The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ท.ทหารอดทน, 2019-12-18 01:05:03

คู่มือการปฎิบัติงานของชุดปฎิบัติการ

คู่มือยาเสพติด

ค่มู อื การปฏิบัติงานของชุดปฏิบตั กิ าร
การจดั ต้งั หมบู่ ้าน/ชุมชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพตดิ
ตามแผนปฏบิ ัติการดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด

มาตรการการป้องกันยาเสพตดิ

แนวทางการเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของหมูบ่ ้าน/ชมุ ชนตามแนวชายแดน
และการพฒั นาทางเลอื ก

แผนงานการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของหมู่บา้ น/ชุมชนตามแนวชายแดน

โครงการจัดตัง้ หม่บู ้าน/ชมุ ชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพตดิ

❖ ชดุ พฒั นาสัมพนั ธ์มวลชน (ชพส.)
❖ ชดุ วทิ ยากรกองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ (ชวกม.)

โครงการสร้างเครือขา่ ยผนู้ ำหม่บู า้ น/ชมุ ชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพตดิ

❖ ชุดวทิ ยากรกระบวนการสร้างเครือขา่ ยผู้นำหมูบ่ ้าน/ชมุ ชนเขม้ แข็ง (ชบข.)

ปรับปรุงโดย ศูนย์ประสานการปฏบิ ัตทิ ่ี ๒ กอ.รมน. เมอื่ ธนั วาคม ๒๕๖๒
รับรอง ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)

ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมนั่ คง แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมัน่ คง
แผนแมบ่ ทย่อย การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ความม่นั คง

หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในหลวงรัชกาลท่ี ๙

๑. จะทำอะไรตอ้ งศึกษาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบ ๑๓. ใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ
๒. ระเบิดจากภายใน ๑๔. ใช้อธรรมปราบอธรรม
๓. แกป้ ัญหาทจี่ ดุ เล็ก ๑๕. ปลกู ป่าในใจคน
๔. ทำตามลำดบั ขนั้ ๑๖. ขาดทุนคือกำไร
๕. ภมู สิ ังคม ภูมศิ าสตร์ สังคมศาสตร์ ๑๗. การพึง่ พาตนเอง
๖. ทำงานแบบองคร์ วม ๑๘. พออยูพ่ อกนิ
๗. ไม่ติดตำรา ๑๙. เศรษฐกจิ พอเพียง
๘. รจู้ ักประหยดั เรยี บง่าย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด ๒๐. ความซื่อสัตยส์ จุ รติ จริงใจต่อกัน
๙. ทำให้ง่าย ๒๑. ทำงานอย่างมีความสุข
๑๐. การมสี ว่ นรว่ ม ๒๒. ความเพียร
๑๑. ต้องยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม ๒๓. รู้ รกั สามคั คี
๑๒. บริการทจี่ ุดเดยี ว

*ขอ้ มลู จาก : https ://th.jobsdb.com,
https ://www.CRMA.ac.th,
https ://umongcity.go.th

คำนำ

ปัญหายาเสพติด เป็นภัยร้ายแรงที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ รัฐบาลจึงได้

กำหนดให้การเอาชนะปัญหายาเสพติดไว้ในแผนแม่บทยอ่ ยการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาท่มี ีผลกระทบต่อความ
มั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมัน่ คง ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยยึดแนวคิด การสร้างความ
เข้มแข็งและแรงขับเคลื่อนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ทั่วประเทศ มุ่งลดระดับ
ความรนุ แรงของสถานการณ์ปัญหายาเสพติด ต้งั แตต่ ้นทาง กลางทาง และปลายทาง ผา่ น ๕ มาตรการสำคัญ
ได้แก่ ๑. การป้องกัน ๒. การปราบปราม ๓. การบำบัดรักษา ๔. การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ และ
๕. การผลกั ดันความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ

ปัญหายาเสพติด ยังนับเปน็ เรือ่ งทีส่ ืบเนือ่ งจากปัญหาความยากจน ความเลื่อมล้ำทาง
สังคม การขาดโอกาสทางการศึกษาและการมีคณุ ภาพชีวิตที่ดีอันเป็นปัญหาพื้นฐานในสังคม
ดังนั้น การแก้ไขปัญหายาเสพติดจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในสังคม
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในระดับหม่บู า้ น/ชมุ ชน

ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ กอ.รมน. ได้ปรับปรุงคู่มือการปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติการ การจัดตั้ง
หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด ให้มีความสมบูรณ์ และรองรับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และสอดคล้องกับแผนงาน/โครงการที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม โดยหวังว่า
คู่มือเลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชน์สำหรบั การจัดตงั้ หมู่บา้ น/ชมุ ชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพตดิ ตามแนวชายแดนของชุด
ปฏิบัติการ ในความรบั ผิดชอบของ กอ.รมน. ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคีเครือขา่ ย
เป็นอยา่ งดี นำไปสู่การลดผ้คู า้ ผ้ใู ช้ ผู้เสพ ผตู้ ดิ ยาเสพติด ตลอดจนสร้างความตระหนกั รู้ในการปฏิเสธยาเสพติด
ของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนตามแนวชายแดน ทั้งน้ี เพื่อความสำเร็จตามเป้าประสงค์ของรัฐบาล คือ

สังคมไทยปลอดภยั จากยาเสพตดิ

ผมขออำนวยพรให้กำลังพลของชุดปฏิบตั ิการทุกนาย มีพลานามัยสมบูรณแ์ ข็งแรง มีจิตใจที่เข้มแขง็
มุ่งม่นั ร่วมมือกันในการสร้างสรรค์ให้สังคมไทยปลอดภยั จากยาเสพตดิ อย่างแท้จรงิ เพ่อื ให้ลูกหลานมีอนาคต
ท่ีสดใส ประเทศชาตขิ องเรามคี วามม่ันคง มั่งคง่ั ยั่งยนื สืบไป

พลโท กิตติธชั บพุ ศิริ
ผูอ้ ำนวยการศูนยป์ ระสานการปฏบิ ตั ิท่ี ๒ กอ.รมน.

ธนั วาคม ๒๕๖๒

สารบญั

หน้า

หลักการทรงงาน

คำนำ

สว่ นนำ ๑

สว่ นท่ี ๑ แนวความคิดในการปฏบิ ตั ิ ๓

- กองอำนวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักรกบั การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ๓

- การแบ่งสว่ นราชการ ๓

- แนวทางในการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ๔

- งานตามแผนงาน/โครงการ ๕

ส่วนท่ี ๒ โครงสร้างและบทบาทหน้าท่ขี องชุดปฏบิ ัตกิ าร ๖

- ชุดปฏิบัติการท่ีเข้าดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ๖
- หน้าที่ของชุดปฏิบตั กิ าร ๖
- ความสัมพันธป์ ระสานสอดคล้องในการปฏิบตั งิ านของแตล่ ะชุดปฏบิ ตั ิการ

ตามแผนงาน/โครงการ

- ผลลพั ธ์สดุ ทา้ ย ๗

ส่วนท่ี ๓ แนวทาง/ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน

- แนวทางในการสร้างหมบู่ า้ น/ชมุ ชนใหเ้ ข้มแข็งอยา่ งยัง่ ยนื ๘

- แนวทางการจัดตง้ั กองทนุ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ ๑๑

- ขน้ั ตอนการประชมุ แบบมสี ่วนรว่ ม ๑๒

- ขั้นตอนการฝึกอบรมราษฎรอาสาป้องกนั ยาเสพติด (รสปส.) ๑๒

- ขั้นตอนการฝึกอบรมเยาวชนอุ่นใจไดล้ ูกหลานกลบั คืน ๑๓

- ข้นั ตอนการฝึกอบรมพัฒนาศกั ยภาพแกนนำหมบู่ า้ น/ชมุ ชน เพอื่ การจดั ตงั้ หมบู่ า้ น

กองทุนแม่ของแผน่ ดิน ๑๔

- แนวทาง/ขนั้ ตอนการขับเคลือ่ นกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ ๑๔

o องค์ประกอบเงนิ กองทุนแม่ของแผน่ ดิน ๑๕

o หลักเกณฑก์ ารคัดเลือกกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ ๑๕

- แนวทางการจดั ตัง้ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ และเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑๗

- แนวทางการวเิ คราะห์และเตรียมพ้ืนทปี่ ฏิบตั กิ ารด้านยาเสพตดิ (Intelligence Preparation

Battlefield for Narcotics : IPBN) ๑๗

- หลักเกณฑ/์ เงอื่ นไข ทีใ่ ชพ้ จิ ารณาในการจัดระดับความรนุ แรงของปัญหายาเสพตดิ

ของหมบู่ า้ น/ชุมชน ๑๘

- มิตกิ ระบวนการหรือความเข้มแขง็ ของหมู่บา้ น/ชุมชนและดัชนชี ีว้ ัด ๑๘

- มิติสภาพปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชมุ ชน และดัชนีชี้วดั ๑๙

- เกณฑก์ ารประเมนิ ประเภทหมูบ่ ้าน/ชุมชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพติด ๑๙

สว่ นท่ี ๔ การรายงานผลการปฏิบัตงิ านและการบรรยายสรุปรบั การตรวจเยี่ยม ๒๐
- การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ๒๐
- แนวทางการบรรยายสรุปรับการตรวจเย่ยี มจากผบู้ งั คบั บัญชา ๒๑
- หัวขอ้ การบรรยายสรปุ ของ ชดุ ชพส. และ ชบข. ๒๑
- การรายงานผลการดำเนนิ งานดา้ นยาเสพติดตามแนวชายแดน ๒๒
- หวั ข้อรายงาน “ผลการดำเนินงานดา้ นยาเสพติดตามแนวชายแดน”
โดยระบบสารสนเทศ ๒๒
- คำแนะนำอ่นื ๆ สำหรับชดุ ปฏิบัติการ ๒๓

ภาคผนวก

ผนวก ก การวิเคราะห์และเตรยี มพืน้ ที่ปฏิบตั ิการดา้ นยาเสพตดิ ๒๕
- ความมงุ่ หมาย ๒๖
- งานของท่านคืออะไร ๒๖
- งานในหน้าทห่ี ลกั ของชุดปฏิบตั ิการ ๒๖
- การวเิ คราะห์และเตรยี มพื้นทีป่ ฏบิ ตั ิการด้านการข่าว ๒๗
- การทำ IPBN ๔ ขั้นตอน ๒๗
- ความสมั พันธ์ของงานมวลชนกับงานด้านการข่าว ๔๔
๔๖
ผนวก ข การรายงานผลการปฏิบัตงิ านประจำวงรอบ ๗๒
ผนวก ค รายละเอยี ดการฝกึ อบรม ๗๓
๗๔
- การฝกึ อบรมราษฎรอาสาป้องกนั ภัยยาเสพตดิ (รสปส.) ๗๕
- การฝึกอบรมเยาวชนอุน่ ใจไดล้ ูกหลานกลับคืน ๗๖
- การฝึกอบรมพฒั นาศกั ยภาพผนู้ ำหมู่บ้าน/ชมุ ชน ๗๗
- การฝึกอบรมเยาวชนทางสายใหม่ ๗๘
ผนวก ง เอกสารประกอบการดำเนนิ งาน ๘๓
- แบบประเมนิ คัดเลือกหมู่บา้ นกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน ๘๔
- ใบรบั รองครวั เรือนปลอดภัย ๘๕
- กำหนดการพธิ มี อบธงสัญลกั ษณ์ครัวเรอื นปลอดภัยจากยาเสพตดิ
- การจดั ขบวนแห่ธงสญั ลกั ษณ์ครัวเรือนปลอดภยั จากยาเสพติด

- คำกล่าวเปดิ ของประธานพธิ ีมอบธงสญั ลักษณค์ รัวเรือนปลอดภยั จากยาเสพตดิ ๘๖
- คำกลา่ วประธานกองทุนแมข่ องแผ่นดิน ๘๗
- คำกล่าวเปดิ ของประธาน ๘๘
- คำปฏญิ าณ ๘๙
ผนวก จ ข้อมูลการปฏบิ ัติงาน ๙๐
- โทษและพิษภยั ของสารเสพตดิ ๙๑
- คณุ ลักษณะผนู้ ำชมุ ชน ๙๔

- การปฏิบตั ิการมวลชนของชดุ ปฏิบตั กิ าร ๙๕

- การปฏบิ ัติดา้ นการข่าวของชุดปฏบิ ตั ิการ ๙๗
- สรุปปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๙๙ ๑๐๑
- แบบวัดผลการปฏิบตั ิงานของชุดปฏิบัตกิ าร ๑๐๙
- ตารางการปฏบิ ตั งิ าน



ส่วนนำ

การป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด เปน็ ประเด็นภายใตแ้ ผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ประเดน็ ความมั่นคง แผนยอ่ ยการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาท่มี ผี ลกระทบต่อความมน่ั คง ด้านการรกั ษาความ
มั่นคงภายในราชอาณาจักรและการพัฒนาประเทศ แนวทางการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
โดยแผนยอ่ ยการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาทม่ี ีผลกระทบต่อความมั่นคง กำหนดเปา้ หมายเพ่ือเร่งรัดดำเนินการ
แก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงทีม่ ีอยู่อย่างจริงจัง พร้อมทั้งพัฒนากลไกเฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไข
ปัญหาด้านความม่นั คงทอ่ี าจจะเกิดข้นึ ใหมอ่ ย่างเปน็ รูปธรรม รวมถงึ พทิ ักษร์ ักษาไว้ซงึ่ สถาบันพระมหากษัตริย์
เอกราช อธปิ ไตย บรู ณภาพแหง่ อาณาเขตและเขตที่ประเทศไทยมีสิทธิอธปิ ไตย เกียรตภิ มู ิและผลประโยชนข์ อง
ชาติ ความมั่นคงของรัฐ และความสงบเรียบร้อยของประชาชนและการพัฒนาประเทศ ตามที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยมีแนวคิดในการดำเนินการที่สำคัญคือการวิเคราะห์และระบุสาเหตุที่
แท้จริงของปัญหาในแต่ละเรื่องให้ชัดเจน วางแผนบูรณาการในการแก้ไขปัญหาตามลำดับความเร่งด่วนของ
ปัญหา มีการติดตามตรวจสอบที่เป็นรูปธรรม ตลอดจนพัฒนากลไกในการเฝ้าระวัง แจ้ง เตือน ป้องกัน
และแก้ไขปัญหา ทั้งที่มีอยู่ และอาจจะเกิดขึ้นใหม่ให้ชัดเจน มีประสิทธิภาพ โดยมีกระทรวงกลาโหม
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และศูนย์อำนวยการรักษาผลประโยชน์
ของชาติทางทะเล (ศรชล.) เปน็ เจา้ ภาพในภาพรวม

การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด มุ่งยึดแนวคิดการแก้ไขปัญหายาเสพติดตั้งแต่
ต้นน้ำ – กลางน้ำ – ปลายน้ำ ในการดำเนินการอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ (๑) ในพื้นท่ีแหลง่ ผลติ ภายนอก
ประเทศ ใช้การสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อกดดันและยุติบทบาทแหล่งผลิตภายนอกประเทศ
ด้วยการอาศัยงานการข่าว การปฏิบัติการข้อมูลข่าวสาร และการพัฒนาพื้นที่และชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชนตามแนวชายแดน รวมไปถึงการสกัดกั้นสารตั้งต้นเคมีภัณฑ์อุปกรณ์การผลิตและนักเคมีไม่ให้เขา้ สู่
แหล่งผลติ (๒) การสกัดก้ันนำเข้าส่งออกยาเสพติดท้งั ทางบก ทางเรอื และทางอากาศ โดยอาศยั เทคโนโลยี
เป็นเครื่องมือสนับสนุนการสกัดกั้นตามจุดตรวจ/จุดสกัดของเส้นทางคมนาคมและพื้นที่ตอนใน
(๓) การปราบปรามกลุ่มการคา้ ยาเสพติด โดยมุ่งเน้นการทำลายโครงสร้างการค้ายาเสพติด ผู้มีอทิ ธิพลและ
เจ้าหน้าที่รัฐที่ปล่อยปละละเลยทุจริต หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด การบูรณาการด้านการข่าว
การสืบสวนทางเทคโนโลยี การสืบสวนทางการเงินและสกุลเงินดิจิทลั รวมไปถึงการปราบปรามยาเสพตดิ ใน
แหล่งพักเก็บยาเสพติดภายในประเทศ (๔) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชนตามแนว
ชายแดน โดยใช้กลยทุ ธต์ ามแนวทางการพัฒนาทางเลือก เพื่อพัฒนาพื้นท่ีและประชาชนตามแนวชายแดนและ
พื้นท่ีพิเศษทมี่ ีปญั หายาเสพติด ด้วยการสลายโครงสรา้ งปญั หาและบูรณาการการแกไ้ ขปัญหาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การ
แก้ไขปญั หายาเสพติด อนั เป็นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนในพื้นทตี่ ามแนวพระราชดำริ หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยุทธศาสตร์แนวทางดำเนินงาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และศาสตร์พระราชา ซึ่งเปน็
กรอบการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ และลดปัญหาเชงิ โครงสร้างหรือปัญหาทเ่ี กีย่ วข้องกับยาเสพติด ตลอดจนสร้าง



การเป็นอาสาป้องกันการใช้ยาในทางที่ผิดในหมู่บ้านตามแนวชายแดน (๕) การป้องกันยาเสพติดในแต่ละ
กลุ่มเป้าหมายอย่างเหมาะสมเป็นรูปธรรม โดยการปลูกฝังค่านิยมและองค์ความรู้ที่เหมาะสมอันจะส่งผล
กระทบต่อความคิดและโน้มน้าวให้เกิดความเห็นที่คล้อยตามอย่างถูกต้อง (๖) การปรับระบบนิเวศ
ท่ีเหมาะสม โดยการเสริมสร้างปัจจัยที่เอ้ือตอ่ การไม่เข้าไปยุ่งเก่ยี วกับยาเสพตดิ ของแตล่ ะกลุ่มเป้าหมาย อาทิ
ครอบครัว โรงเรียน และชมุ ชน (๗) การดูแลผูใ้ ช้ ผเู้ สพ ผู้ตดิ ยาเสพติด ใหเ้ ขา้ ถึงการบำบดั รักษาและการลด
อันตรายหรอื ผลกระทบจากยาเสพติด โดยการคัดกรองประเมินวนิ ิจฉัยท่มี ีประสทิ ธิภาพ กำหนดแผนการดูแล
และให้การบำบดั รกั ษาทีเ่ หมาะสมมีมาตรฐาน พร้อมทัง้ ให้การติดตามช่วยเหลอื ฟื้นฟูสมรรถภาพที่ครอบคลุม
ทุกมิติ ตลอดจนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้สามารถอยู่ร่วมใน
สังคม ชมุ ชน ได้อย่างปกตสิ ขุ และเทา่ เทียม โดยมีเป้าหมาย คือ ปัญหาความม่ันคงท่ีมีอยู่ (ยาเสพตดิ ) ได้รับการ
แก้ไขจนไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารและพัฒนาประเทศ ตวั ชี้วัด คือ ระดบั ความสำเร็จของการแก้ไขปัญหา
ความมั่นคง (ยาเสพติด) ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ดีขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๕๐
และปี พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๘๐ ดีขึน้ อย่างต่อเนอื่ ง จนไม่สง่ ผลกระทบต่อการบริหารประเทศ

*************************



ส่วนท่ี ๑ แนวความคดิ ในการปฏบิ ัติ

ศูนย์ประสานการปฏบิ ัตทิ ่ี ๒ กอ.รมน กบั ภารกิจการแกไ้ ขปญั หายาเสพติด

บทบาทในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ กอ.รมน. (ศปป.๒ กอ.รมน.)
มีภารกิจในการบูรณาการ การวางแผน อำนวยการ ประสานการปฏิบัติกับส่วนราชการและภาคีเครือข่ายที่
เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามที่ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
มอบหมาย โดยเป็นหน่วยขึ้นตรงของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มีผู้อำนวยการ
ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.ศปป.๒ กอ.รมน.
อัตรา พลโท) เปน็ ผูบ้ ังคบั บัญชารับผิดชอบ มีหน้าทที่ ี่สำคญั ไดแ้ ก่

๑. ประสานการปฏิบัติและติดตามสถานการณ์ ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมท้ัง
วางแผน อำนวยการ บรู ณาการ ประสานงานร่วมกบั ผ้แู ทนสว่ นราชการ รัฐวสิ าหกจิ และภาคเอกชนทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ควบคมุ กำกบั ดูแล ตลอดจนเสนอแนะแก่ผบู้ ังคับบัญชาเก่ยี วกับการดำเนนิ การป้องกนั ควบคุม แกไ้ ขและฟื้นฟู
สถานการณท์ เ่ี ปน็ ภัยหรอื อาจเปน็ ภยั ด้านยาเสพตดิ

๒. จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ ด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด ติดตาม
ตรวจสอบสถานการณย์ าเสพตดิ ทำการวิเคราะห์ประเมินแนวโน้มและกำหนดแนวทางแกไ้ ข กำกับดูแล และ
ประสานการปฏิบัติกับส่วนราชการท้ังภาครัฐบาล และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานตามแผนท่ี
กำหนด สร้างเสริมใหป้ ระชาชนตระหนักรู้ในเรื่องพษิ ภัยและโทษทณั ฑ์ของยาเสพติด รวมถงึ การสนับสนุนและ
สง่ เสรมิ ให้ทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา โดยจะต้องรว่ มมือกันทกุ ภาคส่วนต้ังแต่ระดับ
ครอบครัวจนถึงสังคมโดยรวม



ส่วนงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ กอ.รมน.

เป็นหนว่ ยขน้ึ ตรงของ ศปป.๒ กอ.รมน. ประกอบดว้ ยส่วนงานสำคัญ คอื
๑. ส่วนบังคบั บญั ชา มีหนา้ ที่ อำนวยการ ควบคุม กำกับดแู ล การปฏิบัติงาน ให้เปน็ ไปตามอำนาจ

หนา้ ท่ีทีก่ ำหนด
๒. ฝ่ายติดตามสถานการณ์ มีหน้าที่ ติดตามตรวจสอบสถานการณ์ยาเสพติด ทำการวิเคราะห์

ประเมินแนวโนม้ และกำหนดแนวทางแกไ้ ข
๓. ฝ่ายแผนปฏิบตั ิการ มหี นา้ ที่ จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารรองรับ นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ด้านการป้องกัน

และแก้ไขปัญหายาเสพติด บูรณาการและให้ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนงานโครงการ และงบประมาณของ
ส่วนราชการต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง

๔. ฝ่ายประสานงานปฏิบัติการ มีหน้าที่ ประสานการปฏิบัติกับส่วนราชการทั้งภาครัฐบาล
และภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติงานตามแผนท่ีกำหนด สร้างเสริมให้ประชาชนตระหนักรู้
ในเร่ืองพิษภัยและโทษทัณฑ์ของยาเสพติด

แนวทางในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ของ สปส.ศปป.๒ กอ.รมน.

สปส.ศปป.๒ กอ.รมน. ยึดถือกรอบนโยบายของรฐั บาลที่แถลงตอ่ รัฐสภา เก่ยี วกับการปอ้ งกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติด และแนวทางที่ ผอ.ศปป.๒ กอ.รมน. มอบหมาย ในการบูรณาการการปฏิบัติ
การประสานงานและขบั เคลื่อนการแก้ไขปัญหาร่วมกับหน่วยภาคีเครือข่ายเป็นหลัก ทั้งนี้ นโยบายหลักของ
รฐั บาลทเ่ี ก่ยี วข้องกับยาเสพติดได้กล่าวไว้ในนโยบายด้านการสรา้ งความมนั่ คงและความปลอดภยั ของประเทศ
และความสงบสขุ ของประเทศ จำนวน ๒ แนวทางคือ

- แนวทางการสร้างความสงบและความปลอดภัยตั้งแต่ระดับชุมชน โดยกำหนดให้

หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งเฝ้าระวังดูแล และรักษาความสงบเรียบรอ้ ย ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน ความ
สงบสุขของประชาชนและปัญหายาเสพติดในระดับชุมชนและหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนให้
ประชาชนมสี ว่ นร่วมกบั ภาครฐั ในการสร้างความปลอดภยั ในพ้ืนท่ี

- แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังท้ังระบบ ด้วยการบังคับใช้กฎหมาย

อยา่ งเครง่ ครดั ปราบปรามแหลง่ ผลิตและเครือข่ายผูค้ า้ ยาเสพตดิ โดยเฉพาะผมู้ ีอิทธิพล และเจ้าหน้าทขี่ องรัฐท่ี
เกยี่ วข้องอย่างเด็ดขาด ปอ้ งกนั เสน้ ทางการนำเข้าออกโดยร่วมมอื กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น การลดจำนวนผ้คู ้าและ
ผู้เสพรายใหม่ และให้ความรู้เยาวชนถึงภัยยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งฟื้นฟู ดูแล รักษาผู้เสพ
ผา่ นกระบวนการทางสาธารณสขุ



สำหรบั การดำเนนิ การหลกั ของ สปส.ศปป.๒ กอ.รมน. ทสี่ ำคญั ประกอบดว้ ย ๒ งานหลกั
๑. งานตามแผนงาน/โครงการ
ดำเนินงานตามแผนงานการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ หมู่บ้าน/ชุมชนตามแนวชายแดน
ครอบคลุมพ้ืนที่ชายแดนและพน้ื ท่ีความมนั่ คง จำนวน ๑,๑๔๐ หมู่บา้ น/ชุมชน ใน ๒๘ จังหวดั ชายแดน ๑๐๙
อำเภอ ๒๓๒ ตำบล โดยจัดชุดปฏบิ ตั ิการพัฒนาสมั พันธ์มวลชน (ชพส.), ชดุ วทิ ยากรกระบวนการสรา้ งเครือข่าย
ผู้นำชุมชนเขม้ แขง็ (ชบข.), ชดุ วิทยากรกองทุนแม่ของแผ่นดนิ (ชวกม.) เขา้ ดำเนนิ การสร้างความเขม้ แข็ง และ
รณรงค์ปฏิบัติการจิตวิทยา/ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างมวลชนตามแนวชายแดน ตลอดจนสนับสนุนงาน
ด้านการข่าว ให้กับกองกำลังป้องกันชายแดน และหน่วยงานความมัน่ คงที่เกี่ยวข้อง งานการบูรณาการงาน
ด้านยาเสพติด
๒. งานบรู ณาการงานดา้ นยาเสพติด
บูรณาการการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในภาพรวม
รวมท้ังการบูรณาการ อำนวยการ และประสานการปฏบิ ัติ ในการแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในพ้นื ที่พเิ ศษ ซง่ึ มีปัญหา
ความมนั่ คงด้านยาเสพติดอย่างรุนแรง (เช่น พืน้ ทช่ี ายแดนภาคเหนือ พน้ื ทชี่ ายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๗ พื้นที่พิเศษภาคเหนือ และพื้นท่ี อำเภออมก๋อย เป็นต้น) โดยการบูรณาการ
แผนงาน/โครงการ และการปฏิบัติของหน่วยตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ความประสานสอดคลอ้ ง

งานตามแผนงาน/โครงการ

สปส.ศปป.๒ กอ.รมน. ได้จัดทำแผนงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย
โครงการ ๔ โครงการ มุ่งเน้นการสร้างพลงั สังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด ด้วยการจัดตั้งหมู่บ้าน/
ชมุ ชนเขม้ แขง็ ไดแ้ ก่

๑. โครงการ จัดต้ังหม่บู า้ น/ชมุ ชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพตดิ
๒. โครงการ สรา้ งเครอื ข่ายผ้นู ำหมบู่ า้ น/ชุมชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพติด
๓. โครงการ รณรงคท์ างปฏิบัติการจติ วทิ ยา/การประชาสมั พันธ์ เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด
๔. โครงการ อำนวยการและบรหิ ารงาน เพื่อแก้ไขปญั หายาเสพตดิ
โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ดังน้ี
๑. เพื่อเสริมสร้างความเขม้ แข็งให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนในพื้นที่รับผดิ ชอบของ กอ.รมน. ให้มีความ
เข้มแข็งเพยี งพอสำหรบั การปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ของชมุ ชนได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ



๒. เพื่อพฒั นาศกั ยภาพคนและจัดต้ังแกนนำหมบู่ า้ น/ชุมชนในระดับหมูบ่ า้ นและระดับตำบล
๓. เพอ่ื พฒั นาและจดั ตัง้ ระบบการเฝา้ ระวงั หม่บู า้ น/ชุมชน ปอ้ งกนั ภัยคกุ คามรูปแบบใหม่
๔. เพ่อื จดั ตง้ั ศูนย์การเรียนรชู้ มุ ชนเขม้ แขง็ อย่างยงั่ ยืน
๕. เพอื่ พฒั นาหมูบ่ า้ นเป้าหมายใหส้ ามารถเข้ารบั เงนิ พระราชทานกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ

ทั้งนี้การดำเนินงานตามเป้าประสงค์หลักของแผนงาน/โครงการในการป้องกนั และแก้ไขปัญหายา
เสพติด มงุ่ เนน้ งานด้านการสร้างมวลชนเปน็ หลัก เน้นมาตรการในระบบปอ้ งกัน กำหนดกจิ กรรมยอ่ ยตา่ งๆ ท่ี
ตอบสนองและครอบคลุม งานตามแนวนโยบายหรือแผนงานการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาล โดยมี
กจิ กรรมทดี่ ำเนินการครบทง้ั ๓ มิติ ของงานด้านยาเสพตดิ คอื

