็ ด้) โดยเร่อื งทด่ี ูหมิ่นนนั้ จะต้องเปน็ เร่อื งทีเ่ จ้าพนักงานผู้นัน้ ไดป้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ขี องตนมาแล้ว
โดยชอบเทา่ นนั้ คอื ตอ้ งไม่ใช่เรือ่ งส่วนตัว แตถ่ ้อยคำท่ีดหู มิ่นนน้ั จะเกยี่ วกับหน้าที่หรอื ไมน่ ั้นไมใ่ ช่
สาระสำคญั

๕. โดยเจตนาฯ
กล่าวคือ ผ้ทู ี่กระทำการดูหมนิ่ นั้นจะต้องกระทำโดยเจตนา หมายความวา่ จะต้องดหู ม่นิ

โดยเจตนาตามมาตรา ๕๙ วรรคสอง (ประสงค์ต่อผลหรือย่อมเลง็ เหน็ ผล) และรขู้ ้อเทจ็ จรงิ อนั เป็น
องค์ประกอบของความผิดตามมาตรา ๕๙ วรรคสาม คือรูว้ ่าผู้ทีต่ นดูหมน่ิ น้นั เปน็ เจา้ พนกั งาน แต่
ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งร้วู ่ากำลังปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ยู่



ลกั ษณะ ๓
ความผดิ เก่ยี วกบั การยตุ ิธรรม

หมวด ๑
ความผิดต่อเจา้ พนักงานในการยตุ ธิ รรม

“มาตรา ๑๙๘ ผู้ใดดหู มนิ่ ศาลหรือผ้พู พิ ากษาในการพจิ ารณาหรอื พิพากษาคดี หรอื
กระทำการขัดขวางการพิจารณาหรือพพิ ากษาของศาล ตอ้ งระวางโทษจำคุกตั้งแตห่ นงึ่ ปีถงึ
เจด็ ปี หรอื ปรบั ต้งั แตส่ องหม่ืนบาทถงึ หนง่ึ แสนสหี่ มื่นบาท หรือทัง้ จำทงั้ ปรบั ”

ฐานความผิด : ดูหมิน่ ศาลหรือผ้พู ิพากษา

อาจแยกออกเปน็ ๒ ความผิด ดังน้ี

ความผดิ ท่ี ๑

องคป์ ระกอบภายนอก

(๑) ผู้ใด (ผูก้ ระทำ)
(๒) ดูหม่ิน (การกระทำ)
(๓) ศาลหรือผู้พพิ ากษา (วัตถุแห่งการกระทำ)
(๔) ในการพิจารณาหรือพิพากษาคดี

องคป์ ระกอบภายใน

(๑) เจตนาฯ



หรอื ความผดิ ที่ ๒

องค์ประกอบภายนอก

(๑) ผใู้ ด (ผู้กระทำ)
(๒) กระทำการขัดขวาง (การกระทำ)
(๓) การพจิ ารณาหรือพพิ ากษาของศาล (วตั ถแุ ห่งการกระทำ)

องคป์ ระกอบภายใน

(๑) เจตนาฯ

อธิบาย

๑. ผู้ใด หมายถงึ บคุ คลธรรมดาหรือนติ ิบคุ คล
๒. ดูหมิ่น

การดหู ม่นิ น้นั ถือเปน็ ลักษณะของการกระทำทจี่ ะเปน็ ความผดิ ตามมาตรานี้ ซึ่งคำว่า
“ดูหมน่ิ ” หมายถงึ การกระทำด้วยประการใด ๆ อนั เปน็ การดูถูก เหยยี ดหยาม สบประมาท ดา่
ทอ สาปแชง่ หรือทำให้ผูถ้ กู ดหู มิ่นลดคณุ ค่าของศาลหรือผพู้ พิ ากษา โดยการดูหมนิ่ นั้นอาจจะ
กระทำด้วยวาจา กิรยิ าอาการ หรือทำเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรกไ็ ด้ แตต่ ้องกระทำเนอ่ื งในการ
พจิ ารณาหรือพพิ ากษาคดี

การ “ดหู ม่ิน” ตามมาตรานี้มีความหมายเดยี วกับมาตรา ๑๓๖ เป็นแต่เมื่อผดิ มาตรา

๑๙๘ ซ่ึงเป็นบทเฉพาะแล้วไม่ผดิ มาตรา ๑๓๖ ซึ่งเป็นบทท่ัวไปอีก

๓. อาจเป็นกรณีใดกรณีหนงึ่ ดังต่อไปนี้

ความผดิ ที่ ๑

เป็นการดหู มน่ิ ศาลหรอื ผู้พิพากษาในการพิจารณาหรอื พพิ ากษาคดี

คำวา่ “ศาล” หมายถงึ ตัวสถาบนั ซ่งึ หมายถึง ศาลหรือผ้พู พิ ากษาในการพจิ ารณาคดี ซึ่งกค็ อื
ผู้ใช้อำนาจตุลาการอัน ไดแ้ ก่ ศาลยุตธิ รรมศาลปกครองและศาลรฐั ธรรมนูญ



สว่ นคำว่า “ผูพ้ ิพากษา” นี้รวมถงึ ดะโตะ๊ ยตุ ธิ รรมด้วยการดหู ม่ินก็เช่นการดูถกู หรอื การลด
คุณคา่ ของศาลในการพจิ ารณาคดี เชน่ ว่าผูพ้ พิ ากษาลำเอียงไมเ่ ป็นธรรมจะเอาจำเลยเข้าคกุ
"ร้องเรยี นเทจ็ ต่อปลดั กระทรวงยุตธิ รรมวา่ ผพู้ พิ ากษาตดั สนิ ให้แพ้คดี กินเลยี้ งกบั ฝ่ายท่ี
ชนะในเย็นวันท่ีตดั สินคดแี สดงวา่ ไม่สุจรติ ” แตถ่ า้ ศาลอนุญาตใหพ้ ยานตอบโดยแสดงความ
คิดเหน็ พยานจงึ ตอบว่าสงสัยจะไม่ได้รบั ความเป็นธรรมจากศาลถ้าไมม่ ลี กั ษณะก้าวรา้ วหรือถอื
โอกาสดูหม่นิ ศาลก็ไมผ่ ิดตามมาตรานี้

“ในการพิจารณาหรือพพิ ากษา” หมายความว่า ในขณะทศี่ าลพิจารณาหรือพิพากษาคดีถา้ ดู
หม่ินในขณะอนื่ ผดิ ตามมาตรา ๑๓๖

หรอื ความผิดที่ ๒

เปน็ การกระทำการขัดขวางการพิจารณาหรือพิพากษา

“ขัดขวางการพิจารณาคดหี รอื พพิ ากษา” หมายความว่า การกระทำอนั เปน็ การทำใหศ้ าลไม่
สามารถหรือขดั ข้องในการพจิ ารณา ไดโ้ ดยเรยี บรอ้ ย ซ่ึงอาจกระทำนอกศาลนอกศาลก็ได้ คง
รวมถึงคำสั่งด้วย

