The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายการผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by treerat.ma, 2021-11-29 01:51:56

List of government performance results Fiscal Year 2564

รายการผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2564

คํานาํ

การรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2564 ของวิทยาลัย
พณิชยการธนบุรี ไดรวบรวมผลการปฏิบัติงานตามโครงการในแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2564
ซ่ึงไดดําเนินการพัฒนาคุณภาพอาชีวศึกษา ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใหมี
ประสิทธภิ าพ โดยไดร บั ความรว มมือจากจากผูรบั ผิดชอบโครงการตางๆ เปนอยางดี

รายงานผลการดําเนินงานโครงการฉบับน้ี สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีจากความอนุเคราะหจากบุคลากรทุก
ทานท่ีใหความรวมมือในการดําเนินโครงการ ผูรับผิดชอบโครงการมีความคาดหวังวาสรุปรายงานโครงการนี้จะ
เปนประโยชนต อ องคก รและผทู ่ีสนใจ เพือ่ นําไปประยกุ ตใชในการจัดทาํ รายงานโครงการใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุด

งานวางแผนและงบประมาณ
ฝา ยแผนงานและความรวมมือ

สารบัญ หนา

เร่อื ง 1
คํานาํ 1
สารบัญ 5
ตอนท่ี 1 บทสรปุ สาํ หรบั ผบู ริหาร 6
8
1. ขอ มลู ทัว่ ไปของวิทยาลัยพณิชยการธนบรุ ี 9
2. หลกั สูตรการเรยี นการสอน 10
3. สภาพการดาํ เนินงานและผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน 10
4. จดุ เดน – จุดที่ตองพัฒนา 14
5. แนวทางพัฒนาการจดั การศกึ ษาในอนาคต 17
ตอนท่ี 2 สภาพท่ัวไปของวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี 18
2.1 ขอมูลเก่ียวกบั วทิ ยาลัย 19
2.2 สภาพปจ จุบนั ของวทิ ยาลัย 19
2.3 ระบบโครงสรางบรหิ ารวิทยาลัย 21
2.4 เกยี รตปิ ระวตั ขิ องวทิ ยาลยั 77
ตอนท่ี 3 ผลการดําเนนิ งานของวิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี 78
3.1 ปรัชญา วิสยั ทัศน พันธกิจ 95
3.2 ผลการดาํ เนนิ โครงการตามตัวชี้วัดกลมุ พฒั นาระบบบริหารและสาํ นกั ตดิ ตาม 139
ตอนท่ี 4 ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. รายงานผลการดําเนินโครงการ
ภาคผนวก ข. รูปภาพประกอบการดาํ เนนิ งาน
ภาคผนวก ค. การปรบั แผนปฎบิ ัติราชการ ประจาํ ปง บประมาณ 2564

1

ตอนท่ี 1
บทสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

1. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
1.1 ขอมูลท่วั ไปของวิทยาลัยพณิชยการธนบรุ ี
วทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยดําเนินการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาอาชีวศึกษา 3 มาตรฐาน ผานแผนการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแผนปฎิบัติการประจําป
มผี ลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในระดบั ยอดเยีย่ ม คดิ เปน รอ ยละ 93.61
ผลการประเมนิ มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาของสถานศึกษา โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

มาตรฐานที่ 1 คุณลกั ษณะของผสู ําเร็จการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค 95.45
มาตรฐานที่ 2 การจัดการเรยี นรู 94.15
มาตรฐานที่ 3 การสรา งสงั คมแหงการเรียนรู 85.00
ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา จําแนกเปนประเด็นมผี ลการประเมินรายละเอียดดงั น้ี
1. ผูสําเรจ็ การศึกษาในภาพรวมของสถานศึกษา คดิ เปนรอยละ 72.14 ผลการประเมินตามเกณฑการ
ประเมินอยใู นระดบั คุณภาพ "ดีเลิศ"
2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET) ในภาพรวมของสถานศึกษา
คดิ เปน รอยละ - ผลการประเมนิ ตามเกณฑการประเมินอยใู นระดับคุณภาพ " - "
3. กระบวนการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี เปนไปตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากาํ หนด
ในภาพรวมของสถานศึกษา คิดเปนรอยละ 96.03 ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับคุณภาพ
"ยอดเยีย่ ม"
4. ไดรับผลการประเมินศูนยบมเพาะผูประกอบการอาชีวศึกษาตามเกณฑการประเมินท่ีสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด ในระดับ 3 ดาว ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับคุณภาพ
" ดี "
5. ผูสําเร็จการศึกษาที่มีงานทํา ประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาตอ คิดเปนรอยละ 92.76 ผลการ
ประเมนิ ตามเกณฑก ารประเมนิ อยูในระดบั คุณภาพ "ยอดเยี่ยม"
6. สถานศกึ ษามีการบริหารจัดการ การบรหิ ารชุมชน การบรกิ ารวชิ าชพี และจติ อาสา ผลการประเมิน
ตามเกณฑการประเมินอยูในระดบั คุณภาพ " ดเี ลศิ "
7. ผูเรียนรอยละ 93.48 มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย และเสียสละเพื่อสวนรวม มีความเปน
ประชาธิปไตย ทํางานรวมกับผูอนื่ ไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีภาวะผูน ํา กลาแสดงออก ภูมใิ จในความเปน ไทย เห็น
คุณคาและรวมพัฒนาภูมิปญญาไทย มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และมีผลการ
ประเมินกิจกรรมองคการนักวิชาชีพในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) โดยไดรับผลการประเมินในระดับเหรียญ
ทอง ในระดบั ภาค และมีผลการจดั กิจกรรมลูกเสือในระดับชาติ ผลการประเมนิ ตามเกณฑการประเมินอยูในระดับ
คุณภาพ "ยอดเยี่ยม"

2

8. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาใหครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีสว นรว มในการจัดทาํ แผนพัฒนาสถานศึกษา
และแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป ผลการประเมินตามเกณฑการประเมนิ อยใู นระดบั คุณภาพ "ยอดเย่ียม"

9. สถานศึกษามีการบริหารจัดการ จัดกิจกรรมบริการวิชาชีพ และจิตอาสา โดยบริหารจัดการ
ทรัพยากรของสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ มีการนํานโยบายสูการปฏิบัติตามบริบทของสถานศึกษา ผลการ
ประเมนิ ตามเกณฑก ารประเมนิ อยใู นระดบั คณุ ภาพ "ดีเลิศ"

10. ครูผูสอนจัดทําแผนพัฒนาตนเองและเขารวมกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ ไดรับการพัฒนาตาม
แผนพัฒนาตนเองและกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ ผลการประเมนิ ตามเกณฑการประเมินอยูในระดับคณุ ภาพ "ยอด
เยย่ี ม"

11. สถานศึกษามีแหลงเรียนรูแ ละหองสมุดท่ีมีความพรอมและเพียงพอสําหรับใหครู บุคลากรทางการ
ศึกษา และผูเรียนใชบริการคนควาหาความรูเพื่อสงเสริมการเรียนรู ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูใน
ระดบั คุณภาพ "ยอดเยย่ี ม"

12. สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและมีจํานวนตามเกณฑท่ีกําหนด ไดรับการพัฒนาอยางเปน
ระบบตอเน่ือง เพื่อเปนผูพรอมทั้งดานคุณธรรม จริยธรรมและความเขมแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ คิดเปนเฉล่ีย
รอ ยละ 100 ผลการประเมินตามเกณฑก ารประเมนิ อยใู นระดับคุณภาพ "ยอดเยี่ยม"

13. สถานศึกษามีความสําเร็จในการดําเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสําคัญที่
หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความรวมมือของทุกภาคสวนอยาง
ตอ เนื่อง และเปนระบบ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากร เพ่ือใหการจัดการเรียนการสอน และการบรหิ ารจัดการ
งบประมาณของสถานศึกษาอยางมีประสิทธภิ าพ ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับคุณภาพ "ยอด
เยย่ี ม"

14. สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาและดูแลสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานท่ี หองเรียน
หอ งปฏบิ ัติการ แหลงเรียนรู และสิ่งอํานวยความสะดวกใหมีความพรอมและพอเพียงตอ การใชงานของผูเรียน เอื้อ
ตอการจัดการเรียนรู และสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับ
คุณภาพ "ยอดเยีย่ ม"

15. สถานศึกษามีการบริหารจัดการระบบไฟฟา ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการส่ือสาร
รวมท้ังการจัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ เพื่ออํานวยประโยชนสําหรับ
ใหบ รกิ ารทางการศึกษาแกบุคลากรทางการศึกษา ผูเรียน หรือผใู ชบรกิ ารในสถานศึกษา ผลการประเมนิ ตามเกณฑ
การประเมนิ อยูในระดบั คุณภาพ "ยอดเยี่ยม"

16. ครูผสู อนจดั ทําแผนการจัดการเรยี นรูส กู ารปฏิบตั ทิ เ่ี นนผเู รยี นเปนสาํ คญั และนาํ ไปใชในการจดั การ
เรียนการสอน จํานวน 62 คน คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับคุณภาพ
"ยอดเย่ยี ม"

17. ครูผูสอนมีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่เนน
ผูเรียนเปนสําคัญทุกรายวิชาที่สอน จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิควิธีการสอนที่
หลากหลาย มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง มีการใชส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา แหลงเรียนรู

3

และทําวิจัย เพื่อคุณภาพการจัดการเรียนรูและแกปญหาการจัดการเรียนรู คิดเปนรอยละเฉลี่ย 100 ผลการ
ประเมนิ ตามเกณฑก ารประเมนิ อยใู นระดับคุณภาพ "ยอดเย่ียม"

18. ครูผูสอนมีการวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา มีแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมฯ
และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการกําหนดรูปแบบการเรียนรูสูการปฏิบัติและการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
ใชส่ือเคร่ืองมือ อุปกรณ และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมและนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน มี
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงดวยรูปแบบวิธีการท่ีหลากหลาย คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินตาม
เกณฑการประเมินอยูใ นระดบั คณุ ภาพ "ยอดเย่ยี ม"

19. สถานศึกษามีการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการ
จดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด ซึ่งสถานศึกษาไดจัดการศึกษา
ตามแนวทางปฏิบัติการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคีครบท้ัง 5 ข้ันตอน ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูใน
ระดับคณุ ภาพ "ยอดเย่ยี ม"

20. สถานศึกษามีระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง สําหรับบริหารจัดการระบบสารสนเทศใหเกิด
ประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ในดานความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง ทนั เหตกุ ารณ ประหยัดเวลา
บุคลากรและงบประมาณ เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศระหวางสถานศึกษากับสํานักงาน
คณะกรรมการ การอาชีวศึกษาและหนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของ ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับ
คณุ ภาพ "ยอดเยย่ี ม"

21. ผูบริหารสถานศึกษาจัดใหมีขอมูลพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการบริหารสถานศึกษา มีระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการสถานศึกษา มีการใชขอ มูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศึกษา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร
จดั การสถานศกึ ษา ผลการประเมินตามเกณฑก ารประเมนิ อยูในระดับคณุ ภาพ "ยอดเยี่ยม"

22. สถานศึกษามีการบริการชุมชน บริการวิชาการ บริการวิชาชีพ และผูเรียนมีจิตอาสาสราง
ประโยชนใ หก บั ชมุ ชนและสังคม
การมีสวนรวมของคณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมดําเนินงานโครงการของ
สถานศึกษา และใชนวัตกรรมในการบริหารจัดการสถานศึกษา ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดับ
คณุ ภาพ "ดเี ลิศ"

23. การเขารวมกิจกรรมบริการชุมชน เพ่ือสรางสังคมแหงการเรียนรู ผลการประเมินตามเกณฑการ
ประเมินอยูใ นระดับคุณภาพ "ดเี ลิศ"

24. ครูผูสอนมีการนําผลการพัฒนาตนเองมาใชในการจัดการเรียนการสอน มีผลงานจากการพัฒนา
ตนเองและการพัฒนาวชิ าชีพ ผลการประเมินตามเกณฑการประเมนิ อยใู นระดับคุณภาพ "ยอดเยยี่ ม"

25. สถานศึกษามีการสรางความรวมมือกับทุกภาคสวนดวยการระดมทรัพยากร รวมสนับสนุน เพ่ือ
การจัดการทรัพยากรทางการศึกษา โดยใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพ่ือพัฒนาผูเรียนและคนในชุมชนสูสังคมแหง
การเรยี นรู ผลการประเมินตามเกณฑก ารประเมนิ อยูในระดับคุณภาพ "ยอดเยี่ยม"

4

26. ผูบริหารสถานศึกษาจัดใหมีขอมูลพ้ืนฐานที่จําเปนสําหรับการบริหารสถานศึกษา มีระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา มกี ารใชข อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร

จัดการสถานศึกษา ผลการประเมินตามเกณฑการประเมินอยูในระดบั คณุ ภาพ "ยอดเยี่ยม"
27. สถานศึกษามีการบริหารจัดการระบบขอมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษาอยางมี

ประสิทธิภาพ ผลการประเมินตามเกณฑก ารประเมนิ อยใู นระดบั คุณภาพ "ยอดเย่ียม"
1.2 วิสยั ทศั น (Vision)
เปนสถาบันที่ผลิตผูเรียนใหมีทักษะอาชีพดานบริหารธุรกิจและการทองเท่ียวที่เช่ียวชาญเทคโนโลยีสูการ

เปนพลโลกดจิ ิทัล
1.3 ปรัชญาการจดั การศึกษาของวิทยาลยั (Philosophy)
ความรูคูความดี ตรงตอเวลา รหู นาท่ี มคี วามรับผิดชอบ
1.4 พันธกิจ (Mission) และกลยทุ ธ (Strategy)

ท่ี พนั ธกจิ ท่ี กลยทุ ธ

1. จัด ก ารศึ ก ษ าวิช าชี พ ให ผู เรีย น มี 1. จัดการเรียนรูเพ่ื อสรางอาชีพ และการเป น

สมรรถนะตามมาตรฐานสากล ผปู ระกอบการและพลโลกดจิ ิทัลท่ีเขมแข็ง

2. พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะชีวิตและเปน

พลโลกดจิ ทิ ัลทีเ่ ขมแข็ง

3 สงเสริมการวิจัยเพ่ือพัฒนานวัตกรรม 1. สรางเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการ

ทางวชิ าชพี เพื่อการจัดการอาชวี ศึกษาและวจิ ัยนวัตกรรม

4. ส รางเครือขายความ รวม มื อด าน

วิชาการและวชิ าชพี

5. บริการวิชาการและวิชาชีพและส่ือ 1. บริการวิชาการและวิชาชีพเพ่ือสรางอาชีพและ

ความรสู ูสงั คม รายไดสูสงั คม

6. พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ บุ ค ล า ก ร เพื่ อ 1. พัฒนาสมรรถนะครูในการจัดการเรียนรูเพ่ือเปน

ขับเคลื่อนสมรรถนะของผเู รียน กําลังสําคัญในการพัฒนาสมรรถนะผูเรียนใหมี

คณุ ภาพ

7. เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ 1. บริหารจัดการสถานศึกษาใหเกิดประสิทธิผลใน

สถานศึกษา การดาํ เนินงาน

1.5 อัตลักษณ (Identity)
มีจรรยาบรรณ เชย่ี วชาญวิชาชพี

Professional Ethics and Vocational Specialization

5

1.6 เอกลกั ษณ (Uniqueness)
สถาบันเดน เนน สรา งนกั วิชาชีพ

Well – known Institute and Emphasize Skilled Worker Development

2. หลกั สตู รการเรยี นการสอน

2.1 หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.)

