สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม
................................................................................................
ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานโรงเรียนบารุงราษฎรว์ ทิ ยาคม ไดพ้ จิ ารณามาตรฐาน
การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ปี การศกึ ษา 2565 ของโรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม สานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาพจิ ิตร เขต 2 แลว้
เห็นชอบใหด้ าเนินการตามมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั น้ีได้
(ลงชื่อ) ........................................................
( นายภาณุวฒั น์ ยทุ ธนาระวีศกั ด์ิ )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
โรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม
ประกาศโรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม
เร่ือง การใช้มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาปฐมวยั ในการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ปี การศึกษา 2565
………………………………………………..
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9
(3) ไดก้ าหนดการจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจดั การศกึ ษาใหย้ ึดหลกั ท่ีสาคญั ขอ้ หน่ึง คอื มกี ารกาหนด
มาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบประกนั คุณภาพการศึกษาทกุ ระดบั และทกุ ประเภทการศกึ ษา โดยมาตรา 48 ให้
หน่วยงานตน้ สังกดั และสถานศกึ ษาจดั ใหม้ ีระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ อื ว่าการประกนั คุณภาพ
ภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารจดั การศกึ ษาทตี่ อ้ งดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา
ฉะน้นั อาศยั อานาจตามความในมาตรา 9 (3) แห่งพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และมาตรา 5
มาตรา 31 แห่งพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ
(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ประกอบกบั มติคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา
พิจิตรเขต 2 คร้งั ที่ 5 / 2561 เมือ่ วนั ที่ 8 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 และมตทิ ่ีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั
พ้ืนฐานโรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม จึงประกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั เพ่ือเป็นหลกั ในการ
ส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม ตอ่ ไป
ท้งั น้ี ใหเ้ ริ่มดาเนินการตามมาตรฐานการศกึ ษาฉบบั น้ี ต้งั แต่ปี การศึกษา 2565 เป็ นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2565
ลงช่ือ
( นางสุวรรณา เขม็ เพชร )
ผอู้ านวยการโรงเรียนบารุงราษฎร์วิทยาคม
คานา
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา เป็นกระบวนการหน่ึงท่ีมีความสาคญั ยงิ่ ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา เป็ น
กระบวนการทีส่ ามารถยนื ยนั ถึงคณุ ภาพทแี่ ทจ้ ริงท่เี กิดจากการบริหารจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา โดยไดก้ าหนดไวใ้ น
พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 ใหก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
บริหารการศกึ ษาทกี่ าหนดใหส้ ถานศึกษาและหน่วยงานตน้ สังกดั ตอ้ งดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องท้งั ระบบ การประกนั
คุณภาพภายใน และระบบการประกนั คุณภาพภายนอก ในส่วนของการประกนั คณุ ภาพภายในน้นั ตามประกาศ
คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เรื่อง กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบตั ิ เกี่ยวกบั การ
ประกนั คุณภาพภายในระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 ระบุใหส้ ถานศึกษากาหนดมาตรฐาน การศกึ ษาของ