๑. มิตดิ า้ นการปอ้ งกนั กิจกรรมท่ดี ำเนนิ การ ประกอบด้วย
- การฝกึ อบรมหลกั สตู รราษฎรอาสาปอ้ งกันภยั ยาเสพติด (รสปส.)
- การฝึกอบรมพฒั นาศกั ยภาพผ้นู ำหมบู่ า้ น/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพตดิ
- การฝึกอบรมเยาวชนทางสายใหม่
- การปฏบิ ัติการจติ วิทยา และประชาสัมพนั ธ์
- การเปดิ เวทปี ระชาคม/ประชมุ แบบมีส่วนร่วม

๒. มิติด้านการปราบปราม กิจกรรมทีด่ ำเนินการ ประกอบดว้ ย
- กิจกรรมของกองทุนเฝ้าระวังภัยยาเสพติด ในการมีส่วนร่วมของ รสปส. ในการ

ลาดตระเวน/เฝา้ ตรวจร่วมกับเจ้าหนา้ ท่ี
- บทบาทของ รสปส.ในการสนับสนุนงานดา้ นการข่าว นำไปสกู่ ารสกัดกนั้ /จับกุมผู้เกี่ยวข้อง

ภัยยาเสพตดิ
๓. มิติด้านการบำบัดรกั ษา/ฟน้ื ฟู กจิ กรรมท่ีดำเนนิ การ ประกอบดว้ ย
- กิจกรรมเยาวชนอุ่นใจไดล้ ูกหลานกลับคืน เพือ่ ลดอบายมุขในชุมชน
- กิจกรรมการคัดกรองด้วยสันติวิธี ของหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินเพื่อนำเข้าสู่การ

บำบัดรักษาโดยชุมชนเอง

เป้าหมายและตัวชว้ี ดั ตามแผนงานโครงการ

- สร้างสภาพแวดล้อมและการมีส่วนร่วมป้องกันยาเสพติดให้กับชุมชนเป้าหมาย ให้บรรลุ
เป้าหมายและตัวชี้วัด คือ ปัญหายาเสพติดลดลง ร้อยละ ๕๐ (จากหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีปัญหายาเสพตดิ ระดับ
รนุ แรงและระดับปานกลางในพืน้ ท่ีรับผิดชอบของ ศปป.๒ กอ.รมน. จำนวน ๑,๑๔๐ หม่บู า้ น)



ส่วนท่ี ๒ โครงสร้างและบทบาทหนา้ ที่ของชดุ ปฏบิ ัติการ

ชุดปฏบิ ตั ิการตามแผนงาน/โครงการ ประกอบดว้ ย

๑. โครงการจัดตง้ั หมู่บา้ น/ชุมชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพติด ดำเนินการโดย
๑.๑ ชดุ พัฒนาสมั พนั ธม์ วลชน (ชพส.)
๑.๒ ชดุ วิทยากรกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ (ชวกม.)

๒. โครงการสร้างเครือข่ายผ้นู ำหมบู่ ้าน/ชุมชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพตดิ ดำเนนิ การโดย
ชุดวิทยากรกระบวนการสร้างเครือขา่ ยผนู้ ำหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแขง็ (ชบข.)

หนา้ ทขี่ องชดุ ปฏิบตั ิการ

๑. ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.) รับผิดชอบ การฝึกอบรม/จัดตั้งราษฎรอาสาป้องกันภัย
ยาเสพตดิ , จัดตั้งระบบการเฝ้าระวังหมู่บ้าน/ชุมชน, สนับสนนุ กิจกรรมเยาวชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน, สร้างแกน
นำมวลชนระดบั หมู่บ้าน และขับเคล่ือน/กำกบั การดำเนนิ การตาม ๑๐ ข้นั ตอน กองทนุ แม่ของแผ่นดิน

๒. ชุดวิทยากรกระบวนการสร้างเครือข่ายผู้นำชุมชนเข้มแข็ง (ชบข.) รับผิดชอบ การสร้าง
เครอื ข่ายแกนนำหมู่บา้ น/ชุมชน ระดบั ตำบล/ระดับอำเภอ, การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ เยาวชนกลมุ่ เส่ยี ง,
การจัดตัง้ ชมรมและเครอื ข่ายเยาวชน พร้อมท้ังการปฏิบตั ิการจิตวิทยาและประชาสัมพนั ธ์ รวมถึงการปฏิบัตกิ าร
ขา่ วสาร

๓. ชดุ วทิ ยากรกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ (ชวกม.) รับผดิ ชอบเป็นวทิ ยากรชดุ พี่เลี้ยง สนับสนุนการ
ขับเคลื่อนกิจกรรมของกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยการให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตามแนวทางพระราชดำริ และพัฒนาศักยภาพผู้นำชุมชน เพื่อการจัดตั้งหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน
พรอ้ มทั้งร่วมกับชุดพฒั นาสมั พันธม์ วลชน (ชพส.), ชุดวิทยากรกระบวนการสร้างเครือข่ายผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน
เขม้ แข็ง (ชบข.) ในการขบั เคลอ่ื นกองทนุ แม่ของแผ่นดิน

ความประสานสอดคล้องในการปฏิบัติการของแตล่ ะชดุ ปฏิบัติงาน

ชดุ พฒั นาสัมพนั ธม์ วลชน (ชพส.)
- เตรยี มชมุ ชน/ต้องรู้ขอ้ มลู ทกุ เรอ่ื งในหมู่บา้ น/ชุมชน (จดั ทำ IPBN)



- ฝึก รสปส./จดั ตง้ั มวลชน/แกนนำ/แหลง่ ข่าว
- นำผู้เสพ/กลุม่ เสยี่ งบำบดั ในข้นั ต้น
- แนะนำการดำเนินการตาม ๑๐ ขนั้ ตอนของกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ
- ประเมิน/กำกับการขบั เคลอ่ื นกิจกรรมต่างๆของหมูบ่ ้าน/ชุมชน

ชดุ วิทยากรกระบวนการสร้างเครือข่ายผนู้ ำหมู่บ้าน/ชุมชนเขม้ แขง็ (ชบข.)
- ประสานขอ้ มูลจาก ชพส.
- จัดตั้งเครือข่ายผูน้ ำระดบั ตำบล, อำเภอ
- จัดตัง้ เครือขา่ ยเยาวชนระดบั ตำบล, อำเภอ
- เปน็ พเ่ี ลีย้ งใหเ้ ครอื ขา่ ยขับเคล่อื นกิจกรรมต่าง ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

ชุดวทิ ยากรกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ (ชวกม.)
- ประสานข้อมลู จาก ชพส., ขบข.
- ส่งเสริมใหเ้ ปน็ กองทุนแม่ของแผน่ ดนิ
- สนับสนนุ ใหม้ ีการขับเคล่ือนกิจกรรม ในหมบู่ า้ นกองทนุ แม่ของแผน่ ดิน

ผลลพั ธส์ ุดท้าย (Outcome) ของการดำเนนิ การทกุ โครงการดังกล่าว มีเปา้ หมายหลักเดยี วกนั คือ

๑. ผู้นำหมู่บ้าน/ชมุ ชน (ทั้งผู้ใหญ่และเยาวชน) มีความเข้มแข็ง มีจิตสำนึก มีความรู้ความเข้าใจ
ในขั้นตอนและวิธีการแก้ไขปัญหายาเสพติดในทุกระบบ สามารถเป็นผู้นำที่ขับเคลื่อนกจิ กรรมต่างๆ ได้อย่าง
ต่อเนื่อง โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคนในหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถรวมพลังภาคประชาชน เข้า
มาร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ในการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดได้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม ซึ่งเป็นไปตาม
ยทุ ธศาสตร์พระราชทาน ตาม "โครงการหม่บู า้ นกองทนุ แม่ของแผ่นดิน"

๒. หมูบ่ ้าน/ชมุ ชน สามารถปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดดว้ ยชุมชนเองอยา่ งสนั ติวิธแี ละมีความ
ย่ังยนื ก่อใหเ้ กิดเปน็ หมบู่ า้ น/ชุมชนที่มีความเขม้ แข็ง ปลอดภยั จากปญั หายาเสพติด

๓. การสนับสนุนงานด้านการข่าวของมวลชนที่ผ่านการฝึกอบรม นำไปสู่การสกัดกั้น/จับกุม
ผกู้ ระทำความผิดคดียาเสพตดิ



ส่วนท่ี ๓ แนวทาง/ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน

ชุดปฏิบัติการ ได้แก่ ชพส., ชบข. และ ชวกม. มีหน้าที่หลกั ในการขบั เคลือ่ นกิจกรรมตามแผนงาน/
โครงการ ให้บรรลุเป้าหมาย คือ การจดั ตัง้ หม่บู า้ นชุมชน/เขม้ แข็ง การจัดฝึกอบรมให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ
และตระหนักถงึ เภทภยั ของยาเสพตดิ ทำให้ชาวบา้ นในชุมชนมคี วามเข้มแข็งเกดิ ความคิดดูแลและพ่ึงพาตัวเอง
ทำใหเ้ กดิ การมีส่วนรว่ มในการแก้ปญั หายาเสพตดิ ป้องกันตนใหพ้ น้ จากภัยของยาเสพติดได้อย่างยงั่ ยืน ทงั้ นี้ใน
การดำเนินงานในแตล่ ะขั้นตอนนน้ั มคี วามแตกตา่ งกันไปในรายละเอียด ในขณะเดยี วกันจะมีงานทที่ ุกชดุ จะตอ้ ง
ปฏิบัตใิ ห้ประสานสอดคล้องกนั ดงั ต่อไปน้ี:-

แนวทางการสรา้ งหม่บู า้ น/ชมุ ชนใหเ้ ข้มแข็งอยา่ งย่ังยืน

การดำเนนิ การ แบ่งออกเป็น ๔ ขน้ั ตอน คอื ขน้ั การเตรียมชุมชน, ข้ันการแกไ้ ขปญั หาของชุมชนโดย
สนั ติวธิ ี, ข้ันการพฒั นาเสรมิ สรา้ งความม่ันคง และ ขน้ั การตดิ ตามประเมนิ ผล

๑. ข้ันการเตรียมชุมชน เป็นการวิเคราะหแ์ ละเตรียมพ้นื ทป่ี ฏบิ ตั ิการดา้ นยาเสพตดิ (ผลลัพธท์ ี่ตอ้ งการ
คือ วกิ ฤตปัญหาของชมุ ชน)

๑.๑ กำหนดพื้นที่เป้าหมาย : กอ.รมน.ภาค สย. และ ชุดปฏิบัติการ มีส่วนร่วมกันกำหนดพื้นที่
เป้าหมายโดยการวเิ คราะห์สภาพหมู่บ้าน/ชมุ ชน ซึง่ เป็นหมบู่ า้ นในตำบลชายแดน และมีความเสย่ี งหรอื มขี อ้ มลู
เกี่ยวกับยาเสพติดและความมั่นคง กำหนดเป็นหมู่บ้าน/ชุมชนเป้าหมายให้ ชพส. เข้าดำเนินการ ทั้งนี้ต้องให้
สอดคล้องกบั นโยบายดา้ นความมัน่ คงและแผนงานการปอ้ งกนั ประเทศ

๑.๒ สำรวจขอ้ มลู /สืบสภาพ
๑) รายงานตัวและประสานงานกับส่วนราชการต่างๆในพื้นที่ : ชพส. เข้ารายงานตัวต่อ

นายอำเภอ และทุกภาคส่วนราชการในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อแจ้งให้ทราบถึงบทบาทภารกิจ ระยะเวลา
ปฏิบัติงาน และยังเป็นการสอบถามรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน ตัวเลขสถิติ และสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน
พนื้ ท่ีเปา้ หมาย

๒) พบปะผู้นำท้องถิน่ และผู้นำหมู่บา้ น : การพบปะกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตั้งแต่อดีตถึงปัจจบุ นั
เพื่อสร้างความเข้าใจถึงภารกิจของ ชพส. แสวงหาความร่วมมือในการปฏิบัติงาน สอบถามถึงวิถีชีวิตความ
เป็นอยูข่ องราษฎร ปญั หาอุปสรรค ความต้องการของหมบู่ ้าน/ชมุ ชน ข้อเสนอแนะเพือ่ การแกไ้ ขปญั หา

๓) เปิดการประชมุ แบบมสี ่วนร่วม : เข้าร่วมการประชุมของประชาชนในหมู่บ้าน ในโอกาส
ต่าง ๆ ขอวาระในการพูดคุยชี้แจง พบปะกับผู้นำชุมชนและคณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อแจ้งข่าวสารทาง
ราชการดา้ นความมนั่ คง พร้อมทัง้ แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น

๑๐

๔) การประชุมเวทีชาวบ้าน ค้นหาวิกฤตหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อจัดตั้งแกนนำหมู่บ้าน/ชุมชน,
รบั ทราบสภาพปัญหาและจัดลำดับความสำคัญเร่งด่วนของปัญหาในหมู่บ้าน/ชมุ ชน เปดิ โอกาสให้แสดงความ
คดิ เหน็ อย่างกว้างขวาง ซ่ึงปัญหาวิกฤตหมบู่ ้าน/ชมุ ชนในหมบู่ ้านตามแนวชายแดน จะมคี วามคลา้ ยคลึงกัน คือ
ปัญหาหนส้ี นิ ความยากจน ยาเสพตดิ การทำลายทรพั ยากรน้ำและปา่ ไม้ แรงงานต่างด้าว เป็นตน้

๒. ขัน้ การแก้ไขปญั หาของชมุ ชนโดยสนั ตวิ ธิ ี (ผลลพั ธท์ ่ตี อ้ งการ คอื แผนของชุมชน)
๒.๑ การนำเสนอวกิ ฤตปญั หาเขา้ สูแ่ นวทางแก้ไขปญั หา
๑) นำวกิ ฤตปัญหาของหมู่บ้านชุมชน อุปสรรคปญั หา สงิ่ ท่คี ้างคาใจของราษฎร เข้าสู่เวทีการ

ประชุม เรียงลำดับความสำคัญของปัญหา และผลักดันให้ราษฎรในหมู่บ้านร่วมกันระดมความคิดหาแนว
ทางการแก้ไขโดยสนั ตวิ ิธี คอื การไมใ่ ช้กฎหมายมาบงั คบั ใชเ้ พอ่ื เอาผิด ไม่มุ่งเนน้ กลา่ วหาว่าใครหรือหน่วยงาน
ใดคอื ผกู้ ่อปัญหา แตจ่ ะใชก้ ระบวนการทางสงั คม

๒) จัดให้มีการประชุมเพ่ือให้คณะกรรมการหมูบ่ ้าน และให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการพิจารณา
ตง้ั กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของหมู่บ้านให้สอดคล้องกับแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือใหป้ ฏิบัตติ ามกฎหมู่บ้านท่ี
มีอยู่เดิมอยา่ งเคร่งครัด ใช้กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับหมู่บ้านชมุ ชน ทั้งนี้การกำหนดวันเวลา
ประชุม จะต้องมผี ลกระทบต่อการประกอบอาชพี ของราษฎรใหน้ อ้ ยท่ีสุด