ระดบั ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
การบญั ชี
ปวช. ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวชิ าการบญั ชี การตลาด
การเลขานกุ าร
ปวช. ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวิชาการตลาด
คอมพิวเตอรธ รุ กิจ
ปวช. ประเภทวิชาพณชิ ยกรรม สาขาวชิ าการ
การทอ งเทีย่ ว
เลขานกุ าร ภาษาตางประเทศ

ปวช. ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร ธุรกิจคาปลีก

ธรุ กิจ

ปวช. ประเภทวิชาพณชิ ยกรรม สาขาวชิ าการทองเท่ียว

ปวช. ประเภทวชิ าพณชิ ยกรรม สาขาวิชา

ภาษาตา งประเทศ

ปวช. ประเภทวชิ าพณชิ ยกรรม สาขาวิชาธุรกจิ คาปลีก

2.2 หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.)

ระดับ ประเภทวิชา สาขาวชิ า สาขางาน
สาขาวชิ าการบัญชี
ปวส. ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาการบญั ชี สาขาวิชาการตลาด
สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ทิ ัล
ปวส. ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ สาขาวิชาการตลาด
ธรุ กิจ
ปวส. ประเภทวิชาบริหารธุรกจิ สาขาวิชาเทคโนโลยี สาขาวชิ าการจัดการธรุ กจิ คา ปลีก

ธุรกิจดิจิทลั ธุรกจิ สาขาวชิ าการจัดการโลจสิ ตกิ ส
และซพั พลายเชน
ปวส. ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาการจดั การ

ธรุ กจิ คา ปลีก

ปวส. ประเภทวิชาบรหิ ารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิ

สตกิ สและซัพพลายเชน

6

2.3 หลักสูตรปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ

ระดับ หลกั สตู ร สาขาวชิ า

ป.ตรี ทล.บ. สาขาวชิ าการบัญชี

ป.ตรี ทล.บ. สาขาวิชาการตลาด

ป.ตรี ทล.บ. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ รุ กิจ

3. สภาพการดําเนินงานและผลการประเมนิ คุณภาพภายใน
3.1 สภาพการดําเนนิ งาน
1) จดั ทาํ แผนงานโครงการงานประกนั คณุ ภาพของสถานศึกษาบรรจุไวในแผนโครงการของสถานศึกษา
2) มอบหมายภารกิจใหก บั ฝาย แผนก งาน ครูและบุคลากร โดยการจดั ทําคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการตาม

มาตรฐานและตัวบงช้ี พรอมกําหนดรายชื่อผูรับผิดชอบตามตัวบงช้ีและหนาที่ใหชัดเจน โดยมีคูมือดําเนินการ
ประกนั คุณภาพภายในแนบทายคาํ ส่ัง

3) จัดเตรียมวสั ดุ อุปกรณ เคร่ืองมอื จัดทํา จดั เก็บขอ มูลงานประกันคณุ ภาพ
4) รวบรวมวิเคราะห จัดทาํ รปู เลม SAR ของสถานศกึ ษา
5) รายงานหนวยงานท่เี กย่ี วของ
6) เผยแพรต อ สารธารณชน
ขั้นตอนการดําเนินการประกันคณุ ภาพ
1. ขั้นเตรียมการ

เตรยี มความพรอมดานงบประมาณ บคุ ลากร และทรัพยากร
1.1 ดา นงบประมาณ จัดทําแบบเสนอโครงการประจําปง บประมาณ
1.2 ดา นบุคลากร จัดทําคําส่งั คณะกรรมการดําเนนิ งาน ประชมุ เตรียมงาน
1.3 ดานทรัพยากร จัดเตรยี มสถานท่ีเตรียมรับการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา และทําหนังสือ
ขออนมุ ตั เิ บกิ อุปกรณใ นการประเมิน เชน ปากกา ดนิ สอ ยางลบ กระดาษ ฯลฯ
2. ขั้นวางแผน
2.1 จดั ทาํ แผนงาน โครงการ งานประกนั คณุ ภาพบรรจุไวใ นแผนงานโครงการของสถานศกึ ษา
2.2 ดําเนินงานตามแผนงานโครงการ จัดใหมีการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรูคูมือ
งานประกันคุณภาพ
2.3 สรุปแผนงานโครงการ ตรวจสอบ ประเมินความรู ความเขาใจผูเก่ียวของเร่ืองประกันคุณภาพ
เสมอ
2.4 บุคลากรสถานศึกษาทํางานประกันคุณภาพของสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดมาตรฐาน
และสามารถนําไปใชในภาระงานของสถานศึกษาท่รี ับผดิ ขอบ

7

3. ขัน้ ดาํ เนินการ
3.1 จดั ทาํ แผนงาน/โครงการเตรียมรบั การประเมินคุณภาพของสถานศึกษา
3.2 จัดทําคาํ ส่งั คณะกรรมการดําเนนิ งาน ประชมุ เตรยี มงาน
3.3 จัดเก็บ รวบรวมขอ มลู ตรวจสอบขอมลู จดั เตรียมขอมูล งานประกันคุณภาพสถานศึกษา
3.4 รบั การตรวจประเมินจากหนว ยงานทีเ่ กี่ยวขอ ง
3.5 รายงานหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง
3.6 เผยแพรต อ สาธารณชน

4. ขนั้ สรปุ และรายงาน
4.1 จัดทําแผนงานโครงการงานประกันคุณภาพของสถานศึกษาบรรจุไวในแผนโครงการของ

สถานศึกษา
4.2 จดั ทําคาํ ส่ังหนาทม่ี อบหมายงานประกนั คณุ ภาพตามที่รับผดิ ชอบและครอบคลุม
4.3 จดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ เครอื่ งมอื จดั ทาํ จดั เก็บขอมลู งานประกนั คณุ ภาพ
4.4 รวบรวมวเิ คราะห จัดทํารูปเลม SAR ของสถานศึกษา
4.5 รายงานหนวยงานทีเ่ ก่ียวของ
4.6 เผยแพรต อสาธารณชน

3.2 ผลการประเมนิ ภายใน
ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี มีผลการดําเนินงานตามมาตรฐานอาชีวศึกษา

3 มาตรฐาน 9 ประเด็น โดยมผี ลการประเมนิ ภายในท่ีคะแนนเฉลย่ี 94.02 อยูใ นระดับ ยอดเยีย่ ม สรุปไดด งั นี้
1) ประเด็นทม่ี ผี ลการประเมนิ ระดบั ยอดเยยี่ ม จํานวน 6 ตวั บง ชี้

มาตรฐาน 1 ประเด็นท่ี 1.1 ดา นความรู
มาตรฐาน 1 ประเดน็ ท่ี 1.3 ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค
มาตรฐาน 2 ประเดน็ ที่ 2.2 ดา นการจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา
มาตรฐาน 2 ประเดน็ ที่ 2.3 ดานการบริหารจดั การ
มาตรฐาน 2 ประเด็นท่ี 2.4 ดานการนาํ นโยบายสกู ารปฏบิ ตั ิ
มาตรฐาน 3 ประเด็นที่ 3.1 ดานความรว มมือในการสรางสงั คมแหง การเรยี นรู

2) ตัวบงช้ีที่มีผลการประเมนิ ระดบั ดีเลศิ จาํ นวน 1 ตวั บง ชี้
มาตรฐาน 1 ประเด็นท่ี 1.2 ดานทกั ษะและการประยุกตใช

3) ตัวบง ชีท้ ี่มผี ลการประเมนิ ระดบั ปานกลาง จํานวน 1 ตวั บงช้ี
มาตรฐาน 2 ประเดน็ ท่ี 2.1 ดา นหลกั สูตรอาชวี ศกึ ษา

4) ตัวบงชีท้ ่ีมีผลการประเมินระดับกาํ ลังพัฒนา จํานวน 1 ตัวบงชี้
มาตรฐาน 3 ประเด็นท่ี 3.2 ดานนวัตกรรม ส่งิ ประดษิ ฐ งานสรา งสรรค งานวิจยั

8

ตารางแสดงขอมูลผลการประเมินผลการประเมนิ ภายในตามมาตรฐานอาชีวศึกษา

มาตรฐาน ผลสมั ฤทธ์ิ ระดับคุณภาพ
(คะแนนเฉล่ยี )

มาตรฐานท่ี 1 คุณลกั ษณะของผสู าํ เร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค 96.36 ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 2 การจดั การอาชวี ศกึ ษา 94.15 ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 3 การสรา งสังคมแหงการเรยี นรู 85 ยอดเยีย่ ม

รวมคะแนนเฉลีย่ (คะแนนเต็ม) 94.02 ยอดเยีย่ ม

4.1 จดุ เดน
สถานศกึ ษามีจุดเดนในการดําเนนิ การแบงเปน ลกั ษณะเดน ตามหัวขอดังตอไปน้ี
1. สถานศึกษามีผูเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรกตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธกิ าร อยใู นระดบั คณุ ภาพยอดเย่ยี ม
2. ผูสําเร็จการศึกษาในปที่ผานมามีงานทํา ศึกษาตอหรือประกอบอาชีพอิสระจัดอยูในระดับคุณภาพยอด
เย่ยี ม
3. มีการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รตามขององคการนักวิชาชพี ในอนาคตแหงประเทศไทย สงเสริมใหผ เู รยี นมี
สมรรถนะในการเปนผูประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระหรือศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถานศึกษา ให
ผเู รียนมีความรูและทักษะการประยุกตใช คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงคและเปนที่ยอมรับและ
พึงพอใจของหนว ยงาน
4. ใหค วามสาํ คัญดา นบุคลากรท่มี ีประสบการณและครูผสู อนท่ีตรงสาขาวชิ า
และไดร บั การพัฒนาอยา งสมา่ํ เสมอ
5. การจดั อปุ กรณต า งๆ มีอยา งเพียงพอในการใชดาํ เนินการจัดการเรียนการสอนใหม ีประสิทธภิ าพ
6. ใหค รจู ดั ทําแผนการจัดการเรยี นรูค รบตามหลกั สูตร ทกุ รายวิชา
7. มกี ารวัดและประเมินผลที่หลากหลายและตามสภาพจริง เพือ่ วดั ผลประเมนิ ผลไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
8. จัดใหผ ูเ รยี นไดม ีโอกาสฝกประสบการณทางภาคปฏบิ ตั ทิ ั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ
9. ในดานระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน โดยสถานศึกษากําหนดใหมีการจัดทําแผนงานและโครงการ เพ่ือให
สามารถดแู ลและชวยเหลือผเู รียนไดอยางมีระบบ และไดผ ลดี
10. ผูบริหาร ครูและบุคลากรทุกคน ทุกฝายของวิทยาลัยฯ มีสวนรวมในวางแผนนําเสนอ และการ
ดาํ เนนิ งานตามโครงการอยางมปี ระสิทธิภาพ
11. สถานศึกษา มีการออกแบบอาคารขนาดหองเรียน หองปฏิบัติ สรางบรรยากาศภายในหองเรียนใหมี
สภาพแวดลอ มทเ่ี อื้อตอการเรียนรู ความปลอดภัยตอผเู รยี น
12. จัดระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานใหไดมาตรฐานคํานึงถึงความเพียงพอ และความพรอมในการจัดการ
เรยี นการสอนตลอดการจดั หาสิ่งอํานวยความสะดวกในดา นตา ง ๆ

9

13. ผูบริหารมีศกั ยภาพสูงในการบรหิ ารจัดการ สามารถแสวงหาซ่ึงความรว มมือจากภายนอกเพื่อมารวมจัด
การศึกษา และวิสัยทัศนของผูบริหารใชทักษะไดอยางรอบดาน ทําใหสถานศึกษาไดรับความรวมมืออยาง
กวา งขวาง

14. สถานศกึ ษา วัสดุมีการจดั สรรงบประมาณอุปกรณเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในดานอปุ กรณ เคร่ืองมือ
ฝก ที่มีจํานวนและสัดสวนท่ีเพียงพอเหมาะสม อีกท้ังจัดสรรงบประมาณในการซอมบํารุงที่ไดรับการจัดสรร
เพยี งพอ