ตอ้ งกระทำตอ่ ศาลซ่งึ เป็นองค์กรเทา่ นั้น ไม่ใช่ตอ่ ตัวผพู้ พิ ากษาจึงตอ้ งกระทำขณะผูพ้ ิพากษา
เป็นศาลออกน่งั พจิ ารณาหรอื อ่านคำพิพากษาคดีเท่านนั้ แตก่ ็ไมจ่ ำตอ้ งกระทำในหอ้ งพจิ ารณาก็ได้
เชน่ ขณะศาลนงั่ พจิ ารณาหรอื อา่ นคำพพิ ากษา มกี ารชกต่อยหรอื โต้เถียงกันเสียงดงั เอะอะนอก
ห้องพจิ ารณาจนศาลดำเนินกระบวนพิจารณาต่อไปไม่ได้

๔. โดยเจตนา

กล่าวคอื ผทู้ ี่กระทำการดูหมนิ่ นั้นจะต้องกระทำโดยเจตนา หมายความว่า จะต้องดหู มิน่
โดย เจตนาตามมาตรา ๕๙ วรรคสอง (ประสงคต์ อ่ ผลหรือยอ่ มเล็งเหน็ ผล) และรขู้ อ้ เทจ็ จรงิ อัน
เป็นองคป์ ระกอบของความตามมาตรา ๕๙ วรรคสาม คอื รู้ว่าผทู้ ตี่ นดูหมน่ิ นน้ั เป็นศาลหรือผู้
พพิ ากษา แตไ่ ม่จำเปน็ ต้องรวู้ า่ กำลังปฏบิ ตั ิหน้าทอ่ี ยู่



บทท่ี ๒
คำอธบิ ายจากบรรทดั ฐานคำพิพากษาศาลฎกี า

ความผิดฐานดหู มิ่นเจ้าพนักงาน ตามมาตรา ๑๓๖

“ผใู้ ด”

ตามแนวคำพิพากษาศาลฎกี า เคยตดั สนิ ให้นติ บิ ุคคลมคี วามผดิ อาญาฐานหมนิ่ ประมาท
(ฎกี าที่ ๒๖๕/๒๔๗๓) “ข้อความท่ีจำเลยลงนน้ั หม่นิ ประมาทโจทก์ ถึงแมจ้ ะเปน็ จรงิ หากจะทำให้
คนทัง้ หลายดูหมน่ิ โจทก์ ถอื ว่าเปน็ การใส่ความ สว่ นจำเลยที่ 2 เป็นบุคคลนติ ิ สมมุติก็ถกู ฟอ้ งทาง
อาญาใหป้ รบั ได”้ ดังนนั้ ในความผิดฐานหม่ินประมาทในกฎหมายอาญา เหน็ ไดว้ ่านิตบิ ุคคล
สามารถเป็น “ผใู้ ด” ซ่งึ เป็นผ้กู ระทำความผิดฐานหม่ินประมาทได้ ถอื ว่าเป็นวัตถุแหง่ การกระทำ
ได้เช่นเดียวกัน

การกระทำใดจะเป็นการดูหม่นิ เจ้าพนกั งานจะตอ้ งพิจารณาการกระทำและพฤติการณเ์ ป็นเรอื่ งๆ
ไป

➢ ตวั อยา่ งการกลา่ วขอ้ ความหรือถ้อยคำท่ศี าลฎกี าวนิ จิ ฉัยว่าไม่เป็นการดหู มน่ิ เจ้า
พนกั งาน

การกลา่ วข้อความหรือถอ้ ยคำบางอยา่ งนั้น แมจ้ ะเป็นถ้อยคำท่ไี ม่สุภาพ หรอื เปน็ คำหยาบ
ไม่ถกู หู ไมส่ มควรจะกลา่ ว หรือเปน็ คำปรารภปรบั ทกุ ข์ คำโตเ้ ถียง คำกล่าวติชมโดยปกติ หากไม่
ทำใหผ้ เู้ สยี หายถกู ดถู กู ถกู เหยียดหยามหรือถูกสบประมาท หรอื ไดร้ บั ความอับอายขายหน้า หรอื
ถกู ลดคุณค่าลงในสังคมแล้ว ย่อมไมถ่ ือวา่ เป็นการดหู มิ่น

o คำท้าทาย เปรียบเปรย ประชดประชนั ตดั พอ้ ตอ่ วา่ ไม่เปน็ การดหู มนิ่ เจ้าพนกั งาน

- นายตำรวจประนปี ระนอมให้จำเลยเป็นฝ่ายเสียค่าซ่อมแซมรถยนตท์ ่ชี นกนั จำเลยกล่าวว่า “ผู้
กองพูดอย่างน้ีเอากฎหมายมาพูดไมม่ ศี ีลธรรม” ไม่เปน็ การดหู ม่ิน (ฎกี าท่ี ๒๐๙๗/๒๔๙๙)



- จำเลยเป็นผู้ใหญ่บ้านที่เกิดเหตุ กล่าวแก่เจา้ พนักงานสรรพสามิตซง่ึ จบั กุมผตู้ ้องหาว่า “โคตรแม่
ถึงเวลาเขาลกั ขโมยควายไป 2-3 วนั ตามหาไมเ่ จอ เวลามสี รุ าทำไมจับเร็วนัก พวกคณุ มาสรา้ ง
ปญั หา คณุ ไม่ต้องมามองหน้าผมหรอกคณุ เป็นหัวหน้าส่วนกระจอก ๆ ผมไม่กลัวคุณหรอก
ใหญก่ ว่านผี้ มก็ไม่กลัว” เปน็ การพูดเปรยขน้ึ เพื่อประชดประชนั วา่ ทำไมสุราจับเร็วนักและเป็น
ถ้อยคำท่ไี มส่ ภุ าพ (ฎีกาท่ี ๗๘๖/๒๕๓๒)

- กลา่ วว่า “เป็นนายจบั อยา่ งไรก็ได”้ เป็นเพยี งคำกล่าวในทำนองตัดพอ้ ต่อวา่
(ฎีกาที่ ๕๐๑/๒๕๓๗)

- “แนจ่ รงิ ถงึ ถอดเส้ือมาตอ่ ยกบั กเู ลย” แคท่ า้ ทายไมไ่ ดด้ ถู กู เหยยี ดหยามหรอื สบประมาทอะไร
(ฎีกาที่ ๔๓๒๗/๒๕๔๐)

o คำกลา่ วทไี่ มส่ ภุ าพไม่ถือเป็นดหู มน่ิ เช่นกัน

- กลา่ วว่า “มึงเป็นนายอำเภอไดอ้ ยา่ งไรไม่รับผดิ ชอบ” (ฎกี าท่ี ๔๖๐/๒๕๒๑ (ป))