สถานศึกษา เพอื่ เป็นแนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
โรงเรียนบารุงราษฎรว์ ทิ ยาคม จึงไดด้ าเนินการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา
ปฐมวยั สาหรับดาเนินงานตามนโยบายและจุดเนน้ ในระดบั สถานศึกษา โดยใหม้ คี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการทีป่ ระกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาปฐมวยั ท้งั น้ี
โรงเรียนไดพ้ ฒั นามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั และประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาและ
กาหนดค่า เป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษา สาหรับใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน ต้งั แต่ปี
การศึกษา 2565 เป็นตน้ ไป โรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม ขอขอบคุณคณะทางานกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษา ทกุ ทา่ น ท่ีมสี ่วนร่วมในการจดั ทามาตรฐานการศึกษาและกาหนดค่าเป้าหมายสาหรับการพฒั นาในคร้ังน้ี
และหวงั วา่ เอกสารฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูผสู้ อน ผทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่าย ในการดาเนินงานใช้
มาตรฐานการศึกษาเพื่อพฒั นา ส่งเสริม สนบั สนุน กากบั ดูแลและติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาทสี่ ่งผลต่อ
คุณภาพของเด็ก ตอ่ ไป
คณะทางาน
1 พฤษภาคม 2565
คาชี้แจง
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา จดั ทาข้ึนตามกรอบของกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพ
ศกึ ษา พ.ศ. 2561 ทใ่ี หส้ ถานศกึ ษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาตามประเภทของสถานศึกษา เนน้ การ
พฒั นาการศกึ ษาตามบริบทของสถานศึกษาทีม่ คี วามแตกตา่ งกนั ดา้ นปัจจยั กระบวนการ และผลผลิต ในส่วนของการ
ต้งั คา่ เป้าหมายจึงมงุ่ ไปทคี่ วามเป็ นไปไดท้ ี่ใกลเ้ คียงกบั เกณฑข์ ้นั ต่าทม่ี าตรฐานกลางกาหนดไว้
เอกสารกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวยั ของโรงเรียนบารุงราษฎร์วทิ ยาคม
เล่มน้ี จดั ทาข้ึนเพ่อื ใชเ้ ป็ นกรอบหรือแนวทางในการจดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี การ
ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพ่ือพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาสู่เป้าหมายตามทส่ี ถานศึกษากาหนด โดยใหค้ รูและบคุ ลากรในสถานศึกษาถอื เป็ นภารกิจทีต่ อ้ งดาเนินการ
ร่วมกนั ซ่ึงจะทาเกิด
ซ่ึงใหค้ วามมน่ั ใจแก่ผทู้ ีม่ ีส่วนเก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายว่าการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษามคี ุณภาพไดม้ าตรฐานและคง
รกั ษาไวซ้ ่ึงมาตรฐานจากการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ต่อไป
คณะทางาน
1 พฤษภาคม 2565
บทนา
การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทาใหค้ นมคี วามรู้และคุณสมบตั ติ า่ ง ๆ ที่ช่วยใหค้ นน้นั อยรู่ อดในโลกได้ เป็น
ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสังคมส่วนรวม (สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี, 2545) ดงั น้นั
คุณภาพการศึกษาจึงสะทอ้ นถึงคุณภาพคนที่เป็นผลผลิตของการจดั การศกึ ษา ในบริบทของสังคมไทย
ปัจจุบนั รูปแบบการศึกษาส่วนใหญจ่ ะเป็นการศกึ ษาในระบบ ดงั น้นั สถานศกึ ษาจึงเป็นหน่วยงานหลกั ท่มี ี
หนา้ ทใ่ี นการจดั การศกึ ษา โดยเฉพาะในระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน อยา่ งไรก็ตามในสถานการณป์ ัจจุบนั
สถานศกึ ษาส่วนใหญ่ยงั มคี วามเหลอื่ มล้าแตกตา่ งกนั ท้งั ในดา้ น งบประมาณ คณุ ภาพ บคุ ลากร หรือแมแ้ ต่ปัจจยั
ดา้ นผเู้ รียน รวมท้งั ปัจจยั เอ้ืออื่น ๆ เช่น ความร่วมมอื ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา การสนบั สนุนจากชุมชน