15. สดั สว นของผเู รยี นตอครวู ชิ าชีพโดยรวมอยใู นระดับมาตรฐาน
16. สถานศึกษา ดําเนินการโครงการ ใหผูเรียนไดนําความรู ทักษะมาใชในกิจกรรมการบริการชุมชนและ
กจิ กรรมจติ อาสา ตามตอ งการของสังคม หนว ยงาน ชมุ ชน
4.2 จดุ ท่ตี องพัฒนา
1. พัฒนาผูเรียนดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัย เพ่ือใชประโยชนไดจริงหรือไดรับ
รางวลั จากการประกวดในระดับทสี่ งู ขึ้น
2. พัฒนาผเู รียนใหม ที ักษะวชิ าชีพเพ่ือเขา รวมประกวด แขงขัน ทางดา นทกั ษะวิชาชีพในระดับที่สูงขึน้
3. ลดปญหาการออกกลางคนั การสรา งระบบดแู ละชว ยเหลือผูเรยี นใหเกิดประสิทธภิ าพ
4. สถานศึกษาควรพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรใหเปนหลักสูตรสมรรถนะในระดับสถานศึกษา และระดับ
รายวิชา อยา งเปนระบบ
5. สถานศึกษาควรสงเสริมใหผูเรียนหรือผูสําเร็จการศึกษา เปนนักธุรกิจรุนใหม โดยใหความรู และจัด
ประสบการณใหผเู รียนไดนาํ ไปใชในการทํางานมากยง่ิ ข้ึน
5. แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาในอนาคต
1. พัฒนาระบบการดแู ลชว ยเหลอื และแนะแนวผูเ รยี นใหส าํ เร็จการศกึ ษาตามระยะเวลาทห่ี ลักสตู รกาํ หนด
2. พัฒนาผเู รยี นและผูสําเรจ็ การศกึ ษาใหม ีสมรรถนในการเปนผูประกอบาร เปนนกั ธรุ กจิ รนุ ใหม
3. พัฒนาผูเรียนละผูสําเร็จการศึกษาใหมีทักษะที่จําเปนนศตวรรษท่ี 21 สามารถนําไปประยุกตใชในการ
ปฏิบตั งิ าน และการสอบมาตรฐานวชิ าชพี ทมี่ ปี รมิ าณท่ีสูงขนึ้
4. สงเสริม สนับสนุนใหทุกสาขาวิชาหรือสาขาพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชาหรือ
ปรับปรุงรายวิชาเดมิ หรือกําหนดรายวชิ าเพ่ิมข้ึน
5. ระดมทรัพยากรในการจัดหาสื่อการเรียนการสอนดานคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตใหเพียงพอกับ
จาํ นวนผเู รยี น
6. สรางความรวมมือกับบุคคล ชุมชน องคกรตางๆจัดการศึกษา จัดกระบวนการเรียนรู การบริการวิชากร
และวิชาชพี โดยใชเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม เพ่ือพฒั นาผเู รยี นและชมุ ชนสสู ังคมแหงการเรยี นรู
7. สงเสริม สนับสนุน ใหครูและผูรเยนพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค หรืองานวิจัยเพื่อใช
ประโยชนจริงหรือเพอ่ื การประกวดและแขง ขันในระดบั ตาง ๆ

10

ตอนที่ 2
ขอ มูลท่ัวไปของวทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี

2. ขอมูลเกย่ี วกบั วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี
2.1.1 ประวตั ิ ความเปนมาของวิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี
โรงเรียนพณิชยการธนบุรี ไดถือกําเนิดขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ

2500 ณ วัดบางแวก ตําบลคูหาสวรรค อําเภอภาษีเจริญ จัดหวัดธนบุรี สังกัดกองโรงเรียนพาณิชยและ
อตุ สาหกรรม กรมอาชีวศึกษา ทาํ การเปด สอนจริงเมอ่ื วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2500

ผูที่คิดริเริ่มใหเกิดโรงเรียนขึ้น ณ สถานท่ีน้ีคือ พระมหาระมัด โชติปาโล (มีพรอม) เจาอาวาส
วัดบางแวก ในเวลาน้ัน ซ่ึงเปนผูท่ีใฝใจในการศึกษา ทานคิดท่ีจะตั้งโรงเรียนสามัญ และวิสามัญใน
วัดของทาน

ทานจึงไดรวบรวมเงินของวัดรวมกับผูมีจิตศรัทธาสรางอาคารไมข้ึนสองหลัง แบบ ป.2 พิเศษ
(ปจจุบัน-ไดรื้อไปหมดแลว) โดยทานต้ังใจจะใหเปนโรงเรียนประชาบาลหลังหน่ึงและอีกหลังหนึ่งใหเปนโรงเรียน
มธั ยม โดยสน้ิ คากอ สรา งทัง้ สนิ้ ประมาณ 900,000 บาท แลว เสร็จเม่ือ พ.ศ. 2496

แตกย็ ังไมสามารถต้ังเปนโรงเรยี นตามความปรารถนาได เพราะดว ยมีเหตขุ ัดของบางประการ ทานเจา
อาวาสก็ไมไดละความพยายาม ประกอบกับทางกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เล็งเห็นวาการอาชีวศึกษา
กําลังอยูในความนิยมของผูปกครองและนักเรียนมากข้ึน จึงประสงค ท่ีจะขยายโรงเรียนพาณิชยการใหมีจํานวน
เพิ่มข้ึนอีก

ทานเจาอาวาสทราบดังนั้น ทานจึงไดขายอาคารไมทั้งสองหลังใหกรมอาชีวศึกษาไปพรอมกับยกที่ดิน
ใหเปน ของโรงเรียนอกี 9 ไรเศษ โดยไมคิดคา ใชจ ายใด ๆ ท้ังสิ้น

วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีไดสถาปนาขึ้นในวันที่ 23 กุมภาพันธ 2500 ตรงความมุงหมายของ
กระทรวงศึกษาธิการที่จะขยายโรงเรียนพณิชยการข้ึนในเขตธนบุรี กรมอาชีวศึกษาไดมีคําส่ังใหทานอาจารยสัณฑ
พรนิมิตร ผูชวยอาจารยใหญโรงเรียนพณิชยการพระนคร ในขณะน้ันเปนผูรักษาการในตําแหนงอาจารยใหญ
โรงเรยี นพณิชยการธนบรุ ี

สภาพเดิมของวิทยาลยั สมัยนน้ั เตม็ ไปดวยรองสวนตรงกลางสนามวทิ ยาลยั ฯ เคยเปน ปาชาทม่ี ีโกดังเก็บ
ศพและเชงิ ตะกอนเผาศพ ทางโรงเรยี นตองรื้อถอนและปรับปรุงสถานท่ี โดยอาศัยความรวมมอื รวมใจของคณะครู
– อาจารย และนักเรียนท่ีเขามาเรียนรุนแรก ๆ มาชวยกันปรับปรุงจนกลายสภาพเปนเชนในปจจุบันพรอมท้ังมี
อาคารตา งๆ เกดิ ข้นึ ตามลาํ ดับ

ตอมาทางกรมอาชีวศึกษาเล็งเห็นความจําเปนที่จะตองเปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
และเหน็ วาโรงเรียนพณิชยการธนบรุ ีเปนสถาบันที่มคี วามพรอม ประกอบดว ยนักเรียนที่มรี ะเบียบวนิ ัยเปนที่เชื่อถือ
แกบุคคลภายนอก และมีอุปกรณ ครูอาจารยท่ีสอนในระดับสูงข้ึนไปได ดังนั้นในปการศึกษา 2514
กรมอาชีวศึกษา จึงไดมีคําส่ังใหเปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และยกฐานะเปน
“วทิ ยาลัยพณิชยการธนบุร”ี

11

ในปการศึกษา 2516 กรมอาชวี ศึกษาไดอ นุมัติใหว ิทยาลัยพณิชยการธนบุรี เปดสอนขึน้ อีกหลักสูตรคือ
ประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ตอจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงอีก 1 ป ทั้งน้ีก็เพ่ือสนองความตองการของ
ประเทศในเรือ่ งการขาดแคลนครูอาชวี ศึกษา

ตอมาในปการศึกษา 2520 วิทยาลัยไดรับงบประมาณซื้อที่ดิน เพ่ือขยายบริเวณวิทยาลัยอีก 4 ไรเศษ
และไดสรา งเขอื่ นก้ันนํา้ และปรับปรงุ พืน้ ทบ่ี ริเวณวิทยาลัย

ปจจุบันวิทยาลัยมีสะพานคอนกรีตขามคลองบางแวก ทําใหสามารถนํารถยนตเขาบริเวณวิทยาลัยได
พรอมมอี าคารเรยี นเพม่ิ ขึ้นมาหลายหลังจากการสนบั สนนุ ของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

จากการมีคณาจารยท่ีมีความสามารถในการบริหารงานและประสิทธิ์ประสาทวิชาจากการรวมนํ้าใจ
ของศิษยเ กา (สมาคมศษิ ยเกาพณิชยการธนบุร)ี เขาสนับสนนุ สงเสริมในสว นทข่ี าดทาํ ใหว ิทยาลยั ฯ
มชี ่ือเสยี งเปนท่ีรจู กั ของบคุ คลทวั่ ไป เพราะนอกจากจะมีคณาจารยทดี่ แี ลวยังมอี าคารเรยี น อปุ กรณการศึกษาและ
ส่ิงอาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ทท่ี ันสมยั เทา เทยี มกับสถาบนั ทม่ี ชี ือ่ เสียงแหง อืน่ ๆ

2.1.2 ขนาดและทตี่ ้ัง
ท่ตี ัง้ สถานศกึ ษา เลขท่ี 20 หมทู ี่ - ถนน จรัญสนิทวงศ 13 แขวง คหู าสวรรค
เขต ภาษเี จริญ กรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณีย 10160
เน้ือท่ขี องสถานศึกษา 12 ไร 2 งาน 59 ตารางวา

มอี าคารรวมท้ังสน้ิ 9 หลัง มีหอ งทั้งสนิ้ 208 หอ ง ไดแก
1. อาคาร 1 จาํ นวน 1 หลัง 19 หอ ง
2. อาคาร 2 จาํ นวน 1 หลงั 30 หอ ง
3. อาคาร 3 จํานวน 1 หลัง 21 หอง
4. อาคาร 4 จาํ นวน 1 หลัง 20 หอง
5. อาคาร 5 จํานวน 1 หลัง 33 หอ ง
6. อาคาร 6 จาํ นวน 1 หลงั 15 หอง
7. อาคาร 7 จํานวน 1 หลัง 30 หอ ง
8. อาคาร 8 จํานวน 1 หลงั 10 หอ ง
9. อาคาร 9 จาํ นวน 1 หลงั 30 หอง

12

แผนทส่ี งั เขป วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี

2.1.3 สภาพชุมชน เศรษฐกิจ สงั คม
2.1.3.1 ลักษณะของชุมชน เปนชมุ ชนแออดั

2.1.3.2 ลักษณะเศรษฐกจิ

2.1.3.3 ลกั ษณะสังคมและประชาชน

อาณาเขต
ทิศเหนอื ตดิ ตอ กับเขตตลิ่งชัน
ทิศใต ตดิ ตอ กับเขตจอมทองและเขตบางบอน
ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกับเขตบางกอกใหญ และเขตธนบรุ ี
ทศิ ตะวันตก ติดตอกับเขตบางแค
การปกครอง
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กําหนดใหกรุงเทพมหานครมี

สถานะเปนนิติบุคคล และองคกรปกครองสวนทองถ่ินรูปแบบพิเศษ มีผูวาราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการ

เลือกต้ังโดยตรง และเปนผูรับผิดชอบในการบริหารงาน อยูในตําแหนงตามวาระคราวละสี่ป นับแตวันเลือกต้ังแต

ตองดํารงตําแหนงไมเกิน 2 วาระติดตอกัน โดยมีฝายนิติบัญญัติ คือสภากรุงเทพมหานคร ที่ไดรับการเลือกต้ังจาก

ชาวกรุงเทพมหานครเชนกัน ดําเนินงานรวมดวย

13

ตราประจําจงั หวัดกรุงเทพมหานคร
เปนรูปพระอินทรทรงชางเอราวัณ พระหัตถทรงสายฟา ตรานี้กรมศิลปากรออกแบบโดยอาศัยภาพเขียนฝ

พระหัตถของสมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศเปนตนแบบ เร่ิมใชในป พ.ศ. 2516 ตามประกาศสํานัก
นายกรัฐมนตรี ตามพระราชบญั ญัติเครอ่ื งหมายราชการ พ.ศ. 2482 ฉบับท่ี 60 ลงวนั ท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2516

2.1.4 งบประมาณ จาํ นวนทั้งสนิ้ 52,753,993.57 บาท รายละเอียดแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 งบดาํ เนินการ งบประมาณ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564

รายการ จํานวนเงิน (บาท)

1. งบบุคลากร 36,657,678.57 บาท
(เงนิ เดอื นและคาจางประจาํ ,คาตอบแทนพนักงานราชการ,
คา จางชวั่ คราว) 419,800.00 บาท
4,278,000.00 บาท
2. งบดาํ เนนิ งาน
- ผลผลิต ปวช. 7,694,790.00 บาท
- ผลผลติ ปวส. 1,418,825.00 บาท

3. งบอุดหนนุ 232,000.00 บาท
- คาจัดการเรยี นการสอน
- กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน 800,000.00 บาท
45,000.00 บาท
4. งบรายจายอน่ื ๆ
- โครงการบรู ณาการการพัฒนาทักษะทางวชิ าชีพกับการเสริมสราง 20,000.00 บาท
74,900.00 บาท
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผเู รยี นอาชีวศึกษา fix it จติ อาสา
- โครงการศนู ย Excellent Center
- โครงการเสรมิ สรา งองคความรทู างการอาชวี ศึกษาเพื่อถายทอด