- ถอ้ ยคำทจี่ ำเลยกล่าวต่อสิบตำรวจตรี ข. วา่ “แน่จริงถึงถอดเสือ้ มาตอ่ ยกันดเู ลย” เห็นไดว้ ่าเป็น
การกล่าวท้าทายให้สิบตำรวจตรี ข. ออกมาต่อส้กู บั จำเลย อันเป็นเพยี งคำกล่าวทีไ่ ม่สภุ าพและไม่
สมควรยงั ไม่ถึงขั้นท่พี อจะให้เข้าใจวา่ จำเลยมคี วามมุ่งหมายท่ีจะด่า ดถู กู เหยียดหยามหรอื สบ
ประมาทใหส้ บิ ตำรวจตรี ข. อบั อาย การกระทำของจำเลยจึงไม่เป็นความผดิ ตามมาตรา ๑๓๖
(ฎีกาท่ี ๕๓๒๓/๒๕๔๐)

- นายตรวจคน้ จับสุราทบี่ า้ น ม. น. จะเดนิ ตามนายตรวจไป ม. พูดกบั น. ว่า “มึงอยา่ ไปกบั มัน
เป็นทาสมนั ทำไม” เปน็ แตค่ ำไมส่ ภุ าพ (ฎีกาที่ ๕๔๖/๒๔๖๗)

- จำเลยกล่าวตอ่ ตำรวจในขณะเข้าจบั กุมว่า “พวกมึงตำรวจไมม่ คี วามหมายสำหรบั กอู ยากจะ
จับกม็ าจับเลยในเมอื่ ไมไ่ ดก้ ระทำผิด” เปน็ คำพูดทไี่ มส่ ุภาพ (ฎีกาที่ ๗๑๓/๒๕๑๙)

- จำเลยกล่าววา่ “คุณเปน็ นายอำเภอได้อยา่ งไร ไม่รบั ผิดชอบ” ไม่ไดก้ ล่าวโดยเมาสรุ าหรือทบุ
โตะ๊ ชวนววิ าทเปน็ แต่คำไมส่ ภุ าพ ไม่ถงึ ดหู มิ่นตามมาตรา ๑๓๖ (ฎีกาที่ ๘๖๐/๒๕๑๒)

๑๐

- จำเลยกล่าวตอ่ ตำรวจผู้จับจำเลยวา่ “ถ้าแนจ่ ริงให้ถอดปืนทเี่ อวมาตอ่ ยกนั ตวั ตอ่ ตัว” และ “ถา้
แน่จรงิ มายงิ กันคนละนัดก็ได้ ไม่ต้องใช้กำป้นั ใชป้ ืนดกี วา่ ” เปน็ คำกล่าวท้าทายในขณะจำเลย
มนึ เมา เป็นคำกล่าวท่ไี มส่ ภุ าพเทา่ นน้ั (ฎกี าที่ ๔๑๕/๒๕๒๘)

o คำกลา่ วตามขอ้ เทจ็ จรงิ และพฤตกิ ารณแ์ ห่งคดีไม่เป็นการดหู มิ่น

- จำเลยกล่าวว่า “นายอำเภอไม่เปน็ ประชาธปิ ไตย เพราะบงั คับผ้อู ยู่ใตบ้ งั คับบญั ชาใหเ้ ลอื กต้ัง
ผู้ทน่ี ายอำเภอต้องการ ใครไม่เลอื กก็ไม่ขอเงินเดอื นข้นึ ให้ ทำทำนบไม่เป็นไปตามทีพ่ ูดไว้
ทำงานไมข่ าวสะอาด” เปน็ การกล่าวโดยสจุ รติ และอยู่ในวิสัยของการติชมธรรมดาในฐานะที่
นายอำเภอเป็นกรรมการหม่บู ้านอยูด่ ้วยเพราะนายอำเภอกันเงินไปใชไ้ มใ่ ห้กรรมการหมู่บ้านทราบ
(ฎีกาท่ี ๑๕๕๑/๒๕๐๓)

- ตำรวจแจง้ ขอ้ หาและส่ังใหจ้ ำเลยลงจากรถยนต์เพอื่ จับกุมจำเลยกลา่ วว่า “เป็นตำรวจสิเอา
อำนาจหยังมาไซ่รนุ แรงเกนิ ไปแบบน”้ี เป็นเพียงคำประท้วงการกระทำของตำรวจโดยมีเหตุผลไม่
เปน็ การดหู ม่ินเจ้าพนักงาน (ฎีกาท่ี ๑๐๗๐/๒๕๐๖)

- จำเลยท่ี ๒ นำข้อความในกระบวนพจิ ารณาคดใี นศาลซง่ึ เป็นขอ้ ความในคำฟ้องที่จำเลยท่ี ๑ ย่นื
ฟอ้ งโจทกต์ อ่ ศาลอาญากรงุ เทพใต้ไปลงพิมพ์โฆษณาในหนงั สือพมิ พ์ และข้อความดังกลา่ วลว้ นเป็น
ข้อเทจ็ จรงิ ท่เี ก่ียวกับข้อหาความผิดทีจ่ ำเลยท่ี ๑ ฟอ้ งโจทกท์ ั้งส้ินการกระทำของจำเลยที่ ๑ เปน็
การกระทำเพอ่ื ประโยชนแ์ ก่คดขี องตนท่ีฟอ้ งโจทกเ์ ทา่ นั้น จงึ ไมเ่ ป็นความผิดฐานดูหมนิ่ เจา้
พนักงานซ่งึ กระทำการตามหน้าที่ตามมาตรา ๑๓๖ (ฎีกาที่ ๓๖๕๔/๒๕๔๓)

- ตามขอ้ เทจ็ จริงและพฤตกิ ารณ์แห่งคดที ำให้เป็นทส่ี งสยั ว่าผู้เสียหายอาจมีสาเหตโุ กรธเคอื งกบั
จำเลยแล้วแกลง้ จบั กมุ จำเลยดังทจ่ี ำเลยใหข้ ่าวในหนังสอื พิมพก์ ารกระทำของจำเลย เชน่ นี้จึงเป็น
การกล่าวข้อเท็จจรงิ โดยสุจริตเพอื่ ความชอบธรรมป้องกนั ตนหรือปอ้ งกันส่วนไดเ้ สยี เกยี่ วกับตน
ตามคลองธรรม ไม่มคี วามผิดฐานดูหม่ินหรือหมิ่นประมาท (ฎีกาที่ ๒๒๓๘/๒๕๒๐)

๑๑

ข้อสังเกต คำพูดตา่ งๆท่ีศาลมกั วนิ ิจฉยั ว่าเป็นคำพดู ไมส่ ุภาพบ้าง เป็นการตดั พ้อต่อว่า
บา้ ง เป็นการกล่าวโดยสุจริตบา้ ง จะพิจารณาแค่คำพูดอย่างเดียวไมไ่ ดต้ อ้ งดขู ้อเท็จจริงแวดลอ้ ม
ดว้ ย เพราะศาลมกั จะพจิ ารณาถงึ ความบกพร่องในการปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องเจา้ พนักงานมาประกอบ

➢ ตัวอยา่ งการกล่าวข้อความหรอื ถ้อยคำทีศ่ าลฎีกาวนิ จิ ฉัยว่าเป็นการดหู มิ่นเจา้ พนักงาน