๒.๒ การบูรณาการแก้ไขปญั หาและการจดั ทำแผน
๑) นำปัญหาที่ได้จากการประชุม มาสรุปและประสานหน่วยงานราชการ และองค์กรในพืน้ ท่ี

เข้าร่วมการประชุมเพื่อรับฟังปัญหา และชี้แจงในส่วนงานที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้ราษฎรในหมู่บ้านนำเสนอ
แนวทางวธิ กี ารแก้ไขปัญหาในหมบู่ า้ นชุมชนของตนเอง

๒) ให้ราษฎรในหมู่บ้านร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาหมู่บ้านของตนเอง และทดลอง
ขับเคลื่อนกจิ กรรมตามแผนฯ เท่าที่ทำได้ โดย ชพส. เป็นผู้สังเกตการณ์ เป็นที่ปรกึ ษา และช่วยประสานงาน
ส่วนราชการ บูรณการการแผนงานร่วมกบั ศป.ปส. อำเภอ สถานตี ำรวจภธู ร และองคก์ ารปกครองสว่ นท้องถิน่
ในพ้นื ท่ี

๓. ขั้นการพฒั นาเสริมสรา้ งความม่ันคง (ผลลัพธท์ ตี่ ้องการ คือ การจัดต้งั หม่บู า้ น/ชุมชนเขม้ แขง็ )
โดยดำเนินการดงั น้ี.-

๓.๑ การปฏบิ ัตกิ ารจติ วทิ ยา และประชาสมั พันธ์ :
๑) ใช้สื่อวงกว้าง เช่น การใช้เสียงตามสาย อ่านบทความให้ความรู้ทางสถานีวิทยุ

ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวของหมู่บ้าน เปน็ ประจำสปั ดาห์ละ 2 ครงั้ , แจกใบปลิวตามบ้าน ติดป้ายไว
นิลบรเิ วณทางแยก ปากทางเข้าหมู่บ้าน โรงเรียน วัด หรือสถานทส่ี าธารณะ และขอสนับสนนุ ส่ือรณรงคต์ อ่ ตา้ น
ยาเสพตดิ จากหนว่ ยเหนือ หรอื หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

๑๑

๒) ใช้สื่อบุคคล เช่น การเข้าพบปะกับผู้มีพฤติกรรมเป็นผู้ค้า,ผู้เสพ หรือผู้สนับสนุน เพื่อหา
แนวทางหยดุ ยง้ั พฤติการณ์, การเยย่ี มเยยี นชาวบ้านลงพ้นื ท่ีในครัวเรอื นเพ่อื รับรู้สภาพปัญหาโดยตรง และการ
ใชม้ าตรการป้องปราม โดยต่อเน่อื ง เช่น การออกลาดตระเวนกดดนั กลมุ่ ทีม่ ีพฤติกรรมกระทำผดิ กฎหมาย

๓) การทำพนั ธะสัญญา เช่น การทำสัญญาประชาคมกันวา่ หากบา้ นใดกระทำผดิ กฎข้อบังคับ
ของหมู่บ้าน ปล่อยให้มีการเสพยาเสพตดิ หรือค้ายาเสพติด หรือการกระทำผิดกรณอี ่ืน ๆ ถึงแม้ไม่มีหลักฐาน
ดำเนินคดี ก็จะยินยอมให้ดำเนนิ การตามกฎของหมูบ่ ้าน หรือไม่ให้ได้รบั สิทธิบางประการที่เป็นส่วนร่วมของ
ชุมชน

๓.๑ การจัดตัง้ กองทนุ แกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ
๓.๒ การฝกึ อบรมราษฎรอาสาปอ้ งกันยาเสพตดิ (รสปส.)
๓.๓ การฝึกอบรมเยาวชนไทยใจเขม้ แข็ง ไม่พงึ่ พายาเสพตดิ
๓.๔ การฝึกอบรมพฒั นาศักยภาพแกนนำหมู่บ้าน/ชมุ ชน เพือ่ การจัดต้งั หมบู่ ้านกองทุนแม่
ของแผ่นดนิ
๓.๖ การจัดตง้ั ศนู ย์การเรยี นรู้กองทนุ แมข่ องแผ่นดิน
๓.๕ การจัดตัง้ ศูนย์การเรยี นรูแ้ ก้ไขปญั หายาเสพตดิ และเศรษฐกิจพอเพียง
๓.๖ การพัฒนาชุมชนอย่างย่งั ยืน

๑) สำรวจความต้องการที่ขาดแคลนของกลุ่มผู้ที่ด้อยโอกาสทางสังคม ทั้งเรื่อง
การศึกษา สุขภาพอนามัย การประกอบอาชพี

๒) พฒั นาปัจจัยพน้ื ฐานทย่ี ังขาดแคลนของหมู่บ้านชุมชน เชน่ โครงการทำฝายกั้นน้ำ
ขนาดเล็ก โครงการทำแนวกนั ไฟปา่ โครงการปลูกป่า การจัดต้งั กฎระเบยี บชมุ ชนรักษาป่า

๓) แก้ไขปญั หาความยากจนของราษฎร ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี งจัดตัง้ กลุ่มอาชพี ตาม
ความสมคั รใจ เชน่ การเลีย้ งสัตว์ การผลิตป๋ยุ ชีวภาพ โครงการผักสวนครัว การประมง ในครวั เรอื นขนาดเล็ก

๔) บรู ณาการ การสรา้ งเครือข่าย การขับเคลื่อนและใชพ้ ลงั มวลชนทกุ กลมุ่ ในภารกิจ
และงานของ กอ.รมน. โดยการจัดงานรวมพลังมวลชน

๕) ส่งเสริมให้ประชาชนนอ้ มนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางพระราชดำริ
ปรบั ใช้อยา่ งเป็นรูปธรรม

๖) ปลูกฝงั อดุ มการณ์ความรกั ชาติ และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๗) ดำเนนิ การงานดา้ นการขา่ วเพ่ือความม่นั คงในภยั คกุ คามทุกรูปแบบ
๘) สง่ เสรมิ และผลกั ดันให้เกิดจิตสำนกึ และเกิดจติ สาธารณะในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากร
ธรรม ชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

๔. ขั้นการติดตามประเมนิ ผล (ผลลัพธ์ท่ตี อ้ งการ คอื ลดระดบั ความรุนแรงของปัญหา, สร้างความ
พึงพอใจใหแ้ กป่ ระชาชนในพื้นท่ี และใหค้ วามร่วมมือและมสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหามากขนึ้ )

๔.๑ การตดิ ตามโดย ชุดปฏิบัตงิ าน

๑๒

๑) ชุดพัฒนาสัมพนั ธม์ วลชน (ชพส.) : ออกพบปะเยยี่ มเยียนการเขา้ เวร-ยาม การตงั้ จดุ ตรวจ
ของ รสปส. และพบปะพูดคุยกับราษฎร เพื่อสำรวจทัศนคติของราษฎรในพื้นท่ีเป้าหมายพร้อมทั้งประเมิน
ความสำเร็จของการจัดตัง้ หมูบ่ ้าน/ชุมชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพตดิ ตามแบบประเมนิ ผลทก่ี ำหนด

๒) ชุดวิทยากรกองทุนแม่ของแผ่นดิน (ชวกม.) : ออกพบปะเยี่ยมเยียนการขับเคล่ือนและการ
จัดตัง้ กองทุนแม่ของแผน่ ดิน และพบปะพดู คุยกบั ผู้นำชมุ ชน/แกนนำชมุ ชน เพือ่ สำรวจทศั นคติและความคิดเห็น
เกีย่ วกบั การดำเนนิ การของกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ในพ้นื ท่ีเป้าหมาย

๔.๒ การติดตามโดย กอ.รมน.ภาค / กอ.รมน.ภาค สย.
๑) ชพส. รายงานผลการปฏิบัติงานประจำวันให้แก่ กอ.รมน.ภาค สย. ทราบทกุ วัน จัดทำสรุป

รายงานประจำสัปดาห์ และประจำเดือน ตามแบบฟอร์มการรายงานทีก่ ำหนด
๒) รับการตรวจเยี่ยมจากผู้บังคบั บญั ชา และบรรยายสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ในรอบทุก

๑ เดือน, ๓ เดือน และ ๖ เดือน เปน็ ประจำ
๔.๓ การติดตามระดับนโยบาย
๑) ศปป.๒ กอ.รมน. จัดตั้งคณะตรวจตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของชดุ ปฏิบัติการ

และติดตามผลความพึงพอใจของประชาชนในพื้นท่ีรับผิดชอบของ กอ.รมน.ภาค, กอ.รมน.ภาค สย. และชุด
ปฏบิ ตั ิการ

๒) คณะอนุกรรมการกำกับติดตามผลการดำเนินงานป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด
เดนิ ทางมาตรวจติดตามผลการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ รวมท้งั ผลการปฏบิ ัตงิ านของ ชุดปฏิบัติการ

๔.๔ การควบคุมและรายงาน ให้ กอ.รมน.ภาค สย. รายงานผลการปฏบิ ตั ิเมอ่ื จบภารกิจในแต่ละ
ครัง้ และรายงานตามวงรอบระยะเวลา ๑ เดอื น, ๓ เดอื น, ๖ เดือน , ๙ เดือนและ ๑๒ เดอื น

๔.๕ การประกาศความเป็นหมู่บ้าน/ชุมชน ที่ไดด้ ำเนินการจัดตัง้ เปน็ หมู่บา้ น/ชุมชนเข้มแข็งแลว้
ให้กับผู้นำชุมชนและหน่วยงานภาครัฐ ได้รับทราบ อาทิเช่น ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
และอำเภอ เป็นตน้ โดยมีหลักเกณฑ์ ๓ ประการ คอื การเปน็ กองทุนแมข่ องแผน่ ดิน, การมรี ะบบการเฝ้าระวัง
และการมีกระบวนการบำบดั รักษา โดยการจัดตงั้ และจดั ประเภทหมบู่ ้าน/ชุมชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพติดมี ๔
ประเภท ดังน้ี.-

๑) จัดตั้งหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพตดิ ประเภทที่ ๑ (จะตอ้ งมคี รบทกุ
เกณฑ์ คือ ตอ้ ง เป็ นกอง ทุนแม่ของ แผ่นดิน , ตอ้ ง มีกระบวน ก า ร
บาบัดรกั ษาผเู ้ สพผตู ้ ดิ ยาเสพ และยังมรี ะบบการเฝ้าระวงั )

๒) จดั ตง้ั หม่บู า้ น/ชมุ ชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพติดประเภทท่ี ๒ (จะตอ้ งเขา้ เกณฑ์
อย่างนอ้ ย 2 ใน 3 คือเป็ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน และมีกระบวนการ
บาบัดรักษา, หรือเป็ นกองทุนแม่ของแผ่นดนิ และมรี ะบบการเฝ้ าระวัง,
หรอื มกี ระบวนการบาบัดรักษาและมรี ะบบเฝ้ าระวัง แต่ยังไม่เป็ นหมู่บา้ น
กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ )

๑๓

๓) จดั ตั้งหมู่บ้าน/ชมุ ชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดประเภทท่ี ๓ (จะตอ้ งเขา้ เกณฑ์
อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ เป็ นหมู่บา้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน , หรือมี
กระบวนการบาบัดรกั ษาผเู ้ สพผตู ้ ดิ ยาเสพตดิ หรอื มรี ะบบเฝ้าระวงั )

๔) จัดต้ังหมูบ่ า้ น/ชุมชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพติดประเภทที่ ๔ (เปน็ หมู่บ้านเป้าหมาย แตย่ ัง
ไม่เขา้ เกณฑ์ ประเภทที่ ๑, ๒ และ๓)

แนวทางการจัดต้ังกองทุนแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ

การจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายเสพติด ประจำหมู่บ้าน/ชุมชนๆ ละ ๑ กองทุน โดยมีวงเงิน
งบประมาณ ท่ีเหมาะสม ๑ กองทนุ /หมบู่ ้านเป้าหมาย และพัฒนากองทนุ ใหเ้ กิดความย่งั ยนื พร้อมที่จะพฒั นา
ไปสู่กองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยให้ ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.), ชุดวิทยากรกองทุนแม่ของแผ่นดิน
(ชวกม.) เป็นหนว่ ยดำเนนิ การร่วมกับ กอ.รมน.ภาค สย. ในการสนบั สนุนการจัดตัง้ กองทุนในเบ้ืองต้น และใช้
แนวทางและหลักการ ดังนี้

๑. ความรู้ด้านกองทนุ : การเสริมสร้างความรู้ให้ราษฎรตระหนกั ถึงประโยชน์และความจำเปน็
ของการจัดตั้งกองทุนฯ ขอความเห็นจากที่ประชุมหมู่บ้านในการจัดตั้งกองทุนและประวัติความเป็นมาของ
กองทนุ แม่ของแผ่นดิน พรอ้ มทั้งกฎระเบียบของกองทนุ เฝา้ ระวงั

๒. การระดมทุน: ใหเ้ กดิ จากพลังศรัทธา การเสยี สละ และขอความร่วมมอื จากราษฎรในการรว่ ม
บริจาคสมทบทุน ตามแต่กำลังความสามารถ หรือตามมติระดมทุนโดยวิธีการอื่น ๆ รวมถึงหน่วยงานทุกภาค
สว่ นทีเ่ ก่ียวข้อง ท้ังภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาชนใหเ้ ขา้ มามีส่วนรว่ ม อาทิ เชน่ กอ.รมน.ภาค, กอ.รมน.
ภาค สย., ป.ป.ส.ภาค, องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และชุด ชพส. เปน็ ต้น

๓. กลไกในการบรหิ ารกองทุน: เลือกต้ังคณะกรรมการกองทนุ ฯประจำหมู่บ้านดำเนินการบริหาร
เพ่อื ใหเ้ กิดความโปรง่ ใส ยุตธิ รรม มอี งค์ประกอบ คอื ประธาน, รองประธาน, เหรัญญิก, ประชาสัมพนั ธ์ และให้
มีคณะกรรมการอยา่ งน้อยอกี ๔ ครัวเรือน/หมู่บา้ น/กองทุน

๔. แผนการดำเนินงานกองทุน:
- มีคณะกรรมการกองทนุ ฯ โดยมผี ใู้ หญ่บา้ น เปน็ ประธานกองทุนฯ บรหิ ารงานกองทนุ ฯ ตาม

กรอบวัตถปุ ระสงคก์ ารจัดตั้งกองทุนฯและตามระเบยี บการฯ ท่ีได้กำหนดไว้
- การใช้จ่ายเงินกองทุนฯ ในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา

ยาเสพตดิ ในชมุ ชน เชน่ การแขง่ ขนั กฬี าตา้ นยาเสพติด การเข้าเวรยาม/ตงั้ ดา่ นตรวจ/จุดสกดั
- กำหนดแผนการพฒั นากองทุนให้เขม้ แขง็ สามารถไปสนับสนุนกองทนุ ยาเสพติด เพื่อพัฒนา