หน่วยงานหรือองคก์ รทอี่ ยู่ใกลเ้ คียงสถานศึกษา และการตดิ ตามช่วยเหลืออยา่ งใกลช้ ิดจากสานกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาหรือหน่วยงานตน้ สังกดั สิ่งเหล่าน้ีลว้ นส่งผลกระทบตอ่ คุณภาพการจดั การศึกษา อีกท้งั ปัจจุบนั
สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจดั การศกึ ษาดว้ ยตนเอง มีการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามบริบทและ
ความตอ้ งการของตนเอง คุณภาพผเู้ รียนและคุณภาพในการบริหารจดั การจึงมีความแตกตา่ งกนั
พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 จึงกาหนดให้
หน่วยงานตน้ สังกดั และสถานศึกษาจดั ใหม้ ีระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา อนั นาไปสู่การ กาหนดให้
มมี าตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานข้นึ ประกอบกบั การไดม้ กี ารประกาศใชก้ ฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
พ.ศ. 2561 และกระทรวงศึกษาธิการมกี ารประกาศใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 ลงวนั ท่ี 6 สิงหาคม 2561 สาหรบั
ให้สถานศกึ ษาใชเ้ ป็ นแนวทางเนินงานเพื่อการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา และเตรียมการสาหรับการ
ประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดความมนั่ ใจแก่ผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ ง ทกุ ฝ่ายวา่ การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษามี
คุณภาพ ไดม้ าตรฐาน และคงรักษาไวซ้ ่ึงมาตรฐานจาก การดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
มาตรฐานการศกึ ษาเป็ นขอ้ กาหนดเก่ียวกบั คุณลกั ษณะและคุณภาพท่พี ึงประสงคท์ ตี่ อ้ งการใหเ้ กิดข้นึ
ในสถานศึกษาทุกแห่ง มาตรฐานถูกกาหนดข้ึนเพอ่ื ใชเ้ ป็นหลกั เทยี บเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากบั ดูแล การ
ตรวจสอบ การประเมินผลและการประกนั คุณภาพการศึกษา (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน, 2548)
มาตรฐานในบริบทน้ีจึงเป็นมาตรฐานท่ีมงุ่ เนน้ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยองคร์ วม กาหนด การใหม้ ีมาตรฐาน
การศึกษาทาให้เกิดโอกาสท่เี ท่าเทียมกนั ในการพฒั นาคณุ ภาพเพราะสถานศกึ ษาทกุ แห่งรู้วา่ ว่าเป้าหมายการ
พฒั นาทแ่ี ทจ้ ริงอยทู่ ี่ใด การกาหนดใหม้ ีมาตรฐานการศึกษาจึงเป็นการใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การศกึ ษา 2 ประการ
ไดแ้ ก่ 1) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีเกณฑเ์ ปรียบเทียบกบั มาตรฐานซ่ึงเป็นมาตรฐาน เดียวกนั
2) มาตรฐานทาใหส้ ถานศกึ ษาเขา้ ใจชดั เจนวา่ จะพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไปในทิศทางใด
นอกจากน้ี การกาหนดมาตรฐานยงั เป็นการกาหนดความคาดหวงั ท่ีชดั เจนใหก้ บั ครู ผบู้ ริหาร พ่อแม่
ผปู้ กครอง ชุมชนและ หน่วยงานตา่ ง ๆทม่ี ีส่วนเก่ียวขอ้ งในการจดั การศกึ ษาซ่ึงเป็นแนวทางหน่ึงในการร่วมมอื รวมพลงั
เพือ่ ใหเ้ กิด คณุ ภาพการศกึ ษาตามเป้าหมายทกี่ าหนด มาตรฐานการศกึ ษาจึงเป็นจุดเริ่มตน้ ของการพฒั นาทุนมนุษยแ์ ละ
เป็นเป้าหมายสาคญั ทส่ี ุดที่ผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่าย ทุกคนตอ้ งรบั รูแ้ ละปฏิบตั ิงานในหนา้ ทที่ ่ีรบั ผดิ ชอบให้ บรรลุถึง
เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนดและร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษาทเี่ กิดข้ึน (accountability)
สถานศึกษาท่ีจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มสี ่ิงสาคญั ท่บี ่ง บอกไดอ้ ยา่ งชดั เจนหลายประการ ไดแ้ ก่ มี
การกาหนดภารกิจของสถานศึกษาทีช่ ดั เจน มีการกากบั ตดิ ตามงาน สม่าเสมอ ความสาพนั ธร์ ะหวา่ งสถานศึกษา บา้ น
และชุมชนมคี วามใกลช้ ิดและไวว้ างใจกนั มกี ารต้งั ความ คาดหวงั ของผลสาเร็จไวส้ ูง มคี วามเป็ นผนู้ าดา้ นการจดั การ