- ดา่ ตำรวจว่า “มึงหมาหรอื คน ตำรวจอะไร” “ตำรวจชาติหมา” ถอื เป็นการดูหมนิ่ ลดคณุ ค่า
ของผ้อู ่ืนไปในทางท่เี ส่ือมเสีย (ฎกี าที่ ๓๖๓-๓๖๔/๒๔๗๓)

- พดู กบั ตำรวจวา่ “คุณเป็นเจา้ พนกั งานอะไรกนั แน่ ไมส่ มควรเป็นผูพ้ ิทักษส์ นั ติราษฎรค์ ุณ
แกล้งสอบสวนโดยไม่ยตุ ิธรรม แกลง้ บอกให้จดคำให้การไม่ตรงต่อความจรงิ ” คำว่า “แกลง้ ”
เปน็ การกล่าวดหู มนิ่ เจ้าพนกั งาน ไมใ่ ช่การกล่าวในลักษณะ ปรบั ทุกข์ ตชิ มปรารภ หรือขอ
ความเหน็ ใจ (ฎีกาท่ี ๑๑๒๗/๒๔๘๐)

- กลา่ วแก่จราจรผจู้ ับวา่ “ผมผดิ แค่น้ี ใคร ๆ กผ็ ิดได้ ทำไมมาว่าผม อย่างคณุ จะเอาผมไป คณุ
ถอดเครอ่ื งแบบมาชกกบั ผมตัวตอ่ ตัวดกี ว่า” กิริยาและถ้อยคำที่กล่าวท้าทายเจ้าพนกั งานมาชก
กนั แม้ไมม่ คี ำดำกเ็ ปน็ การดูหมิ่น (ฎกี าที่ ๑๕๑๙/๒๕๐๐) (ประชมุ ใหญ)่

- ผถู้ กู จับพูดซำ้ ๆ หลายคราวว่า ตำรวจล้วงเอาเงนิ ในกระเปา๋ ไป ซงึ่ ไม่ใช่ความจรงิ เปน็ การสรา้ ง
ความเส่ือมเสียให้กับเจ้าพนกั งาน จงึ มีความผิดฐานดูหมน่ิ เจา้ พนักงาน (ฎกี าท่ี ๑๑๘๓/๒๕๓๐)

- รถยนต์ตำรวจตรวจท้องทบ่ี บี แตรขอทาง จำเลยกล่าวว่า “รถยนต์ตำรวจกลวั แม่มนั หยงั ” ไม่
เพยี ง แตห่ ยาบคายไมส่ ภุ าพยังเปน็ ถ้อยคำเหยยี ดหยามดูหม่ิน (ฎีกาที่ ๖๓๗/๒๕๔๐)

- ตำรวจจบั จำเลย จำเลยกล่าวว่า “รถคันอ่นื กแ็ นน่ เหมือนกันทำไมไม่จับหรอื จะแกล้งจบั ผมคน
เดยี วจราจรลำพนู ไม่ยุติธรรม” ไม่ใชค่ ำกล่าวในลักษณะปรับทกุ ข์ ตชิ มปรารภหรอื ขอความเหน็ ใจ
(ฎีกาที่ ๑๐๘๑/๒๕๐๕)

๑๒

- จำเลยกล่าวต่อตำรวจจราจรทจี่ ับวา่ “ส้ือช่ยุ มาก" เปน็ การกล่าวพาดพิงไปถึงการทำงานของ
เจา้ พนักงานในลกั ษณะทว่ี า่ เจ้าพนกั งานไม่ใหค้ วามเป็นธรรม ถอื เปน็ ลกั ษณะของการดูหมน่ิ
(ฎีกาที่ ๑๗๓๕/๒๕๐๖)

- ด่าตำรวจผจู้ บั ว่า “ตำรวจเฮงซวย” ถือวา่ มอี ำนาจกท็ ำไปตามอำนาจจะตอ้ งใหเ้ จอดีบ้าง เปน็
การกลา่ วพาดพงิ ไปถึงการทำงานของเจ้าพนกั งานในลักษณะที่วา่ เจา้ พนกั งานไมใ่ ห้ความเปน็ ธรรม
ถือเปน็ ลักษณะของการดูหม่ิน (ฎกี าที่ ๘๒๖/๒๕๐๘)

- ช้ีหน้าวา่ “ปลัดนกิ รบ้าหรอื อยา่ งไร มาขดั ขวางกลน่ั แกลง้ เลอื กท่รี กั มักที่ชงั ไมใ่ หค้ วามเปน็
ธรรม” ดังนถี้ อ้ ยคำและกิรยิ าเชน่ น้ี ไม่ใช่คำกล่าวตอ่ ว่าโดยกริ ยิ าทส่ี ุจริต (ฎกี าที่ ๖๒๓/๒๕๐๘)

- กลา่ วว่าผู้บงั คับกองตำรวจที่จะคน้ รถยนต์ของจำเลยกับพวกว่า “ผู้กองอย่างมึงเอาอะไรกบั กนู ี่
หรอื ผพู้ ิทกั ษ์สันตริ าษฎร์” เปน็ การกล่าวพาดพิงไปถึงการทำงานของเจ้าพนกั งานในลกั ษณะท่ีวา่
เจ้าพนักงานไมใ่ ห้ความเป็นธรรม ถอื เป็นลักษณะของการดูหม่นิ (ฎกี าท่ี ๒๒๕๑/๒๕๑๖)

- จำเลยกล่าวตอ่ จา่ สบิ ตำรวจขณะทจ่ี ะเขา้ จบั กมุ จำเลยวา่ “อ้ายจ่าถ้ามงึ จับกู กจู ะเอามึงออก”
มิใชเ่ ป็นเพียงการประทว้ งการกระทำของเจา้ พนักงาน เปน็ การพดู ลดคณุ คา่ ของผู้อื่น ถอื เปน็ การดู
หมน่ิ (ฎกี าท่ี ๓๑๖/๒๕๑๗)

- จำเลยโตเ้ ถยี งกบั นายรอ้ ยเวรเรื่องแจง้ ความจำเลยกล่าวว่า “ทำอยา่ งน้ไี ม่ยุตธิ รรม” ซงึ่
หมายความว่านายรอ้ ยเวรปฏบิ ัติหนา้ ทไ่ี มย่ ุติธรรม ถือเปน็ การดูหมิ่น (ฎกี าที่ ๓๔๗/๒๕๑๙)

- จ่าสิบตำรวจจบั จำเลยฐานวางหาบเร่เกะกะทางเทา้ ให้จำเลยไปคอยที่สถานีตำรวจ พอตำรวจไป
ถึงจำเลยว่า “ลอ้ื จับแบบน้แี กลง้ จับอ๊วั นห่ี ว่า ไมเ่ ปน็ ไร ไว้เจอกนั เมอ่ื ไรก็ได้” เป็นการกลา่ ว
พาดพิงไปถึงการทำงานของเจา้ พนกั งานในลักษณะทวี่ ่าเจ้าพนกั งานไมใ่ ห้ความเปน็ ธรรม ถือเป็น
ลกั ษณะของการดูหม่นิ (ฎีกาที่ ๑๕๔๑/๒๕๒๒)