เทคโนโลยี
- โครงการเสริมสรา งและพฒั นาศักยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
- โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ

14

รายการ จาํ นวนเงิน (บาท)

- ผูร ับการฝกอบรมและพัฒนาวิชาชพี ระยะสน้ั 10,000.00 บาท
- โครงการพัฒนาศักยภาพผูเรียนอาชวี ศกึ ษาในการเปนผปู ระกอบการ 190,000.00 บาท
- โครงการเสรมิ สรางคานิยมอาชวี ศึกษา 165,000.00 บาท
- โครงการฝก อบรมวชิ าชีพระยะส้นั ฐานสมรรถนะ 104,000.00 บาท
- โครงการลดปญ หาออกกลางคันของผเู รยี นอาชวี ศึกษา 17,000.00 บาท
- โครงการตดิ ตามและประเมินผลการขบั เคล่ือนการจดั การอาชวี ศกึ ษา 17,000.00 บาท
- โครงการสงเสริมการพัฒนาทกั ษะอาชีพใหกับผเู รียนตามนโยบายลด 210,000.00 บาท
เวลาเรยี นเพิ่มเวลารู
- โครงการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรูและพฒั นาผเู รียนอาชวี ศกึ ษาที่ 380,000.00 บาท
ตอบสนองตอ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
- โครงการอาชีวศึกษาตา นยาเสพตดิ 20,000.00 บาท
52,753,993.57 บาท
รวมงบดําเนินการท้งั ส้นิ

2.2 สภาพปจ จบุ ันของวิทยาลยั วทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี

2.2.1 จํานวนผเู รียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาประจําปก ารศกึ ษา 2563

ตารางที่ 2 จํานวนผูเรยี นจําแนกตามระดับชนั้ หลักสตู ร เพศ

หลกั สตู ร

ระดับชน้ั ปกติ ทวภิ าคี + เทียบโอนฯ รวม

ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญงิ ท้ังหมด

ปริญญาตรี 66
75
ปท ่ี 1 36 30 - - 36 30 141
263
ปท ี่ 2 31 44 - - 31 44 269
532
รวมระดับปริญญาตรี 67 74 - - 67 74

ปวส.2 110 153 - - 110 153

ปวส.1 134 135 - - 134 135

รวมระดับ ปวส 244 288 - - 244 288

15

หลักสูตร

ระดับช้นั ปกติ ทวภิ าคี + เทียบโอนฯ รวม
ชาย หญงิ ท้งั หมด
ปวช.3 ชาย หญงิ ชาย หญิง 185 297 482
ปวช.2 202 271 473
ปวช.1 185 297 - - 200 278 478
รวมระดับ ปวช. 587 846 1,433
รวมท้ังหมด 202 271 - -
898 1,208 2,106
200 278 - -

587 846 - -

898 1,208 - -

ตารางท่ี 3 จาํ นวนผบู ริหารและครูจําแนกตามสถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา ตาํ แหนง

สถานภาพ เพศ วฒุ ิการศกึ ษา ตาํ แหนง
ผบู รหิ าร/ครู

ผูบรหิ าร/สาขาวิชา จํานวน ขาราชการ
(คน) พนักงานราชการ
ัอตราจาง
ชาย
ห ิญง
ป.เอก
ป.โท
ป.ตรี
ํ่ตาก วา
ครู ูผชวย/คศ1

ํชานาญการ
ํชานาญการ ิพเศษ

ฝายผบู รหิ าร 22 11 2 2

ครแู ผนกวิชาสามญั 13 10 1 2 6 7 - 6 7 - 3 7 3

(ทกั ษะชวี ิต)

ครแู ผนกวิชา 7 51134 25 32 2

ภาษาตา งประเทศ

ครูแผนกวชิ าการบัญชี 9 81-18-72-23 4

ครแู ผนกวิชาการตลาด 13 13 - - 1 12 - 10 2 - 3 4 6

ครแู ผนกวิชาเทคโนโลยี 17 17 - - 3 14 2 11 4 - 9 2 6

ธรุ กจิ ดิจทิ ลั

ครแู ผนกวชิ าการ 4 4- - -4-22-21 1

เลขานุการ

ครแู ผนกวิชาธุรกิจคาปลีก 4 4 - - - 4 - 1 3 - 4 - -

ครูแผนกวิชาการทองเทย่ี ว 3 3 - - 2 1 - - 3 - 3 - -

ครูแผนกวิชาโลจิสติกส 2 2---2--2-2- -

รวมท้ังหมด 74 68 3 3 17 57 2 41 30 0 31 19 24

16

สรุป 1. ผูบรหิ าร 2 คน 2. ขา ราชการครู 48 คน

3. ครผู ชู ว ย 18 คน 4. พนกั งานราชการ 3 คน

5. ครอู ตั ราจาง 3 คน

รวมจํานวนผบู รหิ ารและครูทั้งหมด 74 คน

ทมี่ า : ขอ มลู จากงานบคุ ลากร ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2565

ตารางท่ี 4 จํานวนบุคลากรสนับสนนุ การเรียนการสอนจาํ แนกตามงาน สถานภาพ เพศ วฒุ กิ ารศึกษา

สถานภาพ เพศ วุฒกิ ารศกึ ษา

งานตามโครงสราง จํานวน ขาราชการ ก.พ.
บรหิ ารสถาบันการ (คน) ลูกจางประจํา
ลูกจางชั่วคราว
อาชีวศกึ ษา
ชาย
ห ิญง
ม. ตน หรือ ่ํตาก วา
ม.ปลาย/ปวช
ปวส./อนุปริญญา
ปริญญาตรี

ูสงก วา ป.ตรี

งานบริหารทวั่ ไป 3 - -3-3- - 21 -
งานบุคลากร 1 - -1-1- - -1-
งานควบคุมภายใน 2 1-1-2- - -2-
งานการเงิน 2 1-1-2- - -2-
งานการบัญชี 1 - -1-1- - -1-
งานพัสดุ 4 - -422- - 31 -
งานอาคารสถานที่ 13 - 2 11 9 4 12 - 1- -
งานทะเบียน 2 - -2-2- - 11 -
งานประชาสัมพนั ธ 1 - -11- - - -1-
งานวางแผนและ 1 - -11- - - - 1 --
งบประมาณ
งานศูนยขอ มลู 1 - -11- - - -1-
สารสนเทศ
งานความรวมมอื 1 - -1-1- - -1-
งานวิจยั พัฒนา 1 - -11- - - -1-
นวตั กรรม และ
สิง่ ประดษิ ฐ 1 - -1-1- - 1- -
งานประกันคุณภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษา 1 - -1-1- - 1- -
งานสง เสริมผลติ ผล
การคาและประกอบ 1 - -1-1- - -1-
ธรุ กจิ
งานกิจกรรมนักเรยี น 1 - -11- - - -1-
นักศกึ ษา
งานครทู ปี่ รึกษา

17

สถานภาพ เพศ วฒุ กิ ารศึกษา

งานตามโครงสราง จํานวน ขาราชการ ก.พ.
บริหารสถาบนั การ (คน) ลูกจางประจํา
ลูกจางชั่วคราว
อาชีวศกึ ษา
ชาย
ห ิญง
ม. ตน หรือ ่ํตาก วา
ม.ปลาย/ปวช
ปวส./อนุปริญญา
ปริญญาตรี

ูสงก วา ป.ตรี

งานปกครอง 1 - -11- - - -1-
งานแนะแนวอาชีพและ 1 - -11- - - -1-
การจดั หางาน
งานสวัสดิการนักเรียน 1 - -1-1- -1- -
นกั ศกึ ษา
งานโครงการพิเศษและ 1 - -1-1- -1- -
การบรกิ ารชมุ ชน
งานพัฒนาหลกั สตู รการ 1 - -1-1- - -1-
เรยี นการสอน
งานวดั ผลและ 1 - -1-1- - -1-
ประเมนิ ผล
งานวิทยบริการหอ งสมุด 1 - -1-1- - -1-
งานอาชีวศึกษาระบบทวิ 1 - -1-1- - -1-
ภาคี
งานสอ่ื การเรยี นการสอน 1 - -1-1- - -1-
46 2 2 42 18 28 12 0 11 23 0
รวมท้ังหมด

สรุป 1. ขา ราชการ ก.พ. 2 คน 2. ลูกจา งประจาํ 2 คน

3. ลกู จา งช่วั คราว 31 คน

รวมจาํ นวนบุคลากรสนบั สนนุ การเรียนการสอนทั้งหมด 35 คน

ที่มา : ขอ มูลจากงานบคุ ลากร ณ วันที่ 1 ตลุ าคม 2565

18

2.3 ระบบโครงสรางบรหิ าร

แผนภูมิโครงสรา งการบรหิ ารของวทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี

2.4 เกยี รติประวตั ขิ องวทิ ยาลัยพณิชยการธนบุรี

พ.ศ. 2541 ไดร บั คดั เลอื กเปนสถานศึกษาดเี ดน
พ.ศ. 2542 ไดรับเลือกเปนสถานศึกษามาตรฐานอาชีวศึกษาดีเดน และสถานศึกษานํารองการประกัน
คุณภาพภายในระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พ.ศ. 2545 ไดรบั คัดเลือกเปน สถานศึกษาจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีไดอยางดยี ิง่ จากกรมอาชีวศกึ ษา
พ.ศ. 2549 ไดรับโลจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนสถานศึกษาการประกันคุณภาพ
มาตรฐานอาชวี ศึกษาดีเดน
พ.ศ. 2553 ไดรับคัดเลือกเปนสถานศึกษาแบบอยางการจัดการกระบวนการเรียนการสอน และการบริหาร
จดั การตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งประจาํ ปการศกึ ษา 2553
พ.ศ. 2560 ไดร บั คดั เลอื กเปนสถานศกึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พ.ศ. 2562 ไดรับรางวัลพระราชทานสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ระดับอาชีวศึกษา สถานศึกษาขนาด
ใหญ ประจาํ ปก ารศึกษา 2562
พ.ศ. 2564 ไดรับเลือกเปนศูนยความเปนเลิศทางการอาชีวศึกษา Excellent Center และเปนศูนยบริหาร
เครือขายการผลิตและพั ฒ นากําลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking
Management : CVM)

19

ตอนที่ 3
การดําเนนิ งานของวิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี

3. ปรชั ญา วสิ ัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของวิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี
ปรชั ญา (Philosophy)

ความรูค ูความดี ตรงตอ เวลา รหู นา ที่ มีความรบั ผิดชอบ

วิสัยทัศน (Vision)
เปนสถาบันที่ผลิตผูเรียนใหมีทักษะอาชพี ดานบริหารธุรกิจและการทองเท่ียวที่เช่ียวชาญเทคโนโลยีสูการเปน

พลโลกดิจทิ ลั

พนั ธกิจ (Mission) และกลยุทธ (Strategy)

ท่ี พันธกจิ ท่ี กลยทุ ธ
1. จดั การศึกษาวชิ าชพี ใหผ เู รียนมี 1. จัดการเรียนรเู พ่ือสรางอาชีพและการเปน

สมรรถนะตามมาตรฐานสากล ผูป ระกอบการและพลโลกดิจิทลั ที่เขมแขง็
2. พัฒนาผเู รยี นใหม ที ักษะชีวิตและเปน
1. สรางเครอื ขายความรวมมือกับสถานประกอบการ
พลโลกดจิ ิทัลทีเ่ ขมแข็ง เพอ่ื การจดั การอาชวี ศึกษาและวจิ ยั นวตั กรรม
3 สงเสรมิ การวิจยั เพื่อพัฒนานวัตกรรม
1. บริการวชิ าการและวชิ าชพี เพ่ือสรา งอาชีพและ
ทางวิชาชพี รายไดส สู งั คม
4. สรา งเครอื ขายความรวมมือดาน
1. พฒั นาสมรรถนะครูในการจดั การเรยี นรูเพื่อเปน
วิชาการและวชิ าชีพ กําลังสําคัญในการพฒั นาสมรรถนะผเู รียนใหม ี
5. บริการวชิ าการและวชิ าชพี และส่ือ คุณภาพ

ความรูสูสังคม 1. บรหิ ารจัดการสถานศึกษาใหเ กิดประสิทธิผลใน
6. พัฒนาสมรรถนะบคุ ลากรเพื่อ การดําเนินงาน

ขบั เคลอ่ื นสมรรถนะของผเู รียน

7. เพ่มิ ประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการ
สถานศึกษา

เปาประสงค (Goal)
1. เพ่ือใหผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับสาขาวิชา มีสมรรถนะวิชาท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานและเปนที่

ยอมรับในระดบั สากล
2. เพ่ือใหสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

20

3. เพื่อใหเปนศูนยกลางแหงการเรียนรูดานการวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพเปนไปตาม
มาตรฐานสากล

4. เพื่อปลูกฝงและพัฒนาผูเรียนใหเปนพลเมืองดขี องสังคมไทยและสังคมโลก มีจรรยาบรรณในวิชาชีพและมี
ความรบั ผดิ ชอบตอสังคมและเนนสรา งนักธุรกจิ รนุ ใหม

5. เพ่ือใหสถานศึกษาเปนแหลงบริการวิชาการ วิชาชีพที่กาวทันเทคโนโลยีสูชุมชน ทองถิ่นอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

3.2 การดําเนนิ โครงการและการใชจ า ยงบประมาณของวิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี
แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงานของวทิ ยาลัย ประจาํ ปง บประมาณ 2564