เรียนรู้อยา่ งมอื อาชีพ ท้งั ครูและผูบ้ ริหาร มีการสรา้ งโอกาสในการเรียนรูแ้ ละให้ เวลาผูเ้ รียนในการทางานกลุ่มมากข้นึ
จดั ส่ิงแวดลอ้ มทจ่ี าเป็นอยา่ งมรี ะเบียบ สะอาด และปลอดภยั มีการจดั หลกั สูตรท่ีชดั เจน สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมาย ใช้
กลวธิ ีในการประเมนิ ทีห่ ลากหลาย จดั การเรียนการสอนทกี่ ระตนุ้ ให้ผเู้ รียนมคี วามสนใจกระตือรือรน้ ในการท่ีจะ
เรียนรู้ จดั บรรยากาศทีส่ ่งเสริม ความเป็ นเลิศทางวิชาการ ขจดั สิ่งทีเ่ ป็นอุปสรรคสาหรบั ความสมั พนั ธ์กบั ผปู้ กครอง
และชุมชน พฒั นางานอยู่ บนพ้ืนฐานของการวิจยั ใชแ้ หล่งเรียนรู้ทม่ี ีอยอู่ ยา่ งเตม็ ทแี่ ละวางแผนงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
จากแนวคดิ ใน การจดั การศกึ ษาและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดงั กล่าว ประกอบกบั แนวคิดในการพฒั นา
มาตรฐานการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานว่าตอ้ งเป็นมาตรฐานท่ีปฏิบตั ิง่าย ประเมนิ ไดจ้ ริง กระชบั และจานวนนอ้ ยแตส่ ามารถ
สะทอ้ น คุณภาพการศึกษาไดจ้ ริง ขอ้ มลู ท่ีไดเ้ กิดประโยชนใ์ นการพฒั นาการศึกษาทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดบั สถานศึกษา
ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา ระดบั หน่วยงานตน้ สงั กดั และระดบั ชาติ ดงั น้นั การกาหนดมาตรฐานจึงเนน้ ที่
“คุณภาพของเดก็ ”
กระบวนการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เป็นกระบวนการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพ่ือนาไปใชเ้ ป็นเป้าหมายหรือกรอบทิศทางในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา และเพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ ตนเองของ
สถานศึกษาแตล่ ะปีการศึกษา วา่ สามารถบริหารการศกึ ษาในสถานศกึ ษาไดบ้ รรลุเป้าหมายหรือไม่ ผเู้ รียนมีคุณภาพ
ตามทต่ี ้งั เป้าหมายหรือไม่ และการกาหนดและการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษายงั เป็นขอ้ มลู สาคญั
ทสี่ านกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาหรือหน่วยงานตน้ สังกดั สามารถนาไปเป็นเป้าหมายในการกากบั ดแู ล ตรวจสอบ และ
การสรุปผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม เพอื่ นาขอ้ มลู ไปใชว้ างแผนยกระดบั คุณภาพใหส้ ูงข้นึ
สถานศกึ ษา เป็นหน่วยงานทางการศกึ ษาทม่ี คี วามสาคญั ทส่ี ุด ทต่ี อ้ งปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงการประกนั
คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยการพิจารณาความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้
รวมถึงนโยบาย จดั เนน้ ของตน้ สังกดั และของสถานศกึ ษา ซ่ึงมีกระบวนการในการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษา ดงั น้ี
ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อมการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
1. แต่งต้งั คณะกรรมการการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ผบู้ ริหาร
สถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ตวั แทนชุมชนและผปู้ กครอง
2. สรา้ งจิตสานึกการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โดยการจดั ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารหรือช้แี จงเพอื่ สรา้ ง
ความรู้ ความเขา้ ใจ และความสาคญั ของการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ตลอดจนประโยชน์ของการกาหนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา
ข้ันตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ของมาตรฐานการศึกษา
หลงั จากแต่งต้งั คณะกรรมการการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา และสรา้ งจิตสานึกการ
พฒั นาคุณภาพการศึกษา แลว้ คณะกรรมการทไ่ี ดร้ ับการแตง่ ต้งั จะตอ้ งวเิ คราะหส์ าระสาคญั ทจ่ี ะนามากาหนดโครงสรา้ ง
ของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จากมาตรฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้
/หลกั สูตรสถานศึกษา จุดเนน้ ปัญหาและความตอ้ งการตามสถานะของสถานศึกษา
ข้ันตอนท่ี 3 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และค่าเป้าหมาย
หลงั จากทส่ี ถานศึกษา ไดว้ เิ คราะห์สาระสาคญั ทจ่ี ะนามากาหนดโครงสรา้ งของมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษาแลว้ ลาดบั ตอ่ ไป สถานศึกษาตอ้ งดาเนินการสังเคราะห์ขอ้ มลู ตา่ งๆ เพื่อหลอมรวมกาหนดเป็น
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ทส่ี อดคลอ้ งกบั สถานะและบริบทของสถานศกึ ษา มกี ารกาหนดคา่ เป้าหมาย
ความสาเร็จท้งั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในแต่ละมาตรฐานและตวั บ่งช้ี การกาหนดค่าเป้าหมายดงั กล่าวตอ้ งพจิ ารณา
จากผลการดาเนินงานทีผ่ า่ นมาของสถานศึกษา และมคี วามเป็นไปไดท้ ีจ่ ะใหบ้ รรลุ เป็นสาคญั โดยผา่ นกระบวนการ
เห็นชอบร่วมกนั ของผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
ข้ันตอนท่ี 4 ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
การตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการพจิ ารณาทบทวนเน้ือหาสาระท่ี
กาหนดในมาตรฐานและตวั บง่ ช้ี รวมถึงคา่ เป้าหมายความสาเร็จทสี่ ถานศึกษาไดก้ าหนดข้นึ วา่ เหมาะสม
ครอบคลุม สอดคลอ้ ง และเป็นไปได้ โดยใหผ้ ทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายร่วมพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ
ข้ันตอนท่ี 5 ประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป็นเคร่ืองบอกทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนและสถานศกึ ษา
โดยรวม ดงั น้ัน การนามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เผยแพร่และแจง้ ใหก้ ลุ่มผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งท้งั ภายในและภายนอก
รับทราบดว้ ยรูปแบบและวธิ ีการทีเ่ หมาะสม เช่น การแจง้ ในที่ประชุม จดหมายขา่ วในเวบ็ ไซตท์ ้งั ของตน้ สงั กดั และ
สถานศกึ ษา
รายละเอียดมาตรฐาน/ตวั บ่งชี้/ค่าเป้าหมาย
มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวยั มจี านวน 3 มาตรฐาน 18 ตวั บ่งช้ี
มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ ระดับ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ 80 ดีเลศิ
1.1 เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกายเหมาะสมตามวยั 80 ดี
1.2 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ-์ จิตใจเหมาะสมตามวยั 80 ดี
1.3 เด็กมีพฒั นาการดา้ นสังคมเหมาะสมตามวยั 80 ดี
1.4 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญาเหมาะสมตามวยั 70 ดี
1.5 ผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งพงึ พอใจต่อคุณภาพของเด็ก 80 ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 75 ดี
2.1 หลกั สูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ดา้ น 75 ดี
สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษาและทอ้ งถิ่น
2.2 สถานศึกษาจดั ครูและบุคลากรเหมาะสมกบั จานวนเด็กปฐมวยั 75 ดี
2.3 สถานศึกษาส่งเสริมใหค้ รูมโี อกาสไดร้ ับการพฒั นา ดา้ นการจดั 75 ดี
ประสบการณ์การเรียนรู้
2.4 สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพือ่ การเรียนรูอ้ ยา่ งปลอดภยั 75 ดี
และเพยี งพอตามบริบทของสถานศึกษา
2.5 สถานศกึ ษาใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ 80 ดีเลิศ
เพอื่ สนบั สนุนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ ระดบั
2.6 สถานศกึ ษามีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิ ดโอกาสใหผ้ ทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย
มสี ่วนร่วม 75 ดี