๑๓

วัตถุแหง่ การกระทำ คอื เจ้าพนกั งาน ขณะถกู ดหู มน่ิ ต้องเปน็ เจ้าพนักงาน หากเกษยี ณ
หรอื ลาออกไปแลว้ ไม่ถือว่าเปน็ เจ้าพนกั งาน ซ่ึงกฎหมายตามบทบัญญตั ิมาตรา ๑๓๖ มุ่งคมุ้ ครอง
เจา้ พนกั งาน “ซึ่งกระทำการตามหน้าท่ี” หรือ “เพราะไดก้ ระทำการตามหนา้ ท”ี่ ดงั เช่นกรณี
ดงั ตอ่ ไปนี้

o ดูหมิ่นเจ้าพนักงานซง่ึ กระทำการตามหน้าที่

- จำเลยว่าเจ้าพนกั งานซงึ่ จับจําเลยตามหน้าทีว่ า่ “ตำรวจเฮงซวย ถือวา่ มอี ำนาจก็ทำไปตาม
อำนาจ จะต้องใหเ้ จอดีเสยี บ้าง” คำว่า "เฮงซวย" ว่าเอาแน่นอนอะไรไมไ่ ด้ คณุ ภาพต่ำ ไม่ดซี ่ึงมี
ความหมายในทางเสอ่ื มเสีย ถือเปน็ ถอ้ ยคำทกี่ ล่าวสบประมาทเจ้าพนกั งานขณะปฏบิ ัติการตาม
หน้าที่ (ฎีกาที่ ๘๖๒/๒๕๐๘)

- นายอำเภอสง่ั ให้ผู้เสยี หายซง่ึ รบั ราชการเป็นเสมียนทด่ี ินผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชาไปทำการรังวัดสอบเขต
ทีด่ ิน เชน่ นนี้ ายอำเภอย่อมส่งั ได้ เพราะเป็นการสงั่ ตามหน้าทรี่ าชการโดยชอบด้วยกฎหมายเมอ่ื
ผเู้ สียหายไปทำการรังวัดทีด่ ินตามคำส่งั ของนายอำเภอเชน่ นี้ ย่อมได้ช่อื ว่าเปน็ เจ้าพนักงานตาม
หน้าทีร่ าชการ การท่ีจำเลยไม่ยอมให้ทำการรงั วัด กลับกล่าวถ้อยคำว่า “พนักงานท่ดี นิ หมา ๆ
ชอบกินแตเ่ บยี้ ” (ชอบกนิ สินบน) เปน็ การกล่าวพาดพงิ ไปถงึ การทำงานของเจา้ พนกั งานใน
ลักษณะทีว่ ่าเจ้าพนกั งานไมใ่ ห้ความเปน็ ธรรม จำเลยยอ่ มมคี วามผดิ ฐานดหู ม่ินเจา้ พนักงานซึ่ง
กระทำการตามหนา้ ที่ (ฎีกาที่ ๒๑๑๓/๒๕๑๖)

แตก่ รณีท่ี กำนันใช้ให้บคุ คลอ่ืนไปตามบุตรสาวจำเลยมาใกล่เกลีย่ แบง่ ทรพั ยส์ นิ กนั ระหวา่ ง
สามภี รยิ ามใิ ช่เป็นการปฏิบตั ติ ามหนา้ ทข่ี องกำนันตาม พ.ร.บ. ลกั ษณะปกครองจำเลยกลา่ ววาจา
ดูหม่ินกำนันตอ่ ผูไ้ ปตามนัน้ ไมเ่ ปน็ ความผดิ ฐานดูหม่นิ เจา้ พนักงาน (ฎกี าท่ี ๒๑๑๓/๒๕๑๖)

หรือกรณที ่ี จำเลยกลา่ วดหู มน่ิ ขณะนายตำรวจพนกั งานสอบสวนกำลงั กินอาหารอยกู่ บั ภรยิ า
ทบ่ี ้านพกั ซง่ึ มใิ ชเ่ วลาปฏบิ ตั ริ าชการตามหน้าท่ี จึงถือไม่ไดว้ ่าจำเลยดูหมน่ิ เจ้าพนกั งานซ่ึงกระทำ
การตามหนา้ ที่ตามมาตรา ๑๓๖ (ฎีกาที่ ๙๒๐/๒๕๐๘)

๑๔

o ดูหม่นิ เจา้ พนกั งานเพราะได้กระทำการตามหนา้ ที่

กรณนี ี้ไม่ไดด้ หู ม่ินขณะเจา้ พนกั งานปฏบิ ัติหน้าท่ี แตด่ หู ม่นิ อันเนื่องมาจากเจ้าพนกั งาน
ปฏิบตั ิหนา้ ที่ เช่น ดหู มนิ่ ผู้พพิ ากษานอกศาลเนื่องจากผพู้ ิพากษาสั่งปรับจำเลย (ฎีกาท่ี ๗๕๘/
๒๔๙๔)

- จำเลยเบกิ ความในศาลว่าตำรวจเคยข่มข่เู รยี กเงินจากจำเลยเพื่อป้นั พยานหลักฐานเท็จชว่ ย
จำเลยผดิ ดูหม่นิ เจ้าพนกั งานและหมิ่นประมาทด้วย (ฎีกาท่ี ๑๐๐๖/๒๕๔๒)

แต่กรณกี ารดหู มิน่ เจา้ พนกั งานที่ไมไ่ ด้กล่าวถงึ เจ้าพนกั งานผู้หนึ่งผูใ้ ดโดยเฉพาะ แต่เป็น
การกล่าวรวม ๆ เชน่ กล่าวดูหมนิ่ ตำรวจนครบาลซึ่งไมเ่ ข้าใจวา่ หมายถงึ ใครไม่เป็นความผิดตาม
มาตรา ๑๓๖ (ฎกี าที่ ๕๕๙/๒๕๐๕) แตถ่ ้าหากกล่าวแลว้ คนท่ัวไปเขา้ ใจวา่ หมายถงึ ตำรวจคนหนึง่
หรือหลายคนทก่ี ำลงั ตรวจทอ้ งทีห่ รอื ทกี่ ำลังจบั กุมผตู้ ้องหาอยู่เปน็ ความผดิ ตามมาตรา ๑๓๖
(ฎกี าที่ ๖๓๗/๒๕๐๔)

องค์ประกอบภายใน คือ เจตนาตามมาตรา ๕๔ วรรคสองรวมถึงร้ขู ้อเท็จจรงิ อนั เป็น
องคป์ ระกอบของความผดิ ตามมาตรา ๕๙ วรรคสามหากไม่รวู้ า่ เปน็ เจ้าพนกั งาน เชน่ ตำรวจแต่ง
กายนอกเครือ่ งแบบโบกรถเพ่ือตรวจค้นจำเลยไม่ทราบเป็นเจ้าพนักงานกลา่ วดูหมิ่นออกไปถอื ว่าไม่
มเี จตนาดูหมิ่นเจา้ พนักงานหรอื กล่าวดูหม่ินขณะเมาสุราโดยไมท่ ราบว่าเป็นเจ้าพนกั งานถือว่าไม่
มเี จตนาดหู มิน่ เจ้าพนักงาน (ฎีกาที่ ๔๑๓/๒๕๕๐)