ไปสู่การเสนอเปน็ กองทุนแม่ของแผ่นดินต่อไป (ถา้ ยงั ไมเ่ ปน็ หมูบ่ า้ นกองทุนแมฯ่ )

ข้ันตอนการประชุมแบบมสี ่วนรว่ ม

๑๔

ดำเนินการวางแผนตั้งแต่ขั้นการเตรียมชุมชน สืบสภาพ เก็บข้อมูลทีจ่ ำเป็นของหมูบ่ ้าน/ชุมชน เพ่ือ
นำมาวิเคราะหจ์ ุดออ่ น/จุดแข็งของ หมู่บา้ น/ชมุ ชน เพอื่ นำไปสกู่ ารประชมุ แบบมีส่วนร่วม โดยให้ชุมชนมีส่วน
ร่วมในการแกไ้ ขปญั หาโดยสันตวิ ธิ ี ดำเนนิ การจำนวน ๒ ครั้ง/หม่บู า้ น

๑. กระบวนการจดั ต้ัง/การระดมคน :
ชุด ชพส. เข้าพบปะกบั ราษฎร เพื่อปฏบิ ตั กิ ารจิตวทิ ยา ประชาสมั พนั ธ์ ใหร้ าษฎร เขา้ รว่ มกิจกรรม

การประชมุ แบบมีสว่ นร่วม อยา่ งนอ้ ย ๗๐ % ของจำนวนครวั เรอื นในหมู่บา้ นนน้ั
๒. การดำเนนิ การจดั การประชุมแบบมสี ่วนร่วม : (รายละเอียดตามผนวก ค)
เชญิ สว่ นราชการที่อยู่ในพนื้ ทีเ่ ข้าร่วมรับทราบปญั หาความเดอื นรอ้ นของหมบู่ ้าน/ชมุ ชน และ

ร่วมกนั แกไ้ ขปญั หาของหม่บู ้าน/ชมุ ชน
๑. จัดทำแผนการพฒั นาหมู่บ้าน/ชมุ ชน
คณะกรรมการหมบู่ ้านจัดทำแผนให้สอดคล้องกบั ปัญหาของหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน พรอ้ มประสานการ

จดั ทำโครงการฯ ให้สอดคลอ้ งกบั งบประมาณท่ไี ดร้ บั
๒. การตดิ ตาม
คณะกรรมการหม่บู ้านติดตามการขบั เคลือ่ นแผนการพฒั นาหมู่บ้านให้เปน็ ไปตาม ระยะเวลาที่

กำหนด โดยมีสว่ นราชการในพ้ืนที่ร่วมดำเนนิ การ

ข้นั ตอนการฝึกอบรมราษฎรอาสาปอ้ งกนั ยาเสพตดิ (รสปส.)

ดำเนินการจัดตั้งมวลชนและฝึกอบรมราษฎรอาสาป้องกันยาเสพติด (รสปส.) ให้เป็นองค์กรพลงั
ประชาชน ในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชมุ ชน และการเฝ้าระวังหม่บู ้าน/ชมุ ชนเพื่อแก้ไขปัญหา
ภัยคุกคามอ่ืน ๆ จำนวน ๑๐ รนุ่ /ชดุ /ปี ดงั นี้

๑. กระบวนการจดั ตั้ง/การระดมคน : ชดุ ชพส. ประชาสมั พันธ์และเชิญชวนการฝกึ อบรมเพ่ือให้
ราษฎรหรือกลุ่มพลังมวลชนในหม่บู า้ นเข้ารับการฝึกอบรม และทบทวน หรอื ผ่านทางตัวแทนผนู้ ำหมู่บ้านซึง่ จะ
เป็นผู้คดั เลือกเขา้ รับการฝึกอบรมราษฎรอาสาปอ้ งกันยาเสพตดิ (รสปส.) เป็นรนุ่ ๆ ละ ๔๐ คน (๒ วัน/รุน่ )

๒. การมอบภารกิจ/ฝึกอบรม : การฝึกอบรมราษฎรอาสาป้องกนั ภัยยาเสพติด (รายละเอียดตาม
ผนวก ค)

- เชิญวทิ ยากรจากหน่วยงานราชการต่างๆมาบรรยาย เช่น เรือ่ งกฎหมาย เชญิ เจ้าหน้าที่ตำรวจ
เรื่องโทษภัยยาเสพติด เชิญเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าที่ ป.ป.ส.ภาค, เรื่อง
จริยธรรมคณุ ธรรม เชิญผู้นำศาสนาในพื้นที่ หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง

๑๕

- การฝกึ อบรมจัดต้งั ราษฎรอาสาป้องกันยาเสพติด (รสปส.) และคดั เลอื กจัดตงั้ ให้เป็นแหล่งข่าว
ภาคประชาชน จำนวน ๖ คน/รนุ่ เพ่อื รายงานข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพตดิ และภยั คุกคามดา้ นความม่ันคงต่างๆ
ในหม่บู ้าน/ชุมชน

- กลุ่ม รสปส. สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ีเวร-ยาม จัดต้ังจดุ ตรวจเฝ้าระวังเหตุ ท่ีเกิดขน้ึ ภายในหมู่บ้าน
ตนเองได้ และสามารถเปน็ กระบอกเสียงเป็นตัวแทน ในการรณรงค์ต่อตา้ นยาเสพติดในทุกรูปแบบ

๓. แผนการดำเนินงาน/การเคลื่อนไหว : หัวใจหลักของการฝึกอบรม คือการสร้างความสามัคคี
มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การทำความรู้จักคุ้นเคย การประสานการติดต่อกับ
หน่วยเหนือเมื่อต้องการพลังมวลชน การเป็นแหล่งข่าวแจ้งเบาะแส และการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของ
ปัญหายาเสพติด

๔. ให้จดั ต้ังระบบการเฝ้าระวังหมู่บา้ น/ชมุ ชน แบบยัง่ ยืน อยา่ งนอ้ ย หมู่บา้ น/ชมุ ชนละ ๑ ระบบ
โดยใหม้ ีการจดั การสนับสนนุ และมีส่วนร่วมจาก กอ.รมน.ภาค สย. และชดุ ปฏิบัตกิ ารของหนว่ ย รวมถึงประชาชนที่
เข้ารบั การฝึกอบรมราษฎรอาสาป้องกนั ยาเสพติด (รสปส.) ทั้งน้ี ใหป้ ระสานการปฏิบัติกับชดุ วิทยากรกองทุน
แม่ของแผ่นดิน (ชวกม.) และให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะ
ยาเสพตดิ

ขัน้ ตอนการฝกึ อบรมเยาวชนอนุ่ ใจได้ลกู หลานกลับคืน เพอ่ื ลดอบายมุขในชุมชน

ดำเนินการฝกึ อบรมค่ายเยาวชนเพือ่ ปอ้ งกันยาเสพตดิ และลดอบายมขุ ในชมุ ชน โดยเฉพาะการป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหาผู้เสพ ผูต้ ิดยาเสพติด ในชมุ ชน รวมท้ังการติดตามและช่วยเหลอื จำนวน ๔ รุน่ /ชุด/ปี ดงั นี้

๑. สำรวจ/ชักชวน/ยืนยนั : ชพส. นำขอ้ มลู จากการประชมุ ประชาคม ชกั ชวนกลมุ่ ทป่ี ระสบ ปญั หา
ต่าง ๆ และเสย่ี งต่ออบายมุข ให้เขา้ ร่วมกิจกรรม หรือใหผ้ นู้ ำชุมชนช่วยคดั กรองผู้มพี ฤติการณ์ พร้อมทั้ง การ
ประชาสมั พนั ธแ์ ละเชญิ ชวนการฝึกอบรม เพอ่ื ให้ผนู้ ำชุมชน และผปู้ กครอง มีสว่ นร่วมในการแก้ไขปญั หา และ
การฝกึ อบรมฯ โดยความสมคั รใจ เปน็ รุ่นๆ ละ ๑๕ คน ( ใหค้ วามสำคญั กบั เยาวชนนอกสถานศกึ ษากอ่ น )

๒. การฝกึ อบรม: การฝกึ อบรมชมุ ชนอุ่นใจไดล้ กู หลานกลับคืน (รายละเอียดตาม ผนวก ค)
๒.๑ เชิญวทิ ยากรจากหน่วยงานราชการตา่ งๆ มาบรรยายในเรื่องต่างๆ เชน่ ความรดู้ ้านกฎหมาย,

โทษภัยยาเสพตดิ , กระบวนการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม, จริยธรรมคุณธรรม, การฝึกระเบียบวินัยและการกลบั
เข้าสู่สังคม

๒.๒ การฝึกอบรมฯ ดำเนินการเปน็ ไปตามตารางการฝกึ ท่กี ำหนด ระยะเวลาจำนวน ๑๒ วนั /รุ่น
โดยใช้ท่ที ำการของชุด ชพส. หรอื สถานท่ีสาธารณะของหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน เปน็ สถานที่ในการฝกึ อบรมฯ

๒.๓ ดำเนนิ การโดยชุมชน ใช้มาตรการอภยั ทางสงั คม การใหค้ ำปรึกษา การสรา้ งความตระหนัก
ในการตรวจเยี่ยม เพ่อื มิให้เขา้ ไปเกีย่ วข้องกับยาเสพตดิ และอบายมุขอ่ืน ๆ

๑๖

๒.๔ การให้ความรู้ ชี้ชัดให้เห็นโทษทุกข์ภัยจากการติดยาเสพติด ร่วมกับชุมชนดำเนินการจัด
โครงการลด ละ เลิก ยาเสพติด ประชาสัมพันธเ์ พ่ือดงึ กลมุ่ เส่ยี งใหห้ ่างไกลจากยาเสพติด

๓. การฟื้นฟูคุณภาพชีวิต
๓.๑ ฟ้นื ฟูสขุ ภาพจิตและความเปน็ อย่ใู ห้ดีขน้ึ
๓.๒ ฝกึ ฝนทกั ษะการประกอบอาชีพและจัดหางานท่เี ป็นหลกั ประกันมนั่ คงในการเลิกยุ่งเกี่ยวกับ

ยาเสพตดิ โดยยั่งยนื
๔. การติดตาม: จัดทำประวัติผูผ้ ่านกิจกรรมฯ เพื่อติดตามและให้ความชว่ ยเหลือในหมูบ่ ้าน/ชมุ ชน

โดยคนในชุมชนดำเนินการเอง และสว่ นราชการที่เก่ียวข้องใหก้ ารชว่ ยเหลอื

ข้นั ตอนการฝกึ อบรมพัฒนาศกั ยภาพแกนนำหมบู่ า้ น/ชุมชน เพอื่ การจดั ตงั้ หมู่บา้ น
กองทนุ แมข่ องแผ่นดิน

ดำเนินการฝึกอบรมโดยชุดวิทยากรกองทุนแม่ของแผ่นดิน( ชวกม.) ของ สปส.ศปป.๒ กอ.รมน.
จำนวน ๕๐ รุ่น/ชุด/ปี ดงั นี้

๑. กระบวนการคน้ หา : ประชาสมั พันธแ์ ละเชิญชวนการฝึกอบรม เพอ่ื ให้ผู้นำชมุ ชน และแกนนำ
ชุมชน ในหมู่บ้าน/ชุมชนเปา้ หมายเข้ารับการฝกึ อบรมฯ โดยประสานงานกับชุด ชพส. จัดแกนนำเข้ารับการ
ฝกึ อบรมฯ เป็นรุ่น ๆ ละ ๖๐ คน

๒. การฝึกอบรม :
๒.๑ ชุด ชวกม.วิทยากรมาบรรยายพิเศษ ในเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนว

พระราชดำริ, หลักการและขนั้ ตอน พร้อมการดำเนนิ กิจกรรมทีเ่ ก่ียวข้อง ในการจัดต้ังหมู่บ้านกองทนุ แม่ของแผ่นดิน
และการขับเคล่ือนกองทนุ แม่ของแผ่นดนิ โดยมเี ป้าประสงค์ใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในชุมชน

๒.๒ การฝึกอบรมฯ ดำเนินการเป็นไปตามตารางการฝึกที่กำหนด ระยะเวลาการฝึกอบรมฯ
จำนวน ๓ วัน/รุ่น โดยใชส้ ถานทสี่ าธารณะของหมบู่ า้ น/ชุมชน เปน็ สถานท่ีในการฝึกอบรมฯ

๓. การจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด และกองทนุ เฝ้าระวังหมู่บ้าน/ชมุ ชน ร่วมกับชุด ชพส. ของ
กอ.รมน.ภาค สย. ใหด้ ำเนนิ การเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ พร้อมท่จี ะพฒั นากองทนุ น้ีไปสกู่ องทนุ แมข่ องแผ่นดนิ

แนวทาง/ ข้ันตอนการขับเคลอื่ นกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน

สำหรับ "โครงการหมู่บ้านกองทนุ แม่ของแผ่นดิน" สืบเนื่องมาจาก ความห่วงใยต่อพสกนกิ ร ที่ต้อง
เผชิญกับวิกฤติยาเสพติดและเพื่อเป็นกำลังใจต่อกลุ่มมวลชนพลังแผ่นดินที่อาสาต่อสู้กับภัยยาเสพติด
ในวโรกาสที่สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

๑๗

รัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จทรงงานเย่ียมราษฎรในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงได้พระราชทานพระราชทรัพย์
ส่วนพระองค์ ผ่าน เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (เลขาธิการ ป.ป.ส.) โดยมี
พระราชประสงคท์ จ่ี ะใหน้ ำไปใช้เป็นประโยชน์ ในการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในหมู่บ้าน/ชุมชน

สำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด (สำนกั งาน ป.ป.ส.) และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
ท่ีเก่ียวขอ้ ง จึงไดม้ แี นวความคิดทจ่ี ะทำใหพ้ ระราชทรัพยพ์ ระราชทานดังกลา่ ว ขยายเปน็ กองทนุ เรยี กว่า "กองทุนแม่
ของแผ่นดนิ " เพอื่ เปน็ ปราการและศูนย์รวมสำคัญในหมู่บา้ น/ชมุ ชน ทจ่ี ะผนึกกำลงั กันทำให้มีความเข้มแข็งบน
พื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน สมดังพระราชปณิธานอันแน่วแน่ของพระองค์ท่านมาโดยตลอด โครงการ
หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน จึงเป็นโครงการพัฒนาความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อการพัฒนาและ
เอาชนะยาเสพตดิ อยา่ งยัง่ ยืนตามรอยพระยุคลบาท

พ.ศ.๒๕๔๗ ในพน้ื ทภี่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เปน็ ภาคท่ีมาของกองทนุ แมข่ องแผ่นดินเป็นภาคแรก
ได้มีการพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็นครั้งแรกของประเทศ โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์
ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นองค์ประธานเพื่อประทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้กับ ๖๗๒
หมู่บ้าน/ชมุ ชน จาก ๑๙ จังหวดั ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