ที่ ช่ือโครงการ/กิจกรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตที่ไดรบั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจา ยตามแผน ผลการใชจ า ยจรงิ (บาท) ดําเนนิ ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ งปม. อุดหนนุ บกศ. การ ดาํ เนนิ
1 โครงการจัดซอ้ื วสั ดฝุ ก งปม. อดุ หนนุ บกศ. แลว การ
ในการจดั การเรียนการ 1 ตุลาคม 2563 300,000
สอน งานวิชาการ เพือ่ สนับสนนุ การบริหาร มีวสั ดอุ ุปกรณ – 30 กันยายน 37,407 70,330 122,931 
จดั การเรยี นการสอนของ สํานกั งานไวใชในการ
วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี ปฏบิ ตั งิ าน 2564
ใหบ รรลุเปาหมาย เพ่มิ
ศกั ยภาพในการเรยี น และ
เพมิ่ ประสิทธิภาพในการ
สอนใหมปี ระสทิ ธิผล

2 โครงการแขงขันทักษะ งานวชิ าการ เพือ่ ชวยกระตุนความ นักเรยี น นกั ศึกษา 1 ตลุ าคม 2563 200,000 65,903 
วิชาชีพและเขา รว ม มงุ มั่น ต้งั ใจในการศกึ ษา ไดรบั ประสบการณ – 30 กนั ยายน
กิจกรรมวิชาการ พฒั นาความรู จรงิ และรจู กั นํามา
ประจําปก ารศึกษา ความสามารถและทกั ษะ ประยกุ ตใชในการ 2564
2564 วิชาชีพ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ดําเนินชีวติ ตลอดจน
สรา งความตระหนักใน เปนทย่ี อมรับจาก
ความสําคัญของวิชาชีพใน สงั คมภายนอก
การประกอบอาชพี และ
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
ของนกั เรียน

21

ที่ ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานท่ี เปา หมาย ผลผลติ ทไี่ ดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจายตามแผน ผลการใชจ า ยจริง (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนินการ งปม. อุดหนนุ บกศ. การ ดําเนนิ
3 โครงการศกึ ษาดงู าน งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
ระดับ ปวช. 1 ตุลาคม 2563 100,000
งานวชิ าการ เพอื่ พฒั นานกั ศกึ ษาได นกั เรียน นกั ศกึ ษา – 30 กันยายน 
เห็นสภาพการปฏบิ ตั ิงาน ไดร บั ประสบการณ
จริงในสถานประกอบการ จรงิ และรจู กั นาํ มา 2564
นาํ ความรทู ่ไี ดรับมา ประยกุ ตใชใ นการ
ประยกุ ตใชในการเรยี น ได ดาํ เนินชวี ติ ตลอดจน
พัฒนากิจนิสยั จากการ เปน ที่ยอมรับจาก
เหน็ สภาพการปฏบิ ัตงิ าน สงั คมภายนอก
จริงในสถานประกอบการ
และรจู กั พฒั นาตนเองใน
ดา นวชิ าชีพใหเปน ท่ี
ยอมรบั จากภายนอก

4 โครงการศกึ ษาดูงาน งานวชิ าการ เพื่อพฒั นานักศึกษาได เกิดแรงจูงใจในการ 1 ตุลาคม 2563 200,000 
ระดบั ปวส. เห็นสภาพการปฏบิ ตั งิ าน เสริมสรางผลสมั ฤทธ์ิ – 30 กันยายน
จริงในสถานประกอบการ ทางการเรยี นของ
นําความรูที่ไดร บั มา นักเรียน นกั ศกึ ษา ให 2564
ประยกุ ตใชใ นการเรยี น ได ดีข้นึ
พัฒนากิจนิสยั จากการ
เห็นสภาพการปฏบิ ัตงิ าน
จริงในสถานประกอบการ
และรูจ ักพัฒนาตนเองใน
ดานวิชาชีพใหเ ปน ที่
ยอมรบั จากภายนอก

22

ที่ ชอื่ โครงการ/กิจกรรม หนวยงานท่ี เปา หมาย ผลผลติ ท่ไี ดรบั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจายตามแผน ผลการใชจ า ยจรงิ (บาท) ดําเนนิ ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดาํ เนิน
งปม. อดุ หนนุ บกศ. งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
50,000
5 โครงการเชิญวิทยากร งานวิชาการ เพอ่ื ใหมีเครื่อง นกั ศึกษาทุกสาขางาน 1 ตุลาคม 2563 ไมไ ดใช 
ภายนอก คอมพวิ เตอรพอเพยี งกับ ไดรบั ความรแู ละ – 30 กันยายน งบประมาณ
จํานวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษา เขาใจในวชิ าชีพจากผู
ตามเกณฑ ที่กําหนด มีประสบการณก าร 2564
ทาํ งานโดยตรง

6 โครงการพัฒนา งานพัฒนา เพ่อื ใหก ารจัดการเรียน สถานศึกษามกี าร 1 ตุลาคม 2563 5,000 45,000 

หลักสตู รฐานสมรรถนะ หลักสตู ร การสอนนักเรยี น พฒั นาหลกั สตู รการ – 30 กันยายน

รว มกบั สถาน การเรยี น นักศึกษา มีคณุ ภาพตาม เรยี นการสอนใหการ 2564

ประกอบการ ป การสอน มาตรฐาน พัฒนาหลกั สูตร ดําเนินการจดั การ

การศึกษา 2564 การเรียนการสอนให เรยี นการสอนโดยเนน

ผสู ําเร็จการศึกษามีความรู ใหผเู รียนทีส่ ําเรจ็

ความสามารถในวิชาชีพ การศกึ ษามคี วามรู

ตรงตามความตอ งการของ ความสามารถใน

สถานประกอบการ และ วิชาชีพตรงกบั ความ

ทราบถึงความตองการ ตอ งการของสถาน

ของสถานประกอบการ ประกอบการ

23

ท่ี ชื่อโครงการ/กิจกรรม หนวยงานท่ี เปาหมาย ผลผลิตทไ่ี ดรับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจา ยตามแผน ผลการใชจ า ยจริง (บาท) ดําเนนิ ไม
รับผดิ ชอบ ดําเนินการ งปม. อดุ หนนุ บกศ. การ ดาํ เนนิ
งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ

7 โครงการสง เสรมิ การ งานพฒั นา เพือ่ ใหค รูสามารถนํา นเิ ทศการสอนของครู 1 ตลุ าคม 2563 ไมไ ดใช 
งบประมาณ
จัดการเรยี นรแู ละนเิ ทศ หลกั สตู ร หลกั สตู รไปใชไ ดอ ยาง 90 คน จดั การเรยี น – 30 กันยายน

การเรียนการสอน การเรยี น ถกู ตอ งเหมาะสม การ การสอนไดตรงตาม 2564

การสอน จัดการเรยี นการสอนของ หลักสูตรและมี

ครมู ีคุณภาพตาม ประสิทธภิ าพ

มาตรฐาน และปรับปรงุ

การเรียนการสอนใหไ ด

มาตรฐาน ตามเกณฑก าร

ประกนั คุณภาพ

8 โครงการทดสอบทาง งานวดั ผล เพ่อื วดั ความรู สถานศึกษาไดทราบ ระหวา งเดือน 8,500 5,000 

การศึกษาระดบั ชาติ ประเมินผล ความสามารถทางวชิ าการ สมรรถนะทางวชิ าชีพ มกราคม 2564

ดา นอาชีวศกึ ษา (V- และวิชาชพี ของนักเรียน ของนักเรยี น - 31

NET) และทดสอบ ระดับ ปวช.3 และ นกั ศึกษา และทราบ พฤษภาคม

มาตรฐานวิชาชพี ป นกั ศึกษาระดบั ปวส.2 ท่ี ผลการเรยี นรู 2564

การศึกษา 2563 สนาม จะสําเรจ็ การศกึ ษา ได ระดบั ชาติ นําผลการ

สอบ วิทยาลยั พณิชย ทราบมาตรฐานการ ประเมินไปพัฒนาการ

การธนบุรี จัดการเรียนรูของครู และ จัดการเรยี นรเู พื่อให

การจดั การศกึ ษาของ ไดผ ลการประเมนิ

สถานศึกษา นาํ ผลการ สงู ขึ้น

ทดสอบ V-NET

24

ท่ี ช่ือโครงการ/กิจกรรม หนว ยงานที่ เปา หมาย ผลผลิตท่ไี ดรับ ระยะเวล ประมาณการคาใชจา ยตามแผน ผลการใชจ า ยจริง (บาท) ดําเนิน ไม
รบั ผิดชอบ า การ ดําเนิน
งปม. อดุ หนนุ บกศ. งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
ดําเนินกา 500,000 158,402 15,000
9 โครงการจัดหาวสั ดุ งานส่อื การ เพื่อจัดหาวสั ดคุ รุภัณฑมา ครู นักเรียนและนกั ศึกษามี ร 

ครุภณั ฑสูค วามเปนเลิศ เรียนการ ใชสําหรบั การจดั การเรียน ความพงึ พอใจตอ การจดั หา 1 ตุลาคม

ดานการศกึ ษา สอน การสอน ประเมนิ ความพงึ วัสดคุ รภุ ัณฑม าใชจัดการ 2563 ถงึ

พอใจตอ โครงการจดั หา เรยี นการสอน 30

วัสดุครภุ ณั ฑส คู วามเปน กนั ยายน

2564

เลศิ ดานการศกึ ษา

10 โครงการอบรมพฒั นา งานส่อื การ เพ่อื พฒั นาสอ่ื การเรยี น ครสู ามารถพฒั นาสอ่ื การ 1 ตลุ าคม 3,200 3,200 
การสอนในศตวรรษท่ี 21 เรียนการสอนคนละ 1 2563 ถงึ
สื่อการเรียนการสอนใน เรียนการ และประเมนิ ความพึง หนว ยการเรียน
พอใจตอ การเขา รวม 30
ศตวรรษท่ี 21 สอน โครงการอบรมพฒั นาส่ือ กันยายน
การเรียนการสอนใน 2564
ศตวรรษท่ี 21

25

ท่ี ชอื่ โครงการ/กิจกรรม หนวยงานท่ี เปาหมาย ผลผลติ ท่ีไดร ับ ระยะเวล ประมาณการคา ใชจ า ยตามแผน ผลการใชจ า ยจริง (บาท) ดาํ เนิน ไม
รับผดิ ชอบ า งปม. อดุ หนุน บกศ. การ ดาํ เนนิ
งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
ดาํ เนินกา 13,500 11,060
ร 
4,000
11 โครงการจัดแสดง งานวิทย เพื่อปลกู ฝงความรกั นักเรียนทําแบบประเมนิ 1 ตุลาคม

นิทรรศการใหค วามรใู น บรกิ ารและ เทิดทูนตอสถาบัน ความพึงพอในการจัด เขา 2563 –
กจิ กรรมวันชาติ ศาสนา หองสมดุ พระมหากษัตรยิ  เปน รว มกิจกรรมดว ยความเตม็ 30

พระมหากษตั ริย แบบอยา ง และสรา ง ใจ และมีความภาคภมู ิใจใน กนั ยายน

ความสมั พันธอ นั ดีระหวา ง ชาติ ศาสนา กษัตริยรอยละ 2564

บาน วัด โรงเรยี น เปน 100

การอนรุ ักษ
ศิลปวัฒนธรรมของ

ประเทศชาติ ศาสนา

และใหน กั เรยี นไดรบั

ความรคู วามเขา ใจ

เก่ียวกบั กจิ กรรมวนั สําคัญ
ตาง ๆ

12 โครงการจัดหาคุรุภัณฑ งานสื่อการ เพื่อปองกันมิใหเกดิ ความ หองสมดุ วิทยาลยั พณชิ ยการ 1 ตุลาคม 

เพ่อื เพิม่ ความปลอดภยั เรียนการ เสียหายตอ ผูใชบ รกิ าร ธนบุรีมรี ะบบความปลอดภยั 2563 ถึง

และการรบกวนสมาธิ สอน หอ งสมดุ ภายในหอ งสมุด เพมิ่ ขนึ้ 30
ภายในหอ งสมุด วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ี กันยายน

และใหผูใชง านมีความพึง 2564

พอใจตอ การใหบ ริการของ

งานวทิ ยบริการและ

หองสมุด

26

ที่ ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม หนวยงานท่ี เปาหมาย ผลผลติ ท่ีไดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจายตามแผน ผลการใชจายจรงิ (บาท) ดาํ เนิน ไม
รับผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. งปม. อดุ หนนุ บกศ. แลว การ
13 โครงการตออายุ งานวิทย เพ่อื เปน การตอ อายกุ าร งานวทิ ยบรกิ ารและหอ งสมดุ 1 ตลุ าคม 7,000 7,000
ใชง านของโปรแกรม มโี ปรแกรม โปรแกรม 2563 – 30 
โปรแกรมหอ งสมดุ หองสมุด library 2000 (on กันยายน
โปรแกรมหองสมดุ บรกิ ารและ library 2000 (on Cloud Version) รนุ cloud
Cloud Version) รนุ proferssional ใชอยา ง 2564
library 2000(on หองสมดุ cloud proferssional ตอ เนอ่ื ง
และใหหอ งสมุดสามารถ
Cloud Version) รุน ใชงานไดอยางตอเนื่อง

cloud proferssional

วิทยาลยั พณชิ ยการ

ธนบรุ ี

14 โครงการหองสมุดมี งานวิทย เพอื่ พฒั นาหอ งสมุดชวี ิต วิทยาลยั พณิชยการธนบรุ ี มี 1 ตุลาคม 200,000 
ชีวิต วทิ ยาลยั พณิชย บรกิ ารและ เปน หองสมุดชัน้ นํา และ หอ งสมดุ ท่ีทนั สมัย หอ งสมดุ 2563 ถงึ
การธนบรุ ี หองสมุด เปน การสงเสริมใหม ี วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี 30 กันยายน
ผใู ชบ รกิ ารหองสมดุ เพม่ิ เขา รวมการประกวด 2564
มากขน้ึ หองสมุดระดับ
กรงุ เทพมหานคร