๑๕

ความผดิ ฐานดูหม่นิ ศาลหรือผู้พพิ ากษาในการพิจารณาคดี ตามมาตรา ๑๙๘

“ผู้ใด” หมายถงึ บคุ คลหรือนิติบุคคล มีความหมายเช่นเดยี วกบั มาตรา ๑๓๖

“ดหู ม่ิน” ตามมาตราน้มี คี วามหมายเดยี วกบั มาตรา ๑๓๖ เปน็ แตเ่ ม่ือผดิ มาตรา ๑๙๘ ซึ่งเป็นบท
เฉพาะแลว้ ไมผ่ ิดมาตรา ๑๓๖ ซึง่ เป็นบททั่วไปอีกการดหู ม่ินคอื การกระทำด้วยประการใด ๆ อัน
เปน็ การดูถูกเหยียดหยามสบประมาทดา่ ทอซึง่ เปน็ การกระทำในทางท่ลี ดคณุ ค่าของศาลหรอื ผู้
พพิ ากษา

การกระทำตามมาตราน้แี บ่งเป็น ๒ ตอน ดังนี้

❖ ๑.ดหู มนิ่ ศาลหรือผูพ้ ิพากษาในการพจิ ารณาคดี

อาจกระทำตอ่ ตวั ผ้พู ิพากษาซึง่ รวมถึงดะโตะ๊ ยตุ ธิ รรมดว้ ย (ฎีกาที่ ๑๕๗๕/๒๕๑๘) หรือกระทำ
ต่อศาลซงึ่ เป็นตัวองค์กรกไ็ ด้และไมจ่ ำต้องกระทำขณะพิจารณาหรือพพิ ากษาคดีก็ได้

แตต่ ้องกระทำเน่ืองในการพจิ ารณาคดีหรือพิพากษาคดี เชน่ หลังจากศาลตดั สนิ คดีแลว้
จำเลยกล่าวว่า ผู้พิพากษาลำเอียงตัดสินคดใี หแ้ พ้ จึงเป็นถอ้ ยคำดหู มิ่นศาลหรือผ้พู ิพากษาตาม
มาตรา ๑๙๘ (ฎีกาท่ี ๕๗๓/๒๔๗๕)

กล่าวว่า “อ้ายผพู้ ิพากษานปี้ รับกไู ด้ กูจะต้องเตะมงึ ” ถือเป็นการเหยียดหยามทำใหอ้ ับอาย จงึ
เปน็ ถอ้ ยคำดูหมิ่นศาลหรือผ้พู ิพากษาตามมาตรา ๑๙๘ (ฎีกาที่ ๗๕๘/๒๔๙๘ น. ๖๙๖)

จำเลยเแจ้งข้อความเท็จโดยเจตนา กล่าวหาผพู้ พิ ากษาว่าได้ร่วมรบั ประทานอาหารกบั โจทก์ซงึ่
ตัดสนิ ให้ชนะคดี ซงึ่ อาจทำให้ผู้พิพากษาเสยี หาย เช่นนี้ การกระทำของจำเลยเป็นความผดิ ตาม
มาตรา ๑๓๗ ยง่ิ กว่านัน้ ข้อความท่ีจำเลยแจ้งเทจ็ ดงั กลา่ ว ยังมีความหมายไปในทางหาว่าผู้
พพิ ากษาประพฤตติ นไม่สมควร เปน็ ไปในทำนองทพ่ี พิ ากษาคดคี วามไปโดยไมส่ จุ ริต เป็นการ
หมน่ิ ประมาทผ้พู พิ ากษาในการพิพากษาคดีอันเปน็ ความผิดตามมาตรา ๑๙๘ และเป็นการหม่นิ
ประมาทใส่ความแกน่ ายหิรัญตามมาตรา ๓๒๖ อีกด้วย (ฎีกาที่ ๑๑๒๔/๒๕๐๗)

กลา่ ววา่ “พิพากษาลงโทษจําเลยโดยไม่คำนงึ ถงึ หลกั กฎหมายหลกั ความยุติธรรม
ประชาชนผไู้ ด้รบั ความเดือดรอ้ นจะวงิ่ ไปขอความยตุ ธิ รรมตอ่ ศาลให้สน้ิ เปลืองเงินทองเพื่อ
ประโยชน์อันใด” เปน็ ข้อความกล่าวในทำนองตำหนิศาล นับว่าเป็นการกระทำทแี่ สดงตอ่ ศาล

๑๖

หรือผพู้ ิพากษาในการพจิ ารณาคดจี ึงเป็นถอ้ ยคำดหู ม่ินศาลหรอื ผูพ้ ิพากษาตามมาตรา ๑๙๘
(ฎกี าที่ ๑๖๕๐/๒๕๑๔)

❖ ๒.กระทำการขดั ขวางการพิจารณาหรอื พิพากษาของศาล

ต้องกระทำตอ่ ศาลซึง่ เป็นองค์กรเท่านน้ั ไมใ่ ชต่ ่อตวั ผูพ้ พิ ากษาจงึ ตอ้ งกระทำขณะผพู้ ิพากษา
เปน็ ศาลออกนั่งพจิ ารณาหรอื อ่านคำพพิ ากษาคดีเทา่ น้ัน แตก่ ็ไมจ่ ำต้องกระทำในหอ้ งพิจารณากไ็ ด้
เชน่ ขณะศาลน่งั พิจารณาหรอื อ่านคำพพิ ากษามีการชกตอ่ ยหรือโตเ้ ถยี งกนั เสียงดงั เอะอะนอกหอ้ ง
พิจารณาจนศาลดำเนินกระบวนพจิ ารณาต่อไปไมไ่ ด้

๑๗

บทที่ ๓
สรุปเนือ้ หาและขอ้ เสนอแนะ

ความผิดฐานดูหมนิ่ เจ้าพนักงาน ตามมาตรา ๑๓๖
o ฐานความผดิ : ดหู มน่ิ เจา้ พนักงาน แยกเปน็ ๒ ความผิด

ความผดิ ที่ ๑
องค์ประกอบ ภายนอก (๑) ผู้ใด (๒) ดหู ม่นิ (๓) เจ้าพนักงาน
(๔) ซงึ่ กระทำการตามหนา้ ที่
ภายใน (๑) เจตนาฯ

ความผดิ ที่ ๒
องคป์ ระกอบ ภายนอก (๑) ผู้ใด (๒) ดหู มนิ่ (๓) เจ้าพนกั งาน
ภายใน (๑) เจตนาฯ
(๒) มูลเหตชุ กั จูงใจ เพราะได้กระทำการตามหน้าท่ี