องคป์ ระกอบเงินกองทุนแม่ของแผ่นดนิ มี ๓ สว่ น ได้แก่

๑. เงินขวญั ถงุ พระราชทาน เปน็ พระราชทรพั ยท์ ไี่ ด้พระราชทานให้กับหมู่บา้ น/ชมุ ชน โดยสำนักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้สมทบงบประมาณ ส่วนหนึ่งนำมาจัดสรรให้กับหมู่บ้าน/
ชุมชนแห่ง ละ ๘,๐๐๐ บาท ให้เก็บไว้ เป็นเงินขวัญถุงในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยจะต้องคงเหลือยอดเงินนี้ไว้
ตลอดไป

๒. ทุนศรัทธา เป็นเงินทีม่ าจากราษฎรในหมูบ่ ้าน/ชมุ ชนทีไ่ ด้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินร่วมกันบรจิ าค
สมทบเขา้ กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ อย่างตอ่ เนอื่ ง และรวบรวมข้นึ ด้วยพลังความศรัทธา เปน็ การแสดงออกถึงทุน
ทางสังคมของหมู่บ้าน/ชุมชน ที่ต้องการไม่ให้มีปญั หายาเสพติดเกิดขึน้ ในหมู่บ้าน/ชมุ ชนของตนเอง สามารถ
นำไปใชจ้ ่ายในการดำเนนิ กจิ กรรมกองทุนแม่ฯ ได้

๓. ทุนปัญญา เกิดจากการขยายกองทุนให้มีการงอกเงยขึ้น โดยราษฎรในหมู่บ้าน/ชุมชน จะเป็นผู้
ช่วยกันคดิ และหาวิธกี ารขยายต่อยอดกองทุนใหง้ อกเงยข้ึน ดว้ ยภูมปิ ญั ญาของตนเอง จนสามารถนำไปใช้จ่าย
ในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ของหมบู่ า้ น/ชมุ ชนไดอ้ ยา่ งเพยี งพอและต่อเนอ่ื ง

นับตงั้ แต่ปี ๒๕๔๗ เป็นต้นมา จะมีการคดั เลือก หมบู่ ้าน/ชมุ ชน เพื่อเขา้ รับเงินพระราชทานกองทุนแม่
ของแผ่นดิน ซึง่ ปัจจบุ นั เป็นความรับผดิ ชอบของกระทรวงมหาดไทยและ กอ.รมน. (หม่บู า้ นตามแนวชายแดน)
โดยกรมการพัฒนาชุมชน และ สปส.ศปป.๒ กอ.รมน. ทำการคัดเลือกหม่บู ้าน/ชมุ ชนที่เข้าหลักเกณฑ์ท่ีจะเข้า
รับเงนิ พระราชทาน ฯ โดยแตล่ ะจังหวัดจะสง่ รายชอื่ หมูบ่ ้าน/ชุมชนดังกลา่ ว ไปยงั สำนกั งาน ป.ป.ส. เพ่ือทำการ

๑๘

ตรวจสอบและจัดทำทำเนียบรายชื่อ จากนั้น สำนักงาน ป.ป.ส. จะดำเนินการจัดพิธีมอบเงินพระราชทาน
กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ ซึ่งการดำเนนิ การดงั กลา่ วจะอยใู่ นห้วงเดอื นสิงหาคม – เดอื นตุลาคมของทกุ ปี

หลักเกณฑก์ ารคัดเลือกหมบู่ า้ น/ชุมชนกองทุนแมข่ องแผ่นดิน

๑. ผ้นู ำหมู่บ้าน/ชุมชน มคี วามเข้มแข็ง มีกจิ กรรมดำเนินการอย่างเปน็ รปู ธรรม
๒. สมาชกิ ในหมู่บ้าน/ชุมชน ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมทจ่ี ัดขน้ึ ในหมู่บา้ น/ชุมชน
๓. ประชมุ หารอื ในหมูบ่ ้าน/ชุมชน ในเรอ่ื งยาเสพติดอยู่เป็นนจิ เพอ่ื รว่ มกันแก้ไขปญั หา
๔. กจิ กรรมในหมู่บา้ น/ชุมชน ดำเนนิ การโดยยึดหลกั การพ่ึงพาตนเอง
๕. มีมาตรการทางสงั คมในเรอ่ื งยาเสพติด ประกาศเปน็ สาธารณะและใช้อยา่ งจรงิ จงั
๖. มกี ลไกการเฝา้ ระวงั ยาเสพตดิ ในหมู่บา้ น/ชุมชนอยา่ งเป็นระบบ และมอบหมายภารกิจท่ีชดั เจน
โดยมกี ารบนั ทกึ ผลการเฝา้ ระวังท่ีเป็นลายลักษณอ์ ักษร
๗. มกี ารค้นหาปญั หายาเสพตดิ โดยชมุ ชนเองอยู่เสมอ และยอมรับผล/ไม่ปดิ บัง
๘. มีกจิ กรรมปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ทสี่ อดคล้องกบั สภาพปญั หาในพน้ื ที่

๙. มีประชามติของคนในหมบู่ ้าน/ชุมชน เห็นชอบตอ่ การเขา้ รว่ มเปน็ หมบู่ า้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน
๑๐. มกี ารจดั ต้ังกองทนุ ยาเสพตดิ ของหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน รองรับการจัดตง้ั กองทุนแมข่ องแผ่นดนิ
๑๑. มีการบูรณาการอย่างเขม้ แข็งของกลุ่มองค์กรชุมชนต่างๆ ที่มอี ยู่ในหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน
๑๒. มกี จิ กรรมการแสดงออกถงึ ความจงรกั ภักดีอยา่ งสมำ่ เสมอ
สปส.ศปป.๒ กอ.รมน. ซึ่งรับผิดชอบโครงการจัดต้ังหม่บู า้ น/ชุมชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพติด ตามแนว
ชายแดน ได้จัดชุดวิทยากรกองทุนแม่ของแผ่นดิน (ชวกม.) เป็นชุดวิทยากรพี่เลี้ยง เข้าดำเนินการฝึกอบรม
พัฒนาศักยภาพแกนนำหมู่บ้าน/ชุมชน มุ่งเน้นหลักการและขั้นตอน พร้อมการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้ อง
ในการจัดตั้งหมู่บ้านกองทนุ แม่ของแผ่นดิน ตาม ๑๐ ขั้นตอน ซึ่งจะครอบคลุมทุกกิจกรรม/ทกุ หลกั เกณฑ์ใน
การคดั เลือกเปน็ หมู่บา้ นกองทุนแม่ของแผ่นดิน ทัง้ ๑๒ ขอ้ ดงั นี้

ขน้ั ที่ ๑ ช้แี จง ทำความเขา้ ใจโครงการกองทนุ แม่ของแผ่นดินให้กับทกุ ครัวเรือน
ขน้ั ท่ี ๒ จัดต้ังคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผน่ ดนิ
ขัน้ ท่ี ๓ รบั สมัครครัวเรอื นเข้าเปน็ สมาชกิ โครงการฯ
ข้นั ที่ ๔ จัดตง้ั กฎชมุ ชนเขม้ แข็ง ๗ ข้อ ไดแ้ ก่

ข้อ ๑ สมาชกิ ช่วยกนั ทำนุบำรุง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ขอ้ ๒ สมาชกิ รว่ มประชุมกนั เป็นนิตย์
ขอ้ ๓ สมาชิก เรมิ่ ประชุมและเลิกประชมุ พรอ้ มกนั ทำกจิ ท่พี ึงกระทำ

๑๙

โดยพรอ้ มเพรยี งกนั
ขอ้ ๔ สมาชิก ยอมรับมตสิ ว่ นใหญข่ องทีป่ ระชุม ในการแก้ไขปญั หาของชุมชน
ขอ้ ๕ สมาชกิ ให้การยอมรบั และเคารพผ้อู าวุโส
ขอ้ ๖ สมาชกิ ใหก้ ารสงเคราะห์ และช่วยเหลือผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คม

(เช่น เดก็ สตรี คนชรา คนพกิ าร และคนทยี่ ากจนกว่า )
ข้อ ๗ สมาชิก สง่ เสริมและรกั ษาวัฒนธรรมและประเพณีที่ดงี าม

(รว่ มแรงรว่ มใจทุกคน ชุมชนเข้มแขง็ )
ขั้นท่ี ๕ ให้ความรคู้ วามเข้าใจเรือ่ งยาเสพติด
ขั้นท่ี ๖ จัดต้ังกองทุนแก้ไขปญั หายาเสพตดิ (กองทนุ เฝ้าระวงั ฯ)
ขน้ั ที่ ๗ ประชาคมคัดแยกโดยสนั ตวิ ิธี
ข้นั ท่ี ๘ จัดกจิ กรรมป้องกัน/แก้ไขปญั หายาเสพติดรว่ มกันอย่างตอ่ เนอ่ื ง
ขั้นท่ี ๙ การรบั รองครวั เรอื นปลอดยาเสพตดิ โดยสมาชิกของโครงการฯ
ขน้ั ที่ ๑๐ การรักษาสถานะชมุ ชนเขม้ แขง็

"โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน" จึงเป็นแนวทางในการสร้างพลังความรักความสามัคคีให้บงั เกดิ มี
ขึน้ ในชมุ ชน จากสิ่งทเี่ ปน็ นามธรรมใหม้ ีผลออกมาเปน็ รูปธรรมและเม่อื เกิดขึ้นแล้วจำเป็นต้องมีกิจกรรมที่เป็น
ส่ิงที่ช้วี ัดความยั่งยืนไดด้ ว้ ย โดยการทำให้ผนู้ ำหมู่บ้าน/ชุมชน (ทงั้ ผใู้ หญแ่ ละเยาวชน) เปน็ พลังมวลชนที่มคี วาม
เขม้ แขง็ มีจิตสำนึก มคี วามรู้ความเข้าใจ ในขน้ั ตอนและวิธีการแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ในทุกระบบ สามารถเปน็
ผู้นำที่ขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคนใน
หม่บู ้าน/ชุมชน สามารถรวมพลังภาคประชาชน เข้ามาร่วมขบั เคลอ่ื นกิจกรรมตา่ งๆ ในการแก้ไขปญั หายาเสพ
ตดิ ไดอ้ ย่างต่อเนือ่ งและเปน็ รปู ธรรมตามยทุ ธศาสตร์พระราชทาน

แนวทางการจัดตั้งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ และเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๑. ระดบั หม่บู า้ น (เป็นศูนยก์ ารเรียนรู้แกร่ าษฎรในหมูบ่ า้ นของตนเอง)
- ให้ความรู้พนื้ ฐานในเร่ืองหน้าทพ่ี ลเมืองท่ีดี
- ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติดและเศรษฐกจิ พอเพียง และกระบวนการต่อสู้และต่อต้าน

เพ่ือแก้ไขปัญหาที่เกิดข้นึ ในชมุ ชนได้
๒. ระดับตำบล (เป็นศนู ยก์ ารเรียนรแู้ กร่ าษฎรในตำบลของตนเองและสามารถเป็นตน้ แบบให้พ้นื ทอี่ ่ืนได)้
- เป็นศูนย์เรียนรู้ที่สามารถแสดงกระบวนการทางความคิดและกิจกรรม การปฏิบัติจริงในทุก

ขน้ั ตอน และการสรา้ งเครอื ข่าย/เชอ่ื มโยงเครือขา่ ย
- การสง่ เสริมอาชีพในหมบู่ ้าน/ชมุ ชนโดยการนำโครงการความรู้เพอื่ เปน็ อาชีพเสริม ทำให้เกิดการ

ลดรายจ่ายและเพม่ิ รายได้ในชุมชน เพ่ือน้อมนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

๒๐

แนวทางการวิเคราะห์และเตรียมพ้นื ท่ปี ฏิบัตกิ ารด้านยาเสพติด
(Intelligence Preparation Battle Field for Narcotics: IPBN)

การวิเคราะห์และเตรียมพื้นที่ปฏิบัติการด้านการข่าว เป็นกระบวนการวิเคราะห์ภัยคุกคามและ
สภาพแวดล้อมในพนื้ ทปี่ ฏิบตั กิ ารอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง วัตถปุ ระสงค์ เพื่อใหเ้ ข้าใจสภาพแวดลอ้ มในการ
ปฏิบัติการ ประกอบด้วย ๔ ขัน้ ตอน คอื

๑. กำหนดสภาพแวดลอ้ มของพนื้ ที่ปฏบิ ัติการ
๒. อธิบายผลกระทบของสภาพแวดล้อมฯ
๓. ประเมินคา่ ภยั คกุ คาม
๔. พจิ ารณาหนทางปฏบิ ตั ขิ องภยั คกุ คาม

การทำ IPBN ในแต่ละขั้นตอนอย่างง่ายๆ ก็คือ การนำเอางานที่ได้ปฏิบัติอยู่แล้ว ตามแผนงาน/
โครงการ มาวิเคราะห์อย่างเป็นกระบวนการ ตามหลักการ ๔ ขัน้ ตอน ดังน้ี

๑. การกำหนดสภาพแวดลอ้ มของพืน้ ทป่ี ฏบิ ัตกิ าร/หมู่บา้ น/ชมุ ชน ท่รี ับผดิ ชอบ
๑) ได้จากการดำเนินการในขั้นตอนที่ ๑ ขั้นการเตรียมชุมชน ได้แก่ การกำหนดพื้นที่เป้าหมาย,

การสำรวจข้อมูล/สืบสภาพ โดยการรายงานตวั และประสานงานกบั ส่วนราชการตา่ งๆ ในพ้นื ท่ี, การพบปะผู้นำ
ท้องถ่นิ และผ้นู ำหมูบ่ ้าน, การเปดิ การประชมุ แบบมสี ่วนร่วม, การประชุมเวทีชาวบา้ น

๒) ไดจ้ ากขอ้ มูลท่ีรายงานในระบบ ๘ ฐานข้อมูล
๒. อธบิ ายผลกระทบของสภาพแวดลอ้ ม

โดยการนำข้อมูลจากข้อ ๑ มาวิเคราะห์ว่าสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆของหมูบ่ ้าน/ชุมชนเป้าหมาย จะ
ส่งผลทก่ี ่อใหเ้ กดิ ปัญหายาเสพติดไดอ้ ยา่ งไรบ้าง เชน่ จำนวนประชากร เพศ วยั การศกึ ษา การประกอบอาชีพ
รายได้ ระบบสาธารณปู โภค (น้ำประปา,ไฟฟ้า) ระบบโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ระบบขนส่ง (ถนน) เปน็ ต้น

๓. ประเมินคา่ ภยั คกุ คามด้านยาเสพตดิ
ใช้หลักเกณฑ์/เงื่อนไข การจัดระดับความรุนแรงของปัญหายาเสพติด ของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน

พร้อมกับการวิเคราะห์ตามข้อ ๒ ประเมินค่าภัยคุกคามของยาเสพติด โดยต้องสามารถแบ่งหมู่บ้าน/ชุมชน
ออกเปน็ ๔ สี ตามระดบั ความรนุ แรง

๔. พจิ ารณาหนทางปฏิบัตขิ องภยั คุกคามด้านยาเสพตดิ
หลังจากประเมินค่า จัดระดับความรุนแรงของปัญหายาเสพติดของแต่ละหมู่บ้านแล้วต้อง

พจิ ารณาว่าปญั หาเหลา่ นัน้ จะแพรร่ ะบาด เพม่ิ ความรุนแรงไดอ้ ยา่ งไร ตอ้ งรวู้ า่ ยาเสพติดมีแหล่งผลติ มาจากไหน
มีแหล่งพักยาทใ่ี ด มีเสน้ ทางลำเลียงอย่างไร ตลอดจนมเี ครอื ขา่ ยผู้ค้ารายใหญร่ ายยอ่ ย และผู้เสพเป็นใครกลุ่ม
ไหน

๒๑

หลกั เกณฑ์ในการจัดระดับความรนุ แรงของปัญหายาเสพติดของหมบู่ า้ น/ชมุ ชน

การพสิ ูจนท์ ราบและการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ความรนุ แรง/การแพรร่ ะบาดของยาเสพติดในพ้ืนที่
หมู่บา้ นเปา้ หมายหลกั การดำเนินงานหม่บู า้ น/ชมุ ชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพติดของ สำนักงาน ป.ป.ส.