27

ท่ี ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานท่ี เปาหมาย ผลผลติ ท่ีไดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ า ยตามแผน ผลการใชจ ายจริง (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผดิ ชอบ ดาํ เนินการ การ ดาํ เนนิ
งปม. อุดหนนุ บกศ. งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
1 ตลุ าคม 24,000 1,890 1,820 7,070
15 โครงการจดั ซอื้ วารสาร งานวทิ ย เพ่ือใหนักเรียน นกั ศึกษา นกั เรยี น นักศกึ ษา และครู 2563 – 30 
กันยายน
นิตยสาร และ บรกิ ารและ เหน็ ความสําคญั ของการ จะทรพั ยากรสารสนเทศทกุ
2564
หนงั สือพมิ พ หองสมุด ใชบริการหองสมดุ ให ประเภท ทุกรูปแบบ

นักเรียน นกั ศึกษาไดร ับ ประกอบการศึกษาคน ควา

ความรจู ากการอา นและใช ครจู ะมสี ่ือการสอนทีส่ มัย

เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ตลอดเวลาและมปี ริมาณ

คนความากขน้ึ และ เพม่ิ ขน้ึ

ปลูกฝงนิสยั รกั การอา น

การใฝร ูใฝเ รียนดว ยตัวเอง

เพือ่ ใชในการดําเนนิ ชีวติ

16 โครงการแนะแนว งาน เพอ่ื แนะแนว วทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี มี เดอื น 15,000 

ประชาสมั พันธรบั อาชวี ศกึ ษา ประชาสมั พันธก ารเรยี น จาํ นวนผเู รยี นในระดับ มกราคม –

สมัครนักเรยี น ระบบทวิ การสอนในระบบทวิภาคี อาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี กนั ยายน

นักศกึ ษาแผนกวิชา ภาคี สาขาวชิ าธุรกจิ คาปลีก เพิม่ ขนึ้ 2564

ธรุ กิจคาปลกี (ทวภิ าค)ี ใหแกนกั เรียนใน

ในตา งจงั หวัด ตา งจังหวดั และเพ่ิม

ปริมาณผูเ รยี นในระบบทวิ

ภาคี สาขาวชิ าธุรกจิ คา

ปลีก

28

ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตท่ไี ดรบั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจายตามแผน ผลการใชจา ยจริง (บาท) ดําเนิน ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
17 โครงการปฐมนิเทศ งาน เพ่ือเตรียมความพรอม นักเรยี นนักศกึ ษามคี วามรู 1 วัน 15,000 7,000


กอนออกฝก อาชวี ศกึ ษา ใหก บั นักเรียน นกั ศึกษา ความเขา ใจ และมีความ

ประสบการณว ิชาชพี ระบบทวิ กอนออกฝก ประสบการณ พรอ มในการฝก

(ฝก งาน) ในสถาน ภาคี วชิ าชพี ในสถาน ประสบการณว ชิ าชพี ใน

ประกอบการของ ประกอบการ และให สถานประกอบการ สามารถ

นักเรียน - นักศกึ ษา นักเรยี น นักศกึ ษา นําขอ มลู และความรทู ีไ่ ดรับ

(ระบบปกต)ิ และ สามารถปฏบิ ตั ติ นไดอ ยาง จากการเขารวมกจิ กรรมไป

ปจ ฉมิ นิเทศภาคเรียนท่ี ถูกตอ งในระหวางการฝก ประยกุ ตใ ชใ นการฝก งานให

1 และภาคเรยี นที่ 2 ป ประสบการณวิชาชพี ใน เกดิ ผลสําเรจ็ แกตนเอง

การศกึ ษา 2564 สถานประกอบการ

18 โครงการศลิ ปะการ งาน เพื่อใหนักเรยี น นกั ศกึ ษา นักเรยี น นกั ศึกษาระบบทวิ ภาคเรียนที่ 10,000 
ดาํ เนินชีวิตในเมอื ง อาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี สามารถ ภาคมี ีความรู ความเขาใจใน 1 ป
หลวงอยา งมีความสุข ระบบทวิ ดําเนินชวี ิตในเมืองหลวง หลกั การดาํ เนินชวี ติ ในเมอื ง
ภาคี ไดอยางมีความสขุ มี หลวงอยางถกู ตอ ง การศึกษา
ความรู ความเขา ใจใน และเหมาะสม 2564
หลกั การดําเนนิ ชวี ิตใน
เมอื งหลวงอยา งถกู ตอง
และเหมาะสม และให
นักเรียน นักศึกษา

29

ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม หนวยงานที่ เปา หมาย ผลผลติ ที่ไดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจา ยตามแผน ผลการใชจ า ยจรงิ (บาท) ดําเนิน ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อุดหนุน บกศ. การ ดําเนนิ
แลว การ
19 โครงการจัดซอ้ื ครุภัณฑ แผนกวิชา เพือ่ ใหผ เู รยี นแผนกวชิ า ผเู รียนแผนกวชิ าสามัญ 1 ตลุ าคม 250,000

300,000
หอ งเรียนอินเตอรแ อค สามัญ สามัญ (ทักษะชีวติ ) มี (ทักษะชีวติ ) มีเจคคติที่ดีใน 2563 – 30

ทฟี แผนกวชิ าสามญั (ทกั ษะชีวติ ) ครภุ ัณฑและอุปกรณการ การเรยี น อุปกรณก ารเรียน กนั ยายน

(ทักษะชีวติ ) เรียนท่ที ันสมัย เหมาะสม ครภุ ณั ฑทท่ี นั สมัยและ มี 2564

ในการใชง าน และให สภาพสมบูรณพรอ มใชมี

ผเู รยี นแผนกวชิ าสามัญ ความปลอดภยั และมี

(ทักษะชวี ิต) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรู

หอ งปฏบิ ัติการท่ีเหมาะสม สงู ขึน้

กับวิชาท่เี รียน มี

บรรยากาศที่เอื้อตอ ผู

เรียนรู

20 โครงการจดั หาโตะ แผนกวิชา เพ่ือใหนักเรยี น นกั ศกึ ษา นักเรยี น นักศกึ ษา มเี จคคติ 1 ตุลาคม 300,000 

เกา อีส้ าํ หรับหอ งเรียน สามญั มโี ตะเกา อ้นี ่งั เรยี นอยา ง ทีด่ ใี นการเรียน และมีโตะ 2563 – 30

แผนกสามัญ (ทกั ษะชีวิต) เพียงพอ และ เกา อ้ีน่งั เรยี นอยา งเพียงพอมี กันยายน

สภาพแวดลอ มในการ สภาพสมบรู ณพรอ มใชง านมี 2564

เรยี นการสอนท่ีเหมาะสม ความปลอดภยั

30

ท่ี ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม หนวยงานที่ เปาหมาย ผลผลติ ที่ไดรบั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจ ายตามแผน ผลการใชจา ยจริง (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผิดชอบ ดําเนนิ การ การ ดาํ เนิน
งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
21 โครงการพัฒนาศนู ย แผนกวชิ า เพื่อใหนักเรียน นกั ศึกษา นักเรยี น นักศกึ ษา มีเจคคติ 1 ตุลาคม 50,000 50,000


การเรียนรูด ว ยตนเอง สามัญ มีศนู ยการเรียนรูดวย ท่ดี ใี นการเรยี น และมโี ตะ 2563 – 30

แผนกสามญั (ทักษะชีวติ ) ตนเองแผนกสามญั ใชง าน เกา อ้ีนั่งเรียนอยา งเพียงพอมี กันยายน

และมสี ภาพแวดลอ มใน สภาพสมบรู ณพรอ มใชงานมี 2564

การเรียนรูด ว ยตนเองท่ี ความปลอดภยั

เหมาะสม

22 โครงการพัฒนา แผนก เพ่ือพฒั นาครภุ ณั ฑ แผนกวชิ าการบญั ชมี กี าร 1 ตุลาคม 420,000 105,000 
ครุภณั ฑห อ งเรียน วชิ าการ หองเรียนปฏิบัตกิ ารแผนก พฒั นาการจดั การเรยี นการ 2563 – 30
ปฏบิ ตั กิ ารแผนก บัญชี วชิ าการบัญชี และสง เสรมิ สอน บรหิ ารจัดการดานส่ือ กันยายน
วชิ าการบญั ชี และพัฒนาการใช การเรียนการสอนเปน แหลง
เทคโนโลยี ส่ือ นวตั กรรม เรียนรทู างเทคโนโลยีเฉพาะ 2564
ในการเรียนการสอน ให ทางที่ทันสมยั พรอมเปน
ทันสมัย แหลงเรยี นรดู านวิชาชพี การ
บัญชใี หนักเรียนนักศึกษาได
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

31

ที่ ชื่อโครงการ/กิจกรรม หนวยงานที่ เปา หมาย ผลผลิตที่ไดร บั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ ายตามแผน ผลการใชจา ยจริง (บาท) ดาํ เนิน ไม
รบั ผิดชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนนุ บกศ. งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
23 โครงการการแขง ขัน แผนก เพื่อเสรมิ ความรดู า นบญั ชี นักเรียนนกั ศกึ ษาไดเ รยี นรู 1 ตุลาคม 30,000 30,000
ทางการบญั ชี วชิ าการ ภาษอี ากร และ ตามความสนใจ และใชเ วลา 2563 – 30 
บญั ชี ภาษาองั กฤษในงานบญั ชี วา งใหเกดิ ประโยชนโดยทาํ กนั ยายน
เสรมิ ทกั ษะการใช กิจกรรมทางวชิ าชพี ตรงตาม
โปรแกรมสําเร็จรปู ทาง สาขาทเ่ี รียน 2564
บญั ชีใหแ กผ เู รียน
สาขาวชิ าการบัญชี

24 โครงการการจัดซอ้ื วสั ดุ แผนก เพื่อเสริมความรูดา นบญั ชี นักเรยี น นักศกึ ษาไดเ รยี นรู 1 ตุลาคม 440,000 
ภาษอี ากร และ ตามความสนใจ และใชเ วลา 2563 – 30
ครุภัณฑเครื่อง วชิ าการ ภาษาองั กฤษในงานบญั ชี วางใหเ กิดประโยชนโ ดยทาํ กนั ยายน
เสริมทักษะการใช กจิ กรรมทางวชิ าชีพตรงตาม
คอมพวิ เตอรหองเรยี น บัญชี โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ทาง สาขาท่ีเรียน มจี าํ นวน 2564
บญั ชีใหแ กผเู รยี น นักเรยี น นักศึกษาทเ่ี ขา รอบ
ปฏบิ ัติการแผนก สาขาวชิ าการบัญชี แขง ขันการใชโ ปรแกรมบญั ชี
รอบชิงชนะเลิศเพมิ่ มากข้นึ
วิชาการบัญชี 345

32

ท่ี ช่ือโครงการ/กิจกรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลติ ท่ีไดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจ ายตามแผน ผลการใชจ ายจรงิ (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดาํ เนนิ
งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
25 โครงการธนาคาร แผนก เพือ่ พัฒนาการเรยี นการ แผนกวชิ าการบญั ชแี ละ 1 ตุลาคม 5,000 3,000
โรงเรียน วิชาการ สอนใหมีประสทิ ธภิ าพ วิทยาลยั มีการพฒั นาการ 2563 – 30 
บัญชี ยงิ่ ขึน้ สง เสริมและ เรียนการสอนโดยฝก กันยายน
พัฒนาการใชเ ทคโนโลยี ประสบการณก ารปฏบิ ัตงิ าน
ส่ือ นวตั กรรมในการเรียน จรงิ กับสถานประกอบการ ท่ี 2564
การสอน เปนแหลงเรียนรูของนกั เรียน
นักศกึ ษา ตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

26 โครงการสง เสรมิ แผนก เพื่อสรา งเจตคตทิ ่ดี ตี อ นักเรยี น นักศกึ ษามีเจตคตทิ ่ี 1 ตลุ าคม 5,000 5,000 
วชิ าชีพสาขาการบัญชี ให ดตี อการเรียน มคี ุณธรรม 2563 – 30
คณุ ธรรม จริยธรรม วชิ าการ นักเรยี น นักศึกษาแผนก จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ กันยายน
วชิ าการบญั ชมี ีคุณธรรม วิชาชีพในสาขาวชิ าการบัญชี
และจรรยาบรรณ บัญชี จริยธรรมและมี และมีความพรอ มในการเปน 2564
จรรยาบรรณ และเตรยี ม นกั บญั ชมี อื อาชพี อยางมี
วชิ าชพี เพ่อื เตรียม ความพรอมกา วสูโ ลก คุณภาพ
อาชพี ไดอยา งเหมาะสม
ความพรอมสูอาชีพนกั

บญั ชี

33

ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม หนวยงานท่ี เปาหมาย ผลผลิตทไี่ ดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ ายตามแผน ผลการใชจ ายจริง (บาท) ดําเนิน ไม
รับผิดชอบ ดาํ เนนิ การ งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อดุ หนนุ บกศ. การ ดําเนนิ
แลว การ
27 โครงการMARKETING แผนก เพอ่ื ใหผเู รียนแผนก ผูเรยี นแผนกวชิ าการตลาด 1 ตุลาคม 30,000
FAIR วิชาการ วชิ าการตลาด ตระหนกั ถึง ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง 2563 – 30 
ตลาด การเปลย่ี นแปลงของ ของสังคมอาเซียน มคี วาม กันยายน
สงั คมอาเซียน ใหผ ูเรยี น พรอมทจี่ ะเขา สู
แผนกวิชาการตลาด ตลาดแรงงานอาเซียนอยา ง 2564
เตรยี มตัวสตู ลาดแรงงาน รูเ ทาทัน
อาเซียนอยา งมีคุณภาพ