๑๘

อธบิ าย

“ดหู มน่ิ ” หมายถงึ การกระทำการเหยียดหยามหรือดูถูกอาจทำดว้ ยวาจากิริยาทา่ ทาง

“ ซงึ่ กระทำการตามหนา้ ท”่ี หมายถึงขณะท่ีกระทำการตามหนา้ ทีอ่ ยู่มูลเหตุชักจูงใจไมส่ ำคัญ แม้
ดูหม่ินกนั เป็นส่วนตัวกผ็ ดิ

สว่ นเมอื่ ใดจะถือว่า “กระทำตามหน้าท”่ี นน้ั จะต้องพิจารณาจากกฎหมายระเบยี บขอ้ บงั คบั และ
คำสง่ั ของราชการซง่ึ ออกโดยชอบด้วยกฎหมายวา่ ได้กำหนดหนา้ ท่ขี องเจา้ พนักงานนน้ั ๆ ไว้
อยา่ งไร

“เพราะได้กระทำการตามหนา้ ท”่ี หมายถงึ สาเหตุที่ทำการดูหมนิ่ มีมูลเหตชุ ักจูงใจคือหม่นิ ก็เพราะ
เจา้ พนักงานน้นั ได้กระทำการตามหน้าทม่ี าแล้วแมข้ ณะทดี่ ูหมนิ่ เจา้ พนกั งานไม่กระทำการตาม
หนา้ ทก่ี ็ผดิ

ตวั อยา่ ง

(ฎกี าท่ี ๗๒๕๖/๒๕๖๑) ถอ้ ยคำที่จำเลยกลา่ วว่าถ้าไม่มหี นงั สือนำมหาวิทยาลัยจะไม่ให้
ตรวจสอบและโจทกร์ ่วมกบั ผูเ้ สียหายที่ ๒ มาตรวจสอบโดยไมถ่ ูกต้องแล้วยังมาเดนิ กร่างไปกร่าง
มาในมหาวิทยาลยั เป็นเพียงคำกลา่ วท่ีก้าวรา้ วไมเ่ หมาะสม ซงึ่ ไมส่ มควรพดู ยังไม่ถงึ ขนาดจะดู
หมน่ิ เหยยี ดหยาม

แต่ถ้อยคำของจำเลยที่ว่ามาตรวจสอบโดยมีอคตนิ ้ันเปน็ การกลา่ วหาโจทก์ร่วมและ
ผเู้ สียหายที่ ๒ ว่าปฏบิ ัติหน้าทต่ี รวจสอบเร่อื งการทจุ ริตโครงการดังกล่าวด้วยความลำเอียงโดย
ปราศจากเหตผุ ลอันสมควรในการกล่าวถ้อยคำเชน่ นน้ั แสดงใหเ้ ห็นเจตนาของจำเลยที่ต้องการ
ลดคณุ ค่าของโจทกร์ ่วมและผู้เสียหายที่ ๒ อันเป็นการดถู กู เหยียดหยามหรอื สบประมาทโจทก์
ร่วมและผู้เสียหายท่ี ๒ ไม่ใช่เปน็ เพียงคำกล่าวที่ไม่สภุ าพและไม่สมควร การกลา่ วถอ้ ยคำ
ดังกลา่ วของจำเลยจึงเป็นความผดิ ฐานดหู ม่ินเจา้ พนกั งานซ่งึ กระทำการตามหน้าที่ตามมาตรา
๑๓๖

๑๙

ข้อสงั เกต

จะเหน็ ไดว้ ่าการดหู มิ่นเจ้าพนักงานตามมาตรา ๑๓๖ น้จี ะแตกต่างกับการดหู มิ่น
บุคคลธรรมดาซึ่งไม่ใช่เจ้าพนกั งานตามมาตรา ๓๙๓ ซึ่งเป็นการดหู มน่ิ ผู้อื่นซึง่ หนา้ หรอื ดว้ ยการ
โฆษณา แต่การดหู ม่นิ เจ้าพนกั งานตามมาตรา ๑๓๖ นจี้ ะเป็นการดูหมิ่นซ่ึงหน้า ลับหลงั หรอื ด้วย
การโฆษณาก็ไดท้ ง้ั น้ันไมจ่ ำเปน็ ต้องดหู ม่ินตอ่ หนา้ เจ้าพนักงานหรือถา้ เปน็ การดูหมน่ิ ศาลหรือผู้
พพิ ากษากจ็ ะเป็นความผิดตามมาตรา ๑๙๘ ไมใ่ ช่ความผิดตามมาตรา ๑๓๖ (ซ่ึงจะต้องพจิ ารณา
ใหด้ วี ่าเป็นการดูหมิ่นใคร)

อนงึ่ การกระทำโดยการกล่าวข้อความหรอื ถอ้ ยคำอย่างไรจึงจะถอื ว่าเปน็ การดูหม่ินเจ้า
พนกั งานนนั้ จะตอ้ งพจิ ารณาจากการกระทำและพฤตกิ ารณเ์ ป็นเรอ่ื ง ๆ ไปซง่ึ อาจพจิ ารณาจาก
คำพิพากษาศาลฎกี าก่อนหนา้ ทีไ่ ด้วินจิ ฉยั ไว้เปน็ ตวั อย่างได้

๒๐

ความผดิ ผิดฐานดูหมน่ิ ศาลหรือผูพ้ พิ ากษาในการพิจารณาคดี ตามมาตรา ๑๙๘
o ฐานความผดิ : ดหู ม่ินศาลหรือผูพ้ พิ ากษา...

องคป์ ระกอบ ภายนอก (๑) ผ้ใู ด
(๒) ดหู มนิ่
(๓) ศาลหรอื ผู้พิพากษา
(๔) ในการพจิ ารณาคดี

ภายใน (๑) เจตนาฯ

หรอื ภายนอก (๑) ผู้ใด

(๒) กระทำการขัดขวาง

(๓) การพิจารณาหรอื พพิ ากษาของศาล

ภายใน (๑) เจตนาฯ

อธบิ าย

“ในการพิจารณาหรือพพิ ากษาคดี” หมายความว่า ในขณะท่ีศาลพิจารณาหรือพิพากษา
คดีถา้ ดหู ม่ินในขณะอน่ื ผดิ ม. ๑๓๖

“ขดั ขวางการพจิ ารณาหรอื พิพากษา” หมายความวา่ การกระทำอนั เปน็ การทำใหศ้ าลไม่
สามารถหรือขดั ข้องในการพจิ ารณาฯ ได้โดยเรยี บรอ้ ยซึ่งอาจกระทำนอกศาลก็ได้คงรวมถึงคำสงั่
ดว้ ย

“ดหู มิ่น” หมายถงึ การกระทำทีล่ ดคุณค่าในการพิจารณาพพิ ากษาคดขี องศาลหรอื ผู้
พิพากษาในสายตาของผ้กู ระทำผิดไมจ่ ำตอ้ งทำในขณะมกี ารพจิ ารณาพิพากษาคดี แต่ต้องดูหม่ิน
การพิจารณาพิพากษาไม่ใชต่ วั ผพู้ ิพากษา (ฎ. ๑๑๒๔/๒๕๐๓)