2.7 ผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งพงึ พอใจตอ่ กระบวนการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 80 ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็ นสาคญั 75 ดี
3.1 ครูจดั ประสบการณท์ สี่ ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ 70 ดี
3.2 ครูสรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมี 80 ดีเลิศ
ความสุข 80 ดีเลิศ
3.3 ครูจดั บรรยากาศที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยที อ่ี ยา่ งเหมาะสม
70 ดี
ตามวยั 70 ดี
3.4 ครูจดั ใหม้ ปี ระเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง แบบมสี ่วนร่วม
3.5 ครูนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ มาปรับปรุงการจดั ประสบการณ์ 80 ดีเลิศ
76.67 ดี
และพฒั นาเด็ก
3.6 ผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งพงึ พอใจตอ่ การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เป็นสาคญั
เฉลย่ี
เกณฑ์การแปรค่าระดับ เทา่ กบั 5 ระดบั “ยอดเยยี่ ม”
รอ้ ยละ 90 ข้ึนไป เทา่ กบั 4 ระดบั “ดีเลิศ”
รอ้ ยละ 80 - 89 เทา่ กบั 3 ระดบั “ดี”
รอ้ ยละ 70 - 79 เทา่ กบั 2 ระดบั “ปานกลาง”
ร้อยละ 60 - 69 เท่ากบั 1 ระดบั “กาลงั พฒั นา”
ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60
คาอธบิ าย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็
ผลพฒั นาการเดก็ ในดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา
1.1 เดก็ มพี ฒั นาการด้านร่างกาย เหมาะสมตามวยั
เด็กมีน้าหนกั และส่วนสูงตามเกณฑน์ ้าหนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์ มสี ุขภาพอนามยั สุขนิสัยทดี่ ี
รักษาความปลอดภยั ของตนเองและผอู้ ื่น เคล่ือนไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคล่วประสานสมั พนั ธ์ และทรงตวั ได้
และใชม้ อื -ตาประสานสมั พนั ธ์กนั
1.2 เดก็ มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ เหมาะสมตามวยั
เด็กแสดงออกทางอารมณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม มีความรูส้ ึกที่ดีต่อตนเองและผอู้ ืน่ สนใจ มคี วามสุขและ
แสดงออกผา่ นงานศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ซ่ือสัตยส์ ุจริต มีความเมตตา กรุณา มนี ้าใจและชว่ ยเหลอื แบ่งปนั มี
ความเห็นออกเห็นใจผอู้ ่ืน และมีความรับผดิ ชอบ
1.3 เดก็ มพี ฒั นาการด้านสังคม เหมาะสมตามวยั
เดก็ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั กิ ิจวตั รประจาวนั มีวนิ ยั ในตนเอง ประหยดั และพอเพียง ดูแลรกั ษา
ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรักความเป็นไทย ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา่ ง
ระหวา่ งบคุ คล มปี ฏิสัมพนั ธ์ทด่ี ีกบั ผอู้ ืน่ ปฏิบตั ติ นเบ้อื งตน้ ในการเป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคม ทกั ทาย
และมีสัมมาคารวะกบั ผใู้ หญ่ ยอมรับหรือเคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และมคี วามเข้าใจเกยี่ วกบั สังคมรอบตวั
1.4 เด็กมพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา เหมาะสมตามวยั
เด็กสนทนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ อา่ นเขียนภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้ มคี วามสามารถในการคดิ รวบ
ยอด มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตดั สินใจ ทางานศลิ ปะตามจินตนาการ
และความคิดสรา้ งสรรค์ แสดงทา่ ทาง / เคล่ือนไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนรู้ และมี
ความสามารถในการแสวงหาความรู้
1.5 ผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องพงึ พอใจต่อคณุ ภาพของเดก็
สถานศึกษาจดั ใหม้ กี ารสอบถามความพึงพอใจดา้ นการพฒั นาคุณสภาพของเดก็ จากผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียกบั
การจดั การศึกษาของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ผปู้ กครอง ผนู้ าชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยใช้