28 โครงการจดั ซ้อื เครอื่ ง แผนกวชิ า เพอื่ จดั ซือ้ เครือ่ ง วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรมี ี 1 ตลุ าคม 500,000 449,400 
คอมพิวเตอรสาํ หรับ เทคโนโลยี คอมพวิ เตอรส ําหรับ เครื่องคอมพิวเตอรสาํ หรบั 2563 – 30
ประมวลผลขัน้ สงู ธรุ กจิ ดจิ ิทลั ประมวลผลข้นั สงู ประมวลผลข้ันสงู เพ่ือใชใน กันยายน
หองปฏบิ ตั ิการ หองปฏิบตั กิ าร การจดั การเรยี นการสอน
คอมพิวเตอร 851 คอมพวิ เตอร และเพ่มิ 2564
ประสิทธิภาพในการ
จัดการเรียนการสอนใน
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจ
ดิจิทัล

34

ท่ี ช่อื โครงการ/กิจกรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตท่ไี ดร บั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจ ายตามแผน ผลการใชจ า ยจริง (บาท) ดาํ เนิน ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนินการ การ ดําเนนิ
งปม. อดุ หนนุ บกศ. งปม. อดุ หนนุ บกศ. แลว การ
29 โครงการจดั ซอ้ื เครอ่ื ง แผนกวชิ า เพื่อจัดซ้ือเคร่ือง วิทยาลยั พณิชยการธนบุรมี ี 1 ตุลาคม 1,200,000 499,754
คอมพิวเตอรสาํ หรับ เทคโนโลยี คอมพวิ เตอรส าํ หรบั เครอื่ งคอมพวิ เตอรส ําหรบั 2563 – 30 
ประมวลผลขั้นสงู ธุรกิจดิจิทัล ประมวลผลขน้ั สงู ประมวลผลข้นั สงู เพื่อใชใ น กนั ยายน
หอ งปฏบิ ัตกิ าร หองปฏบิ ัติการ การจัดการเรียนการสอน
คอมพวิ เตอร คอมพิวเตอร และเพิ่ม 2564
ประสิทธภิ าพในการ
จัดการเรยี นการสอนใน
สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจ
ดิจทิ ัล

30 โครงการนทิ รรศการ แผนกวชิ า เพอ่ื สรา งความสัมพนั ธ นักเรียน นักศกึ ษามคี วามรู 1 ตุลาคม 30,000 

วชิ าการ และประกวด เทคโนโลยี และความผกู พันระหวา ง ในการประยกุ ตงานตาม 2563 – 30

ผลงานโครงการวชิ าชพี ธรุ กิจดจิ ทิ ลั นักเรียน นกั ศกึ ษา และครู สาขาอาชีพ มที กั ษะใน กันยายน

แผนกวชิ าเทคโนโลยี ในแผนกวิชาเทคโนโลยี ประกวด และนาํ เสนอ 2564

ธรุ กจิ ดจิ ิทัล TCC อคา ธรุ กิจดจิ ทิ ลั และนกั เรียน ผลงานโครงการวิชาชีพ เพอื่

เดมี่ (คอมพวิ เตอร ระดบั ปวช. 3 และ เปน ประโยชนแกผ ูร ับชม

ปรทิ ศั น’63) นกั ศกึ ษาระดับ ปวส. 2 ผลงานได

แสดงผลงานทางโครงการ

วชิ าชพี เทคโนโลยีธุรกจิ

ดจิ ทิ ัล

35

ท่ี ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม หนวยงานท่ี เปาหมาย ผลผลิตท่ีไดร บั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ ายตามแผน ผลการใชจ ายจรงิ (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผิดชอบ ดาํ เนนิ การ งปม. อดุ หนุน บกศ. การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. แลว การ
31 โครงการ โครงการ แผนกวิชา เพื่อปรบั ปรุง หองปฏบิ ตั ิการเรยี นรูเ ฉพาะ 1 ตลุ าคม 1,220,000


พฒั นาและปรับปรุง เทคโนโลยี หอ งปฏบิ ตั ิการ ทางมคี วามเหมาะสมกบั การ 2563 – 30

หอ งเรียนเฉพาะทาง ธรุ กจิ ดิจทิ ัล คอมพิวเตอร หอง 252 ให เรียนรดู านวิชาคอมพวิ เตอร กนั ยายน

หองเรยี นรดู จิ ติ อล เปนหองเรียนเฉพาะทาง ธุรกจิ เกิดทักษะในการ 2564

อุปกรณพกพาบนเมฆา เปนการปรบั ปรงุ ส่อื การ ประยุกตก ารใชงานหรอื

วถิ ี (Mobile Digital เรยี นการสอนพฒั นา ผลติ ผลของงานจากการใช

Learning On Cloud ทักษะในการคิดวิเคราะห ครุภัณฑ อุปกรณด งั กลาวได

Education Way) เปน การจดั การเรียนรู อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

เทคโนโลยเี ฉพาะทาง หรอื

การเรยี นรูเชิงปฏิบัติการ

32 โครงการพฒั นาระบบ แผนกวชิ า เพื่อพัฒนาระบบจัดการ วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ีมี 1 ตุลาคม 70,000 

การจัดการสอนโดยใช เทคโนโลยี สอนโดยใชเ ทคโนโลยี ส่ือเทคโนโลยภี าพเสมือน 2563 – 30

เทคโนโลยีภาพเสมือน ธรุ กิจดจิ ทิ ัล ภาพเสมือนจริง (Virtual จริง (Virtual Reality : VR) กันยายน

จรงิ (Virtual Reality : Reality : VR) ที่มคี วามทันสมยั 2564

VR)

36

ท่ี ชอื่ โครงการ/กิจกรรม หนวยงานที่ เปา หมาย ผลผลติ ทไี่ ดร ับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจายตามแผน ผลการใชจ ายจรงิ (บาท) ดําเนิน ไม
รบั ผิดชอบ ดําเนนิ การ งปม. อุดหนุน บกศ. การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. แลว การ
33 โครงการพฒั นา แผนกการ เพ่ือเพม่ิ พัฒนาหอ งเรียน แผนกวชิ าการทองเทีย่ วมี 1 ตุลาคม 300,000
ใหเปน หอ งเรยี นเฉพาะ การพัฒนาการจัดการเรยี น 2563 – 30 
ทางของแผนกวชิ าการ การสอน บรหิ ารจดั การดา น กนั ยายน
หองเรียนเฉพาะทาง ทองเทย่ี ว ทองเท่ียว และสง เสรมิ สถานท่ีทีเ่ ปน แหลงเรียนรู
และพัฒนาการใช ทางเทคโนโลยเี ฉพาะทางที่ 2564
สาขาวิชาการทอ งเท่ยี ว เทคโนโลยี ส่ือ นวัตกรรม ทันสมัย พรอ มเปนแหลง
ในการเรียนการสอน ให เรียนรดู านวชิ าชีพการ
ทันสมัย ทองเท่ียว

34 โครงการจดั ซอื้ ครภุ ัณฑ แผนก เพ่อื กระตุนความสนใจใน นักเรียน นกั ศึกษา สนใจ มี 1 ตลุ าคม 27,000 27,000 

หอ งฝก ปฏิบตั กิ าร วชิ าการ การเรยี นในหองสาํ นักงาน ความสุขในการเขา เรยี นมาก 2563 – 30

สาํ นกั งานที่ทันสมยั เลขานุการ สมัยใหม เพ่ิม ข้ึน ไดฝ กปฎบิ ัติการงาน กันยายน

ประสทิ ธิภาพการ สาํ นกั งานในหอ งสาํ นกั งานท่ี 2564

ปฏบิ ัตงิ านดานเอกสาร ทนั สมัย และมผี ลสมั ฤทธิ์

และสาํ นักงานของผเู รียน ทางการเรียนสูงข้นึ

37

ที่ ชอื่ โครงการ/กิจกรรม หนวยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตที่ไดร บั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ ายตามแผน ผลการใชจา ยจริง (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รบั ผิดชอบ ดาํ เนินการ การ ดาํ เนนิ
เพ่ือใหหอ งเรียนรูสาํ นักงาน งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อดุ หนนุ บกศ. แลว การ
มีบรรยากาศทสี่ งเสรมิ การ 1 ตุลาคม 40,000 40,000 
35 โครงการจัดซอ้ื และ แผนก เพอ่ื จัดซอ้ื และติดต้ังมา น เรียนรขู องนกั เรยี นนักศกึ ษา 2563 –
ท่ีเขามาเรียน
ตดิ ต้ังมา นปรบั แสง วชิ าการ ปรบั แสงและทําให 30
กนั ยายน
และเครือ่ งปรับอากาศ เลขานุการ หองเรยี นรสู ํานกั งานมี 2564

ใน หองพมิ พไ ทย และ บรรยากาศทีส่ งเสริมการ

อังกฤษดวย เรยี นรูของนักเรียน

คอมพิวเตอร นกั ศกึ ษาทเ่ี ขามาเรียน

36 โครงการปรับปรุง แผนก เพอ่ื ใหนกั เรียน นกั ศกึ ษา เพอ่ื ใหนกั เรยี น นักศึกษาได 1 ตลุ าคม 35,000 35,000 
ระบบเดินสายไฟฟา วิชาการ ไดเ รยี นรูในหอ งเรยี นที่มี เรียนรูในหอ งเรียนทีม่ กี ารจดั 2563 - 30
และสายแลนหอ ง เลขานุการ การจดั สภาพแวดลอมที่ สภาพแวดลอ มทปี่ ลอดภยั กนั ยายน
ปฏิบัตงิ านสาํ นักงาน ปลอดภยั และพฒั นา
(หอง 624) หอ งเรียนใหเออ้ื ตอการ 2564
เรยี นรูข องผเู รียนในยคุ
4.0

38

ที่ ช่ือโครงการ/กจิ กรรม หนวยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตที่ไดรับ ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจายตามแผน ผลการใชจายจรงิ (บาท) ดําเนิน ไม
รับผดิ ชอบ ดําเนินการ งปม. อุดหนุน บกศ. การ ดําเนนิ
งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
1 ตุลาคม 10,000
37 เชิญวทิ ยากรดา น แผนก เพ่อื ใหน กั เรียนปวช. และ นักเรยี น นกั ศกึ ษา เกิดองค 2563 - 30 
วิชาชีพดา นงานชวเลข วิชาการ ปวส. ไดความรเู กี่ยวกับ ความรูดานวชิ าชพี ของ กันยายน
ใหค วามรูการจดชวเลข เลขานุการ การจดชวเลขศกึ ษาดูงาน ตนเองมากข้ึน และมี
และเกิดเปาหมายในชีวิต ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 2564
มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียน สูงขึน้
ทีส่ งู ข้นึ และสอบบรรจรุ บั
ราชการในตาํ แหนง เจา
พนกั งานธุรการ และ
เจา หนาทจี่ ดชวเลข

38 โครงการจัดซื้อครุภณั ฑ แผนก เพื่อกระตุนความสนใจใน นกั เรยี น นกั ศกึ ษามีความสขุ 1 ตุลาคม 15,000 15,000 

และอุปกรณ จัดทาํ จดุ วชิ าการ การเรยี นในหองสํานักงาน ในการเขาเรยี นมากข้ึน และ 2563 - 30

check in ประจาํ เลขานกุ าร สมัยใหม และเพม่ิ จดุ สามารถไดถ ายรปู จุด check กันยายน

แผนกวิชาการ Check in มมุ พักผอ น in ในการประชาสัมพันธ 2564

เลขานุการ ถา ยภาพสวย ๆ ประจาํ วิทยาลยั ใหบุคคลภายนอก

แผนกวชิ าการเลขานกุ าร รูจ กั

ใหแ กผเู รียน

39

ท่ี ช่ือโครงการ/กิจกรรม หนว ยงานท่ี เปาหมาย ผลผลิตที่ไดรับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ ายตามแผน ผลการใชจา ยจรงิ (บาท) ดําเนิน ไม
รับผิดชอบ ดาํ เนินการ การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. งปม. อุดหนุน บกศ. แลว การ
100,000 75,000 
39 โครงการเตรียมความ แผนกวิชา เพ่อื ใหผ ูเรยี นมีคุณธรรม กเรียนที่เขา รวมมคี ณุ ธรรม 1 ตลุ าคม

พรอ มผูเรยี น ภาษาตา งป จรยิ ธรรม และระเบยี บ จรยิ ธรรม และระเบียบวินยั 2563 - 30

อาชวี ศกึ ษา และ ระเทศ วินัยในการทํางานระดบั ในการทาํ งานระดบั สากล กนั ยายน

เสริมสรางคุณลกั ษณะ สากล และมที ักษะดา น และไดฝ ก ทักษะการฟง และ 2564

อันพึงประสงค การฟง และการพดู การพดู

(English Camp) ภาษาตา งประเทศเพ่ือการ

สือ่ สาร

40 โครงการพฒั นาทักษะ แผนกวชิ า เพอ่ื ใหมีทักษะในการใช ทาํ ใหผ ูเ รยี นไดเ ตรยี มความ 1 ตุลาคม 6,000 

ภาษาจีนเพอ่ื พัฒนา ภาษาตา งป ภาษาจนี สือ่ สาร ได และ พรอมการใช 2563 - 30

และเตรยี มความพรอ ม ระเทศ เตรียมความพรอมดา น ภาษาตา งประเทศ ภาษาจีน กันยายน

ผเู รยี นสสู ากล ภาษาจีนเพ่ือการสือ่ สาร มีทักษะการสื่อสาร 2564

ของนักเรียน นักศกึ ษา ภาษาตา งประเทศมากขึ้น มี

และผทู ่สี นใจใหม ี ความกลาแสดงออก

ประสทิ ธิภาพ สามารถสอื่ สารในเบอ้ื งตน ได

40

ที่ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานท่ี เปา หมาย ผลผลิตทีไ่ ดรบั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจา ยตามแผน ผลการใชจายจรงิ (บาท) ดาํ เนิน ไม
รบั ผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดาํ เนิน
งปม. อุดหนุน บกศ. งปม. อุดหนุน บกศ. แลว การ
41 โครงการพัฒนา แผนก เพอื่ การพัฒนาหอ งเรียน หองเรียนเฉพาะทางการ 1 ตุลาคม 300,000 400,800