๒๑

กระทำการขดั ขวาง ... ต่อศาล (มิใชต่ อ่ ผู้พิพากษา) ต้องกระทำในขณะทีผ่ ู้พพิ ากษาเป็น
ศาลกำลังพจิ ารณาคดี การละเมิดอำนาจศาลตามป. ว.ิ แพง่ ไมล่ บลา้ งความผิดตามมาตรานี้

ตวั อยา่ ง

กลา่ วว่า “อ้ายผู้พิพากษาน้ปี รบั กไู ด้ กจู ะตอ้ งเตะมงึ ” ถือว่าตัวผู้พดู มเี จตนาเหยียดหยามทำ
ใหผ้ ูพ้ ิพากษาอบั อาย ถอื เปน็ การลดคุณคา่ ตวั ผู้พพิ ากษา จงึ เปน็ ถอ้ ยคำดูหมน่ิ ศาลหรือผพู้ พิ ากษา
ตามมาตรา ๑๙๘ (ฎีกาท่ี ๗๕๘/๒๔๙๘ น. ๖๙๖)

“ดหู มิน่ ” ตามมาตรานี้มีความหมายเดียวกับมาตรา ๑๓๖ เป็นแต่เมอ่ื ผิดมาตรา ๑๙๘ ซึง่ เปน็
บทเฉพาะแลว้ ไมผ่ ดิ มาตรา ๑๓๖ ซึ่งเปน็ บททว่ั ไปอีก การดหู มิ่นคอื การกระทำด้วยประการใด ๆ
อันเป็นการดูถกู เหยียดหยามสบประมาทดา่ ทอซึ่งเป็นการกระทำในทางท่ลี ดคุณคา่ ของศาลหรอื ผู้
พพิ ากษา

๒๒

ขอ้ เสนอแนะ

ในปจั จุบันการส่อื สารนัน้ สามารถกระทำไดง้ ่ายมากยิ่งขน้ึ เนอื่ งจากสื่อสงั คมออนไลนม์ ี
การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ทำใหม้ นุษย์เราสามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารกนั ไดอ้ ย่างสะดวกสบาย ผล
สบื เนื่องจากความสะดวกสบายน้ี ทำใหบ้ างครัง้ มนุษย์มีกระบวนการคิด การตัดสินใจในการพดู
การแสดงความคดิ เหน็ หรือการกระทำน้อยลง ซ่งึ อาจทำใหบ้ ุคคลอืน่ ไดร้ ับผลกระทบ หรอื สร้าง
ความเสียหายให้แกบ่ คุ คลอน่ื

จงึ ตอ้ งมกี ฎหมายทบ่ี ญั ญัติเกีย่ วกบั กฎเกณฑ์ในการแสดงความคดิ เห็น โดยทท่ี ุกคนใน
สงั คมจะต้องปฏบิ ัติร่วมกันอย่างเคร่งครดั เพ่ือไม่ใหก้ ระทบสทิ ธขิ องผอู้ น่ื ทงั้ น้กี ็จะต้องมกี ารจำกดั
เสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ ซ่ึงตัวดฉิ ันเล็งเห็นถงึ จดุ นวี้ ่า ในบางครง้ั อาจทำใหเ้ กิดปญั หาได้
เน่อื งจากเราไม่สามารถอาจทราบเบื้องลึกของตัวผู้กระทำวา่ มคี วามรสู้ ึกนึกคดิ อย่างไร ตวั เขา
อาจจะเปน็ ผู้ถกู กระทำมาก่อนจงึ เปน็ เหตใุ ห้เกดิ แรงจูงใจในการกระทำความผิด ซ่ึงหากมองใน
มมุ มองของดฉิ นั กไ็ มเ่ ปน็ การยตุ ธิ รรมสำหรับเขามากนกั จึงถือได้วา่ จุดนี้เปน็ จดุ ทย่ี ากทจี่ ะพิสูจน์หา
ข้อเทจ็ จริงได้และเกดิ ผลกระทบแก่ตวั ผกู้ ระทำ เน่อื งจากบางครั้งกไ็ ม่มหี ลักฐานท่จี ะสามารถนำมา
เปน็ ขอ้ ตอ่ สูไ้ ด้ แต่ดฉิ ันกเ็ หน็ ดว้ ยกับกฎหมายทต่ี ้องการจะหยุดการกระทำท่ีไม่เหมาะสมของคนใน
สังคม ซ่ึงเป็นการแก้ไขปญั หาทต่ี ้นเหตุ เพราะถา้ ไม่มีคนเร่ิมการกระทำที่ไม่เหมาะสมต้ังแต่แรก
การทีม่ ีถกู กระทำก็ลดนอ้ ยลงเชน่ กนั

อยา่ งไรก็ตามเราควรใช้เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ในทางทส่ี รา้ งสรรค์และกอ่ ให้เกิด
ประโยชนแ์ ก่สงั คม บุคคลทุกคนมี “เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” ตราบเท่าที่ไม่
กระทบกระเทอื นเสรภี าพของบุคคลอน่ื ซ่ึงสทิ ธขิ องบคุ คลอน่ื ทถี่ กู กระทบกระเทือนในที่น้ี กค็ ือ
“สิทธใิ นเกยี รติยศชอ่ื เสียง” ของบคุ คลอนื่ ที่ถกู พาดพงิ หากเมอ่ื ใดทม่ี กี ารลำ้ เสน้ ก็ตอ้ งรับผิดตาม
กฎหมาย

บรรณานุกรม

ทวีเกยี รติ มนี ะกนษิ ฐ์. (๒๕๖๔). ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอา้ งองิ (พิมพ์ครงั้ ที่ ๔๔).
กรุงเทพฯ : วญิ ญชู น.

ทวีเกยี รติ มนี ะกนษิ ฐ์ และรณกรณ์ บญุ ม.ี (๒๕๖๔). คำอธบิ ายกฎหมายอาญา ภาคความผดิ
และลหโุ ทษ (พมิ พค์ ร้ังที่ ๑๘). กรุงเทพฯ : วิญญชู น.

สหรฐั กิติ ศุภการ. (๒๕๖๑). หลกั และคำพพิ ากษากฎหมายอาญา (พิมพ์ครัง้ ที่ ๘). กรงุ เทพฯ :
อมรินทร.์

สหรัฐ กิติ ศุภการ. (๒๕๖๓). หลกั และคำพิพากษากฎหมายอาญา (พมิ พ์ครัง้ ที่ ๑๐). กรงุ เทพฯ
: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์พบั ลิชช่ิง.

สนิท สนน่ั ศิลป.์ (๒๕๔๙). คำอธบิ ายประมวลกฎหมายอาญา. (พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒).
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพส์ ูตรไพศาล.

สุรัสวดี แสนสขุ และพลสิทธิ์ จริ ะสันติมโน. (๒๕๖๐). ขอ้ สงั เกตเบอ้ื งต้นเก่ียวกับหมิ่นประมาท
และดหู ม่นิ ในกฎหมายอาญา, วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
อุบลราชธานี. ปีท๘่ี ฉบบั พิเศษ ๒๐๑๗


Click to View FlipBook Version