แบบสอบถามท่สี ถานศกึ ษาสรา้ งข้นึ รวบรวม สรุปและประมวลผลใหเ้ ป็นที่น่าเชื่อถือ
คาอธบิ าย
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
สถานศกึ ษาดาเนินการบริหารและจดั การสถานศกึ ษาทคี่ รอบคลุมดา้ นวิชาการ ดา้ นครูและบุคลากร
ดา้ นขอ้ มูลสารสนเทศ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพอื่ การเรียนรู้ และดา้ นระบบประกนั คณุ ภาพภายใน
โดยเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา มกี ารกากบั ติดตามการดาเนินงานอยา่ งเป็นระบบ
และตอ่ เน่ือง เพ่ือสรา้ งความมนั่ ใจตอ่ คุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2.1 หลกั สูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษาและ
ท้องถิ่น
สถานศึกษามีหลกั สูตรสถานศกึ ษาทีย่ ดื หยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั โดยสถานศกึ ษา
ออกแบบการจดั ประสบการณ์ที่เตรียมความพรอ้ มและไม่เร่งรดั วิชาการ เนน้ การเรียนรูผ้ า่ นการเล่นและการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
ตอบสนองความตอ้ งการและความแตกตา่ งของเด็กปกตแิ ละกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะและสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชีวิตของ
ครอบครัว ชุมชนและทอ้ งถ่ิน
2.2 สถานศึกษาจดั ครูและบุคลากรเหมาะสมกบั จานวนเดก็ ปฐมวยั
สถานศกึ ษาจดั ครูใหเ้ หมาะสมกบั ภารกิจการเรียนการสอนหรือจดั ครูทจ่ี บการศกึ ษาปฐมวัยหรือผา่ นการอบรม
การศกึ ษาปฐมวยั อยา่ งพอเพียงกบั ช้นั เรียน
2.3 สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมโี อกาสได้รับการพฒั นาความเชี่ยวชาญ ด้านการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
มที กั ษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการประเมินพฒั นาการเด็ก ใชป้ ระสบการณ์สาคญั ในการออกแบบ
การจดั กิจกรรม มีการสงั เกตและประเมินพฒั นาการเดก็ เป็นรายบุคคล มีปฏิสัมพนั ธ์ท่ดี กี บั เด็ก และครอบครวั
2.4 สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภยั และเพยี งพอตามบริบทของสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรียนทค่ี านึงถึงความปลอดภยั ส่งเสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้
เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมอื ร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มสี ื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนงั สือ
นิทาน ส่ือจากธรรมชาติ ส่ือสาหรับเดก็ มดุ ลอด ปี นป่าย สื่อเทคโนโลยี สื่อเพอ่ื การสืบเสาะหาความรู้
2.5 สถานศกึ ษาให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์การ
เรียนรู้
สถานศึกษาอานวยความสะดวก และใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศวสั ดุ และอุปกรณ์ เพือ่ สนบั สนุนการ
จดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาครู
2.6 สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารคุณภาพทเ่ี ปิ ดโอกาสให้ผู้ทเ่ี กยี่ วข้องทุกฝ่ ายมสี ่วนร่วม
สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั
และจุดเนน้ /นวตั กรรมท่ีสถานศกึ ษากาหนด จดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาท่สี อดรบั กบั มาตรฐานที่
สถานศึกษากาหนดและดาเนินการตามแผน มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการ
ดาเนินงานและจดั ทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพ
สถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผเู้ กี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วมและจดั ส่งรายงานผลการประเมินใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั
2.7 ผ้มู สี ่วนเกย่ี วข้องพงึ พอใจต่อกระบวนการบริหารจดั การของสถานศึกษา
สถานศึกษาจดั ใหม้ กี ารสอบถามความพึงพอใจดา้ นกระบวนการบริหารจดั การของสถานศึกษา จากผมู้ ีส่วน