หอ งเรียนเฉพาะทาง วชิ าการ เฉพาะทางการจดั การโลจิ จัดการโลจสิ ตกิ สแ ละซพั 2563 – 30

มาตรฐานการจัดการโล จัดการโลจิ สติกสใ หม วี ัสดุ อปุ กรณ พลายเชน มีความทันสมัย มี กนั ยายน

จสิ ติกสและซพั พลาย สตกิ ส เทคโนโลยที ที่ ันสมยั และ ประสิทธิภาพ สรา งความพึง 2564

เชน และซพั เพอื่ การพัฒนาหองเรยี น พอใจใหกับ นักเรยี น

พลายเชน เฉพาะทางการจัดการโลจิ นกั ศกึ ษา และชุมชุน

สตกิ สใ หมีวัสดุ อปุ กรณ

เทคโนโลยีทที่ ันสมัย

42 โครงการพัฒนาส่อื เพ่ือ แผนก เพ่ือพฒั นาความรู นกั เรยี น นกั ศกึ ษาไดทํา 1 ตลุ าคม 20,000 20,000 
2563 – 30
การเรยี นรวู ชิ าชพี โลจิ วชิ าการ ความสามารถและทกั ษะ กิจกรรมท่ีสง เสรมิ ดา น กนั ยายน

สตกิ สแ ละซัพพลาย จดั การโลจิ วิชาชพี แกนกั เรียน และ วชิ าการ วิชาชีพ เปน คนดี 2564

เชน สติกส จัดซ้อื จดั หา ปรบั ปรงุ และคนเกง ของสงั คม

และซัพ หรอื พัฒนาส่อื นวัตกรรม

พลายเชน และเทคโนโลยเี พ่อื

การศกึ ษา

41

ท่ี ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม หนวยงานที่ เปา หมาย ผลผลิตทไ่ี ดรับ ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจ า ยตามแผน ผลการใชจ ายจริง (บาท) ดําเนนิ ไม
รับผดิ ชอบ ดาํ เนินการ งปม. อดุ หนุน บกศ. การ ดาํ เนนิ
งปม. อดุ หนนุ บกศ. แลว การ
43 โครงการการจัดทํา งาน เพือ่ สงเสรมิ และ ขาราชการครูและบุคลากร 1 ตลุ าคม 10,000 5,000 
แผนพฒั นาตนเอง บุคลากร สนับสนนุ ใหครวู ิชาชพี ได ไดพ ฒั นาตนเองดานวิชาชพี 2563 – 30
รายบคุ คล และการ พฒั นาตนเอง และเพมิ่ ขีด และพฒั นาระบบการเรียน กนั ยายน
ประเมินตนเองของครู ความสามารถของการ การสอนแบบใหม
สายงานการสอน แขง ขนั ประเมนิ ตนเอง 2564
(Individual และการจัดทาํ แผนพฒั นา
Development ตนเองรายบคุ คล
Plan : ID PLAN)
ประจาํ ปงบประมาณ
พ.ศ. 2564)

44 โครงการ ประชมุ งาน เพอื่ ประชุม คณะกรรมการวทิ ยาลัย 1 ตลุ าคม 5,000 5,000 
คณะกรรมการวทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี สรา ง 2563 – 30
คณะกรรมการ บุคลากร พณิชยการธนบรุ ี ใหค วาม แนวทางการพัฒนา กันยายน
เห็นชอบนโยบายและให สถานศกึ ษาอยา งตอ เน่อื ง
วทิ ยาลยั ฯ และ ความรวมมอื ในการในการ วิทยาลยั คณะกรรมการ 2564
ดําเนินงานของวทิ ยาลยั ฯ วิทยาลยั พณิชยการธนบุรี
คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการวทิ ยาลัย สรางแนวทางการพฒั นา
ไดรับทราบถึงบทบาท สถานศึกษาอยา งตอ เนอื่ ง
สถานศึกษา ประจําป หนา ทข่ี องตนเอง

การศกึ ษา 2563

42

ท่ี ชือ่ โครงการ/กิจกรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลติ ทไ่ี ดร บั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจา ยตามแผน ผลการใชจา ยจรงิ (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผิดชอบ ดาํ เนนิ การ การ ดําเนิน
งปม. อดุ หนุน บกศ. งปม. อุดหนุน บกศ. แลว การ
45 โครงการพฒั นาครู งาน เพ่อื เสรมิ สรางความ บคุ ลากรนาํ หลกั คณุ ธรรม 1 ตุลาคม 500,000 50,000
คณาจารยแ ละ บคุ ลากร ตระหนกั ในความมี จริยธรรม ความรู และ 2563 – 30 
บคุ ลากรอาชวี ศึกษา คุณธรรม จรยิ ธรรม และ ประสบการณท่ไี ดรับไปปรบั กันยายน
ประจําปงบประมาณ นอ มนาํ หลักปรัชญาของ ใชใ นการปฏิบัตงิ านและ
พ.ศ. 2564 เศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใน ชวี ติ ประจําวันไดอยา งมี 2564
การดาํ เนนิ ชีวติ ของ ประสิทธภิ าพ ใชหลัก
บุคลากร สงเสรมิ ให คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรู
บคุ ลากรมกี ระบวนทศั น ประสบการณท่ีไดร บั ไป
และคา นิยมในการ ประยุกตใ ชใ นการสรา งความ
ปฏิบตั ิงานท่ีมงุ เพ่มิ สามัคคี ปรองดอง ความ
ประสิทธิภาพในการ รวมมือรวมใจเปน อนั หนงึ่ อัน
ทาํ งาน และการพัฒนา เดียวกนั และสามารถ
คุณภาพชีวติ ประสานประโยชนในการ
ปฏบิ ตั งิ านใหเปน ไปอยา งมี
ประสทิ ธิภาพ และใหบ รรลุ
เปา หมายของหนว ยงาน

43

ท่ี ชื่อโครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตทไ่ี ดรบั ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจายตามแผน ผลการใชจ า ยจรงิ (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รับผิดชอบ ดําเนินการ งปม. อดุ หนนุ บกศ. การ ดําเนิน
งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
46 โครงการการจดั ทําสอ่ื งาน เพอื่ การจัดทําสอื่ ส่งิ พมิ พ วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ มี ี 1 ตุลาคม 30,000 22,000 8,695 

สิ่งพมิ พเพือ่ การ ประชาสัมพั เพอ่ื การประชาสมั พันธ สือ่ สิง่ พิมพเ พ่ือการ 2563 – 30

ประชาสมั พนั ธ นธ วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบรุ ี ประชาสมั พนั ธข องวทิ ยาลยั กันยายน

วทิ ยาลยั พณิชยการ พณิชยการธนบรุ ที ี่มี 2564

ธนบรุ ี ประสทิ ธภิ าพ

47 โครงการพฒั นาระบบ งาน เพอ่ื พฒั นาระบบการ วิทยาลยั พณชิ ยการธนบรุ มี ี 1 ตลุ าคม 100,000 90,950 
2563 – 30
การส่อื สารภายใน ประชาสัมพั สือ่ สารภายในองคกรดว ย ระบบการติดตอสือ่ สาร กนั ยายน

องคก รดว ย VOIP นธ VOIP ภายในองคก รท่ีมี 2564

ประสิทธภิ าพ

44

ที่ ชอ่ื โครงการ/กิจกรรม หนวยงานที่ เปา หมาย ผลผลิตทีไ่ ดรับ ระยะเวลา ประมาณการคาใชจายตามแผน ผลการใชจา ยจรงิ (บาท) ดาํ เนนิ ไม
รบั ผดิ ชอบ ดําเนินการ งปม. อดุ หนนุ บกศ. การ ดําเนนิ
งปม. อดุ หนุน บกศ. แลว การ
75,000
48 โครงการกาํ จดั ปลวก งานอาคาร เพอ่ื ใหผูปกครองและ นักเรียน นักศึกษา มี 1 ตลุ าคม 75,000 
อาคารเรยี นและ สถานท่ี ชุมชนไดม ีสวนรวมในการ สภาพแวดลอมทสี่ ะอาด 2563 – 30 120,000
หอ งปฏบิ ตั ิการ พฒั นาวทิ ยาลัยฯตามหลัก และปลอดภยั ตามหลัก กนั ยายน 217,420 
งานอาคาร ปรัชญาของเศรษฐกิจ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
49 โครงการบํารงุ รักษา สถานท่ี พอเพียง และดูแล พอเพียง 2564
ลฟิ ทภ ายใน ทรัพยสินของทางราชการ
สถานศึกษา และสรางความปลอดภยั ครู เจา หนา ท่ี และผปู กครอง 1 ตุลาคม
ใหกบั บุคลากรใน ที่มาตดิ ตอราชการ ไดใช 2563 – 30
สถานศกึ ษา ตามหลัก บริการลิฟตภ ายใน กนั ยายน
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ สถานศึกษาอยา งมี
พอเพยี งและสถานศกึ ษา ประสทิ ธิภาพและปลอดภยั 2564
3D ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
เพื่อใหบ รกิ ารแกค รู
เจา หนาที่ และผปู กครอง
ไดร ับความสะดวกสบาย
และความปลอดภัยในการ
ใชบ รกิ ารเรียนการสอนใน
ชั้นทอี่ ยูสูง ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง

45

ที่ ชื่อโครงการ/กจิ กรรม หนวยงานท่ี เปา หมาย ผลผลติ ท่ีไดรบั ระยะเวลา ประมาณการคาใชจ า ยตามแผน ผลการใชจา ยจรงิ (บาท) ดําเนนิ ไม
รับผิดชอบ ดาํ เนินการ การ ดาํ เนนิ
งปม. อุดหนุน บกศ. งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
1 ตลุ าคม 
50 โครงการปรบั ปรุง งานอาคาร เพอื่ ครู บคุ ลากรทางการ อาคารสถานทภี่ ายใน 2563 – 30 1,000,000 1,011,100 25,510 100,000
ซอ มแซมอาคาร สถานที่ ศกึ ษา และผูเรยี นมสี ว น วทิ ยาลยั พณิชยการธนบรุ ีมี กนั ยายน
สถานที่ วพธ. รว มในการประเมินความ สภาพดขี ้นึ เสรมิ สราง
พงึ พอใจและพัฒนาอาคาร สภาพแวดลอ มทีด่ ใี หกบั ครู 2564
สถานท่ี สภาพแวดลอ ม นักเรยี น นักศึกษา และ
และภูมทิ ศั นข องวทิ ยาลยั บุคคลทวั่ ไป


51 โครงการพัฒนาอาคาร งานอาคาร เพื่อใหว ทิ ยาลยั มี วทิ ยาลยั มสี ภาพแวดลอ มรม 1 ตุลาคม 1,000,000 753,349 424,924 28,400 

สถานที่และภมู ทิ ัศน สถานที่ สภาพแวดลอ มรม รนื่ และ ร่นื และมแี หลง เรียนรสู าํ หรับ 2563 – 30

มีแหลงเรยี นรสู ําหรับ ผเู รยี น และเออ้ื อาํ นวยตอ กันยายน

ผเู รียน ละสภาพแวดลอ ม การจัดการเรียนการสอน 2564

เอื้ออาํ นวยตอการจัดการ และมคี วามปลอดภยั

เรยี นการสอน และมีความ

ปลอดภัย

46

ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม หนว ยงานที่ เปาหมาย ผลผลิตท่ีไดรับ ระยะเวลา ประมาณการคา ใชจา ยตามแผน ผลการใชจ ายจรงิ (บาท) ดาํ เนิน ไม
รบั ผิดชอบ ดําเนนิ การ งปม. อุดหนุน บกศ. การ ดําเนนิ
งปม. อุดหนนุ บกศ. แลว การ
52 โครงการจดั ซื้อจดั จา ง งาน เพอื่ ใหนักเรียน นักเรยี น นักเรยี น นกั ศึกษาสะดวกตอ 1 ตุลาคม 70,000
สะดวกตอการติดตอ การตดิ ตอ ดําเนนิ การทงั้ 2563 – 30 
ดําเนินการทงั้ ภายในและ ภายในและภายนอก กนั ยายน
ทําบตั รนกั เรยี น ทะเบียน ภายนอกวทิ ยาลยั ฯ และ วทิ ยาลยั ฯ และทราบ
จัดซ้อื บตั รประจําตวั สถานภาพของนักเรยี น 2564
นกั ศกึ ษา นักเรยี น นกั ศกึ ษา นักศึกษาของวิทยาลัยฯ

53 โครงการบาํ รุงรกั ษา งานพสั ดุ เพื่อการสาํ รวจและ ไดมกี ารสาํ รวจและ 1 ตุลาคม 500,000 43,559 168,471 22,054 
และซอมแซมครภุ ณั ฑ ตรวจสอบความชาํ รุด ตรวจสอบความชาํ รุด 2563 – 30
และยานพาหนะของ บกพรองของครุภณั พ บกพรองและบาํ รุงรกั ษา กันยายน
วิทยาลยั สาํ นกั งาน ครุภัณฑเพอ่ื ครภุ ัณฑข องวิทยาลัยให
การศกึ ษาและยานพาหนะ พรอมใชงานรวมไปถงึ 2564
ซ่ึงจะนาํ ไปสูการซอมแซม ยานพาหนะใหม นี า้ํ มนั
และบาํ รุงรกั ษาใหมกี ารใช เชอ้ื เพลงิ พรอ มใชงานได
งานไดอยางประสทิ ธภิ าพ อยางสม่าํ เสมอ
ในการปฏบิ ตั งิ านทาง
ราชการของวทิ ยาลยั ตอ ไป

47


Click to View FlipBook Version