ไดส้ ่วนเสียกบั การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ผูป้ กครอง ผูน้ าชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน โดย
ใชแ้ บบสอบถามทส่ี ถานศกึ ษาสรา้ งข้ึน รวบรวม สรุปและประมวลผลใหเ้ ป็ นทน่ี ่าเชื่อถือ
คาอธบิ าย
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเดก็ เป็ นสาคญั
ครูจดั ประสบการณใ์ หเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดุล เต็มศกั ยภาพ รูจ้ กั เดก็ เป็นรายบคุ คลและสรา้ งโอกาสให้
เด็กทุกคนไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและลงมือกระทาผา่ นประสาทสัมผสั จดั บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ใชส้ ่ือและ
เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วยั มีการติดตามและประเมนิ ผลพฒั นาการเด็กอยา่ งเป็ นระบบ
3.1 ครูจดั ประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมพี ฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
ครูวิเคราะห์ขอ้ มูลเดก็ เป็นรายบุคคล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ จากการวิเคราะหม์ าตรฐาน
คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคใ์ นหลกั สูตรสถานศึกษา โดยมกี ิจกรรมทส่ี ่งเสริมพฒั นาการเดก็ ครบทกุ ดา้ น ท้งั ดา้ นร่างกาย
ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสังคม และดา้ นสตปิ ัญญา ไม่มุ่งเนน้ การพฒั นาดา้ นใดดา้ นหน่ึงเพียงดา้ นเดียว
3.2 ครูสร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสุข
ครูจดั ประสบการณท์ ี่เช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทากิจกรรมอยา่ งอิสระ ตามความ
ตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วธิ ีการเรียนรูข้ องเดก็ เป็ นรายบคุ คลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่ง
เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เด็กไดเ้ ลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทา และสรา้ งองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง
3.3 ครูจดั บรรยากาศทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั วยั
ครูจดั หอ้ งเรียนใหส้ ะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภยั มพี ้ืนที่แสดงผลงานเดก็ พ้นื ทส่ี าหรับมุมประสบการณแ์ ละ
การจดั กิจกรรม เดก็ มสี ่วนร่วม ในการจดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน เชน่ ป้ายนิเทศ การดแู ลตน้ ไม้ เป็นตน้ ครูใชส้ ื่อ
และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรูข้ องเด็ก เช่น กลอ้ งดิจิตอล คอมพวิ เตอร์
สาหรับการเรียนรูก้ ลุ่มยอ่ ย ส่ือของเล่นทกี่ ระตนุ้ ใหค้ ิดและหาคาตอบ เป็นตน้
3.4 ครูจดั ให้มปี ระเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง แบบมสี ่วนร่วม
ครูประเมินพฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ดว้ ยเคร่ืองมือและวธิ ีการท่หี ลากหลาย ไม่ใช้
แบบทดสอบ โดยผปู้ กครองมสี ่วนร่วมในการประเมนิ พฒั นาการเด็ก
3.5 ครูนาผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็
ครูนาผลการประเมินพฒั นาการทไี่ ดไ้ ปวิเคราะหผ์ ลการประเมินพฒั นาการเดก็ เพอ่ื นาไปพฒั นาการจดั
ประสบการณ์การเรียนรู้ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ส่งผลใหเ้ ดก็ มคี ณุ ภาพ
3.6 ผ้มู สี ่วนเกยี่ วข้องพงึ พอใจต่อการจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็ นสาคญั
สถานศึกษาจดั ให้มกี ารสอบถามความพึงพอใจดา้ นการจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เป็นสาคญั จากผมู้ สี ่วนได้
ส่วนเสียกบั การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ ผปู้ กครอง ผนู้ าชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โดยใช้
แบบสอบถามท่ีสถานศึกษาสรา้ งข้ึน รวบรวม สรุปและประมวลผลใหเ้ ป็นทนี่ ่าเชื่อถือ