การดำเนนิ งานหมูบ่ ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดเปน็ กระบวนการทใี่ ห้ทุกภาคส่วนในหมบู่ า้ น/ชุมชน
รวมพลงั กนั เปน็ กลุ่มหรอื เปน็ องคก์ รรว่ มคดิ รว่ มทำ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในหม่บู า้ น/ชุมชนของ
ตนเอง โดยเนน้ บทบาทของภาคประชาชน ภาคประชาสงั คมเป็นแกนหลักในการดำเนินการ และใหภ้ าคราชการเป็น
ผู้สนบั สนนุ ช่วยเหลือในการประเมนิ หมบู่ า้ น/ชมุ ชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพติดจะประเมนิ ๒ มิติ คอื

๑. มิติดา้ นกระบวนการหรือความเขม้ แขง็ ของหมบู่ ้าน/ชมุ ชน (ความเขม้ แขง็ ของหมูบ่ า้ น/ชุมชน)
๒. มติ ดิ า้ นสภาพปญั หายาเสพตดิ ในหมูบ่ ้าน/ชุมชน (ความรนุ แรงของปญั หา)

มิติกระบวนการหรอื ความเข้มแข็งของหมู่บา้ น/ชุมชนและดัชนชี ีว้ ัด

เป็นกระบวนการดำเนินการของหมู่บ้าน/ชุมชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดย มีดัชนีชี้วัด ๑๐
ตวั ชว้ี ัด เพอ่ื ประเมินความเข้มแข็งของหม่บู ้าน/ชุมชนเอาชนะยาเสพตดิ ประกอบด้วย

๑. มีกลุ่มหรือองค์กรที่ปฏิบัติงานด้านยาเสพติดในพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน เช่น คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้
ประสานพลังแผ่นดิน (๒๕ ตาสับปะรด) ฯลฯ (โดยมีการแต่งตั้งคณะทำงานอย่างเป็นทางการ และลายลักษณ์
อกั ษร)

๒. กลมุ่ หรือองคก์ รที่ปฏบิ ัติงานด้านยาเสพติดประชุมกันอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครง้ั
๓. มีข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดเป็นลายลักษณ์อักษร และมีการ
ประกาศใหท้ ราบโดยทั่วกัน (ธรรมนญู หมบู่ า้ น)
๔. มีการจดั ตง้ั กองทนุ เกี่ยวกับการแก้ไขปญั หายาเสพติด เชน่ กองทุนแมข่ องแผ่นดนิ กองทุนหมู่บา้ น/
ชุมชนท่นี ำผลประโยชน์มาใชแ้ ก้ไขปญั หายาเสพติด ฯลฯ
๕. กองทนุ เก่ียวกบั การแก้ไขปัญหายาเสพตดิ มผี ลการดำเนินงานทเ่ี ข้มแขง็ เชน่ การระดมทนุ ต่อยอด
๖. มีการประชาคมเพอ่ื ค้นหาและตรวจสอบผู้ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ อยา่ งน้อย ๓ เดอื น/ครง้ั
๗. มีการนำผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัด ตามนโยบายของรัฐบาล (ค้นพบผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพตดิ
นำเขา้ บำบดั รกั ษาทนั ท)ี
๘. มกี ารตดิ ตามผลและใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ ท่ีผ่านการบำบดั ฟื้นฟู เชน่ การสง่ เสรมิ
และพฒั นาอาชพี
๙. มีการควบคมุ ดแู ลไม่ใหม้ แี หล่งม่วั สุมในพ้นื ท่ี/จัดกิจกรรมเชิงป้องกนั ยาเสพตดิ อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑
ครั้ง
๑๐. มกี ารจัดกจิ กรรมรณรงคต์ อ่ ตา้ นยาเสพตดิ ร่วมกับกิจกรรมสาธารณประโยชนอ์ น่ื ๆ

๒๒

เกณฑ์ประเมนิ สถานะความเข้มแข็งของหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน แยกเปน็ ๓ ระดับ คือ

ระดับ ๑ หมูบ่ า้ นเข้มแข็งมาก คือ ผ่านตามเกณฑว์ ัด ๘ –๑๐ ตวั ชวี้ ดั
ระดบั ๒ หมูบ่ ้านเขม้ แขง็ ปานกลาง คอื ผ่านตามเกณฑ์วดั ๖ – ๘ ตวั ชี้วดั
ระดบั ๓ หมู่บ้านเขม้ แข็งนอ้ ย คือ ผ่านตามเกณฑว์ ัด ๑ – ๕ ตัวชว้ี ัด

มิติสภาพปัญหายาเสพตดิ ในหมูบ่ ้าน/ชุมชน และดัชนชี ี้วัด

เปน็ ผลลัพธ์จากการดำเนินการตามกระบวนการหมู่บ้าน/ชมุ ชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพติด โดยมีดัชนีช้ี
วัด ๒ ตัวชี้วัด เพื่อประเมนิ จากความรุนแรงปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน คือ ๑. ผู้ผลิต/ผู้ค้ายาเสพติด
๒. ผู้เสพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด

เกณฑ์ประเมินสถานะหมูบ่ า้ น/ชุมชนจากสภาพปัญหายาเสพตดิ จะแยกเป็น ๔ ประเภท คือ

๑. สีขาว ไม่มีผผู้ ลิต/ผู้ค้ายาเสพติด ไมม่ ีผู้เสพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ และไม่มกี จิ กรรมใดๆที่เกย่ี วขอ้ ง
กับยาเสพตดิ ในหมบู่ ้าน

๒. สีเขยี ว ไม่มีผู้ผลติ /ผู้คา้ ยาเสพติด และ มีผู้เสพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพติด ไม่เกนิ ๓ คน ต่อหมู่บ้าน

๓. สีเหลอื ง ไมม่ ีผู้ผลิต/ผู้ค้ายาเสพติดและมีผเู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ตงั้ แต่ ๓ คน แต่ไม่เกิน ๕ คน ตอ่
หมู่บ้าน

๔. สแี ดง มีผู้ผลิต/ผู้ค้ายาเสพติด ๑ คน หรือมีผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เกิน ๕ คนขึ้นไป ต่อ
หม่บู ้าน

หมายเหตุ ในกรณเี ป็นเสน้ ทางผา่ น ในมติ ิของพ้ืนท่ี ใหน้ ำไปพจิ ารณาจดั ทำ IPBN

๒๓

ส่วนท่ี ๔
การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและการบรรยายสรุปรบั การตรวจเยี่ยม

การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน

๑. การรายงานเชิงปริมาณ ได้แก่ ขั้นตอน/วิธีการ/กระบวนการ (Process) c]tผลผลิต (Output)
ตวั อย่างเชน่

- ได้ประสานงาน/พบปะ/เข้าร่วมประชุมกับหวั หนา้ ส่วนราชการในพ้นื ท่ี จำนวนกคี่ รง้ั
- ไดจ้ ัดการประชมุ กับราษฎรแบบมีสว่ นรว่ มแลว้ จำนวนกี่คร้ัง
- ได้เปดิ การอบรมตามโครงการ สำเรจ็ แล้วกรี่ ุน่ /กค่ี น คงเหลือก่รี นุ่
- การเข้ารว่ มกจิ กรรมต่างๆทางสังคมของหวั หนา้ ชดุ
- ได้จัดตั้งกองทนุ เฝ้าระวังแล้วกี่หมู่บ้าน, กองทุนแม่ของแผ่นดินแล้วกี่หมู่บ้าน และได้จัดต้งั ศูนย์
การเรยี นรูแ้ ลว้ จำนวนกี่ศูนย์ ได้อะไรจากการประชุม
๒. การรายงานเชิงคณุ ภาพ ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถึง ผลสัมฤทธิ์/ผลลัพธ์ (Outcome) ทีเ่ ปน็ รูปธรรม ซึ่งเป็น
ตวั ชว้ี ดั ผลการดำเนินงานว่า ปัญหายาเสพตดิ ในหมู่บา้ น/ชมุ ชน ไดร้ ับการแก้ไขอยา่ งไดผ้ ล ท่เี ป็นรูปธรรมอย่าง
ยั่งยืนเป็นรูปธรรมได้อย่างไร (ขั้นตอนการดำเนินงาน และผลลัพธ์เป็นอย่างไร มีข้อพิจารณา/ ข้อเสนอแนะ
อะไรบา้ ง) เช่น
- มวลชนกลุ่มต่างๆ ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้ว ได้มีจิตสำนึก/จิตอาสา รวมพลังกันทำกิจกรรม
อะไรบ้าง ทำอย่างไร มผี ลตอ่ การนำไปส่กู ารลดลงของปญั หายาเสพตดิ ได้อย่างไร
- คณะกรรมการของกองทุนเฝ้าระวงั , กองทนุ แมข่ องแผ่นดินและศูนยก์ ารเรียนรู้ท่ีจดั ตง้ั ขึ้น มีการ
จัดกจิ กรรมขับเคลือ่ นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งอย่างไร ในการแก้ไขปญั หายาเสพติด จำนวนกีค่ รัง้
- มียอดสถิติ การแจ้งเบาะแสข่าว นำไปสู่การจับกุมเพ่ิมมากข้ึน จำนวนกี่คดี สถิติเหล่านี้มีผลตอ่
การปอ้ งกนั ปราบปราม สกดั กั้น และการบำบัดหรือไม่ และอยา่ งไร
- ยอดผู้ค้า ลดลง, ยอดผู้เสพ สมัครใจเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูเพิ่มมากขึ้น จำนวนกี่คน มีขั้นตอน
วธิ กี ารอยา่ งไร หลังจากบำบดั แลว้ มผี ลอย่างไร มีการตดิ ตามหรือไม่ มีวธิ ีการอยา่ งไรปอ้ งกนั มใิ ห้กลบั ไปเสพซ้ำ

ตัวอยา่ ง หวั ขอ้ การรายงานผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพติดในหมู่บา้ น/ชุมชน

๑) ข้อมูลขั้นต้นของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด เช่น เดิมหมู่บ้าน/ชุมชน มี
สภาพปัญหาดา้ นยาเสพตดิ รนุ แรงอย่างไร

๒๔

๒) ชมุ ชนไดด้ ำเนนิ การแกไ้ ขปญั หายาเสพติดโดยสันตวิ ธิ ี เป็นขน้ั ตอนอยา่ งไร
๓) กิจกรรมแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในศูนย์การเรียนรู้ฯ ดำเนินการต่อเนื่องอย่างไร ที่เป็น
รูปธรรม
๔) แสดงตวั เลขทางสถติ ิทีช่ ี้วัดว่าปญั หายาเสพติดในหมู่บา้ น/ชุมชน ไดล้ ดลงอย่างไร เชน่ ยอดผู้ค้า
ลดลงจากมาตรการกดดนั ทางสังคม, ยอดผเู้ สพสมัครใจเข้ารับการบำบดั รกั ษาเพิ่มมากขนึ้ เป็นต้น
๕) คนในหมบู่ า้ น/ชุมชนหรือใกล้เคียง ไดร้ ับประโยชนจ์ ากศูนย์ฯ อยา่ งไรบ้าง

แนวทางในการบรรยายสรปุ รับการตรวจเย่ียมจากผู้บังคับบัญชา

๑. การบรรยายสรปุ จะตอ้ งใชเ้ วลาส้ันๆ กระชับ ได้เนื้อหา ฟังแล้วเขา้ ใจได้ง่าย ในรายละเอยี ดให้ดูจาก
เอกสารประกอบการบรรยาย

๒. อยา่ ใช้วธิ กี ารอ่านจากเอกสาร (โดยเฉพาะการอา่ นตรงตามเอกสารที่จัดวางไว้) ควรใช้แบบการเล่า
ให้เป็นธรรมชาติ (Talk by heart) เวลาบรรยาย/เล่า ควรใช้คำเต็ม การใช้คำยอ่ ให้ใชเ้ ทา่ ที่จำเปน็ เทา่ น้ัน

๓. กรณที ่เี ชญิ ผู้แทนจากหลายภาคสว่ น เขา้ ร่วมรับการตรวจเย่ยี มและรับฟงั การบรรยายสรปุ
๓.๑ แนะนำ พรอ้ มจดั ทำรายชอ่ื ตำแหน่ง ใหห้ วั หนา้ คณะตรวจเย่ยี ม ไดท้ ำความรู้จกั
๓.๒ การจัดที่นั่งในห้องบรรยายสรุป จะต้องให้ทุกคนได้รู้จักและมองเห็นหน้ากันอย่างชัดเจน

พร้อมทจ่ี ะพูดคยุ /หารอื ได้ทันที อาจจดั ในรูปตัว U, V, O ไมค่ วรจัดแบบห้องเรยี น (ประธานน่ังหน้า คนอ่ืนน่ัง
หลัง มองเหน็ แต่ท้ายทอย เวลาถาม/คยุ ประธานตอ้ งเอ้ยี วตวั กลับมา)

๔. การบรรยาย ข้อมูลที่เป็นช้นั ความลบั (รายชอื่ ผู้ค้า/ผเู้ สพ) หรอื การพดู ทีท่ ำใหห้ นว่ ยงานอืน่ เสยี หาย
ไม่ควรนำมาบรรยายแบบเปดิ เผยใหห้ น่วยงานอื่นๆไดร้ ับทราบ อาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายในภายหลงั

๕. หัวขอ้ การบรรยายสรปุ (ใช้เวลาบรรยายสรุปไม่เกนิ ๑๐ นาท)ี

หัวขอ้ การบรรยายสรุป ของชดุ ชพส. และ ชบข. มีหัวขอ้ ท่ีสำคญั ดังน้ี

ลำดบั หวั ขอ้ รายละเอียด หมายเหตุ

๑. การจดั กำลงั ๑.กล่าวถงึ หนว่ ยท่อี ยู่ แสดงโดยใชร้ ปู ภาพ
๒. พน้ื ทปี่ ฏบิ ัติการ
๒.ยศ-ช่ือ-นามสกลุ หัวหนา้ ชดุ พรอ้ มสรปุ ยอดกำลงั

พล นายทหาร, นายสิบ และพลทหาร

๑. ชือ่ บ้านและจำนวนหมู่บ้าน แสดงโดยใช้ภาพ

๒. ตำบล อำเภอ และจงั หวดั ถ่ายทางอากาศ

๓. ระบหุ น่วยใกลเ้ คียงทางด้านเหนอื และทางดา้ นใต้

๒๕

๓. การจดั ทำ IPBN ๑. ระบุบา้ น ผู้คา้ ผเู้ สพ (ตำแหนง่ บา้ น, ระบุเพศ, แสดงโดยใช้ภาพ

อายุ, จำนวน, ระยะเวลาที่อยใู่ นพนื้ ท่ี, พฤติกรรมที่ ถ่ายทางอากาศหรอื

กระทำในแตล่ ะหว้ งเวลา เปน็ ตน้ ) แผนที่

๒. ระบุเสน้ ทางการนำเขา้ เส้นทางในการลำเลียง

ออก และจุดพกั ยา

๓. จากข้อมลู ทไี่ ด้ นำไปสกู่ ารวางแผนในการ

ปฏิบัติงานอย่างไร

๔. การจดั ความรนุ แรงของยาเสพติด/ ๑. ระบุเป็นสี (ตามหลักเกณฑ์ทีกำหนด) แสดงโดยกราฟหรือ

ความเข้มแข็งของหม่บู า้ นในพ้นื ท่ี ๒. ระบขุ อ้ มูลตามข้อเทจ็ จริงในแต่ละหมบู่ า้ น ตาราง

รบั ชอบ

๕. รายงานการปฏบิ ตั ิงานที่สำคญั ๑. การจัดการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม บรรยายโดยใช้รูป

ตามหว้ งเวลา จำนวนก่ีครง้ั คงเหลอื คร้ัง ถา่ ยในกจิ กรรม

๒. การฝึกอบรมราษฎรอาสาปอ้ งกนั ภัยยาเสพตดิ นั้นๆ

(รสปส.) จำนวนกรี่ นุ่ /คน คงเหลอื รนุ่

๓. การฝึกอบรมชุมชนอ่นุ ใจได้ลกู หลานกบั คืน

จำนวนก่รี นุ่ /คน คงเหลอื รุ่น

๖. ผลทไ่ี ดร้ ับหลงั จากการดำเนนิ การ ๑.นำไปสูก่ ารจบั กุมผู้ค้า ผู้เสพ ไดจ้ ำนวนกค่ี น สรุปเปน็ ตาราง

ตามโครงการฯ (ข้อ ๕.) ๒.ส่งประชาชนเข้ารับการบำบดั รกั ษาได้จำนวนกคี่ น พรอ้ มรปู ถา่ ย (ถา้ มี)

๓.การจดั ต้งั กองทนุ เฝ้าระวัง ม/ี ไมม่ ี

๗. การสง่ เสริมการจัดตง้ั กองทนุ แม่ ๑. การทำความเข้าใจโครงการ บรรยายโดยใชร้ ปู

ของแผน่ ดนิ กล่าวสรุปการ ๒. การรับสมัครคณะกรรมการกองทนุ แม่ฯ ถา่ ยในกจิ กรรม

ดำเนนิ การตามหวั ขอ้ วา่ ได้ ๓. การรบั สมัครครวั เรอื นสมาชิกเข้าร่วมโครงการ นัน้ ๆ

ดำเนินการแลว้ อยา่ งไร ๔. การจัดการบริหารเงนิ กองทุนทมี่ กี ารขบั เคลอื่ น/

การนำไปใชแ้ ละมีผลอย่างไร

๕. สามารถสง่ ข้อมลู ให้ ชดุ ชวกม. ดำเนินการตอ่ ได้

หรือไม่

๘. สรปุ การปฏบิ ตั ทิ ส่ี ำคญั ๑.การตรวจเยี่ยมการปฏิบตั ิของผบู้ ังคบั บัญชา (หากมเี วลาพอ)

๒.การจัดกจิ กรรมของศูนยก์ ารเรียนรูช้ ุมชนเขม้ แข็ง บรรยายโดยใช้รูป

๓.การพบปะ/ประสาน หน.สว่ นราชการ, การเขา้ รว่ ม ถา่ ยในกจิ กรรม

กจิ กรรมพัฒนาสัมพนั ธ์ตา่ งๆ ข้องหมู่บ้านและชุมชน นั้นๆ

๔.การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ต่างๆ นอกเหนือจาก

แผนงาน

๙. ข้อพจิ ารณาและปัญหาข้อขัดข้อง ๑.ระบุข้อพจิ ารณา/ข้อเสนอ

๒.ระบุปัญหา/ข้อขดั ข้อง

๑๐. คณะตรวจให้คำแนะนำ/ส่งั การ

๒๖

การรายงานผลการดำเนินงานดา้ นยาเสพติดตามแนวชายแดน

ศูนย์ประสานการปฏิบตั ิท่ี ๒ กองอำนวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจักร และ สำนักงาน
ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้ร่วมกันจัดทำระบบการรายงานผลการดำเนินงานยาเสพติดตามแนว
ชายแดน เพ่อื ให้เกิดการบูรณาการ การรายงานชุดปฏิบัติการทั้งหมดที่ปฏิบัติงานตามแนวชายแดน ทำให้เกิด
เอกภาพ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการกำกับดแู ลและเผยแพรก่ าร
ทำงานของ ศปป.๒ กอ.รมน. ประกอบด้วย ๘ ฐานข้อมลู ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลพืน้ ฐานชุดปฏบิ ัติการ หม่บู า้ นเป้าหมาย
การแจง้ เหตุการณ์/ข่าว สถานการณ์ยาเสพตดิ สภาพทั่วไปหมู่บ้าน แผนปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัตงิ าน และการ
ประเมินสถานะหมบู่ ้าน

หวั ข้อรายงาน “ผลการดำเนินงานด้านยาเสพติดตามแนวชายแดนโดยระบบสารสนเทศ”

๑. แจง้ เหตุการณ์/ขา่ วการจับกมุ รายงานทุกคร้งั ทมี่ ขี ่าวสารหรือเหตุการณเ์ กดิ ขน้ึ
๒. สถานการณย์ าเสพติด รายงานสถานการณ์ยาเสพติดท่มี ใี นพ้ืนท่ที ่รี บั ผดิ ชอบทกุ พน้ื ท่ี
๓. สภาพทว่ั ไปหมู่บา้ น รายงานสภาพหมบู่ า้ นโดยภาพรวมทั้งหมด
๔. สถานการณ์ยาเสพติดในหมู่บา้ น รายงานสถานการณ์ปัญหาและการแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ ในหมูบ่ า้ น
๕. แผนปฏบิ ัติงาน รายงานแผนทีจ่ ะต้องดำเนนิ งานตามที่กำหนด และแผนงานอ่ืนๆ นอกเหนอื จากท่ีกำหนด
๖. ผลการปฏิบัตงิ าน รายงานผลการปฏบิ ัตทิ ่ีไดภ้ ายหลังจากการดำเนนิ งาน
๗. การประเมินสถานะหม่บู า้ นให้รายงานผลการประเมินสถานะหมู่บ้านเป็นประจำทกุ ไตรมาส

คำแนะนำอน่ื ๆ ในการปฏบิ ัติสำหรับชดุ ปฏบิ ตั กิ าร

๑. การทำงานเป็นทมี / Team Work ในนาม “ กอ.รมน.” ไม่ใช่ “หนว่ ยทหาร”
- ทกุ คนในทมี /ในชุด ตอ้ งเขา้ ใจในภารกิจ ในบทบาทของตนเอง
- ทำงานแบบเปิดเผย จรงิ ใจ กบั มวลชน เน้นยำ้ การทำงาน คือการเขา้ ไปช่วยแก้ปัญหา
- การแบ่งมอบหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบให้แต่ละคนภายในทมี อย่างชัดเจน

๒. บทบาทของหัวหน้าชดุ /หวั หนา้ ทีม
- นำศกั ยภาพ ความสามารถพเิ ศษของตนเอง มาช่วยเสรมิ การปฏบิ ัติตามแผนงาน
- คิด รเิ ริ่ม แผนงาน/โครงการ เพมิ่ เติม เพอื่ ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาของชมุ ชน

๓. การบันทกึ เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร/เป็นเอกสารทุกเร่อื ง ทีเ่ หน็ ว่าจะเปน็ บทเรียนให้กบั ชุดปฏิบตั ิการ
ใหม่ เชน่

- รายละเอยี ดการไปพบปะ/ประสานงานหัวหนา้ สว่ นราชการ ผนู้ ำในพืน้ ท่ี

๒๗

- ปัญหา/วิกฤตของหมบู่ ้าน/ชุมชน ที่ไดจ้ ากการประชุมแบบมสี ว่ นร่วมกบั ราษฎร
- รายการทไี่ ด้ทำการพฒั นาฐานปฏิบตั กิ าร
๔. การจดั ฐานปฏบิ ตั กิ าร
๔.๑ สงิ่ อปุ กรณ/์ ยทุ โธปกรณ์ สิง่ ของทกุ อย่าง ต้องนำมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดกบั ทมี งาน

- แผนที่สถานการณ์ ลงรายละเอยี ด สำหรบั วางแผน ชแ้ี จง ใหท้ ีมงานเหน็ ภาพ/เข้าใจ
- จัดทำ แผนการปฏิบตั ิงาน ทั้งแผนปี แผนประจำเดอื น และแผนประจำวัน
- จัดทำเอกสาร บัญชีสถานภาพ บนั ทึกหลักฐานต่างๆ ครบถ้วน
๔.๒ นำ ๕ ส. มาจัดระเบียบสำนกั งาน (ฐานปฏบิ ัติการ) ให้เกิดความสวยงาม เรียบร้อย แสดงออก
ใหป้ ระชาชน ไดร้ ู้ ได้เหน็ ได้สัมผสั ถึงคำวา่ ความมรี ะเบียบ วนิ ยั ของทหาร
สะสาง "แยกให้ชัด ขจัดใหอ้ อก "
สะดวก "หยิบง่าย หายกร็ ู้ ดูก็งามตา"
สะอาด "เก็บให้เขา้ ท่ี หากที่ กี ็เจอ"
สุขลักษณะ "สร้าง ๕ ส.เปน็ นจิ สขุ ภาพจติ แจ่มใส"
สร้างนิสัย "ปฏิบัติตามระเบยี บวนิ ยั เป็นนิสัยท่ีดี"
๔.๓ การพัฒนาฐานปฏบิ ตั ิการ ... อยา่ ใหเ้ จา้ ของอาคาร สถานที่ ด่าตาม หลังจบภารกิจ กลบั หนว่ ย
- พฒั นาจากสง่ิ ที่ทำได้ดว้ ยตนเองงา่ ยๆ เชน่ เปลยี่ นกลอนประต,ู เปล่ียนปลก๊ั ไฟ/หลอดไฟ
- ขอรับการสนับสนุนงบประมาณทำการซ่อมแซม/ปรับปรุง จากส่วนราชการในท้องถิ่นที่
อาจจะใหก้ ารสนบั สนนุ ได้ เชน่ การกั้นหอ้ ง, การเทพ้นื ,ปกู ระเบื้อง,การทาสอี าคาร เปน็ ตน้
- ทุกรายการทไี่ ด้ดำเนินการ ใหบ้ ันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร
๕. งานแฝง งานดา้ นการขา่ ว จากมวลชน จากแหลง่ ข่าวที่ผ่านการฝึกอบรมเป็นหลกั เพ่อื
นำไปสู่ขน้ั ตอน การบงั คับใชก้ ฎหมาย/สกดั กนั้ /จบั กุม โดย จนท.ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย(ระบบการปราบปราม)
๖. ข้อทีค่ วรคำนงึ
- ไม่ยึดติดพนื้ ท่ีนาน (ไมฝ่ งั ตวั นาน)
- เข้าไปในพ้ืนท่หี มบู่ ้าน/ชมุ ชนที่มปี ัญหา เลือกหม่บู า้ น/ชมุ ชนทม่ี ปี ญั หามากทสี่ ดุ เป็นที่ตัง้ ฐาน
- เปน็ ชุดพเี่ ล้ียงเทา่ นั้น ช้นี ำชว่ งแรก หลงั จากนัน้ ให้ผู้นำคดิ เอง ทำเอง
- รีบจบภารกิจ ถอนตวั ไปสร้างความเข้มแข็ง ใหก้ ับทห่ี มายใหม่

๗. แนวทางการวางแผนการฝกึ /การจดั กิจกรรม ของแตล่ ะโครงการ : ผนวก ค

๗.๑ โครงการจัดตงั้ หม่บู า้ น/ชุมชนเข้มแขง็ เอาชนะยาเสพตดิ : ชพส.

๑) จัดการประชมุ แบบมีส่วนรว่ ม ; ๒๐ คร้ัง/ร่นุ

- ๒ งวด งป. ๘ ครัง้ : ๑๒ คร้งั

- ๔ ไตรมาส ๒/๖ : ๖/๖

๒๘

ให้ประชุมหมู่บา้ น/ชุมชน ละ ๒ ครั้ง ก่อนฝึก รสปส. ๑ ครั้ง เพื่อรบั ทราบปญั หาต่างๆ

และหลังฝึกอกี ๑ ครงั้ เพอ่ื ติดตาม/ประเมนิ ผล รวมถงึ แจง้ ผลการแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ

๒) ฝึกอบรมราษฎรอาสาปอ้ งกันภัยยาเสพตดิ (รสปส.) ; ๑๐ รุ่น/ชุด

- ๒ งวด งป. ๘ รุ่น : ๒ รุ่น

- ๔ ไตรมาส ๒/๖ : ๒/๐

พยายามเร่งรัด วางแผนฝึกให้จบภายในงวดที่ ๑ (๖ เดือนแรก)เพื่อให้มีเวลาให้กับ

หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ไดข้ ับเคลื่อนกจิ กรรมตา่ งๆในการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด

๓) ฝึกอบรมชุมชนอนุ่ ใจได้ลกู หลานกลบั คืน ; ๔ รุน่ /ชดุ

- ๒ งวด งป. ๓ รุ่น : ๑ รนุ่

- ๔ ไตรมาส ๑/๒ : ๑/๐

หลังจบการฝึก รสปส. ให้ค้นหาผู้เสพจากแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อเข้ารับฝึกบำบัด /

ปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม โดยสมัครใจ ตอ้ งกระจายให้คลมุ พืน้ ทเี่ ป้าหมาย มิใชฝ่ ึกเป็นร่นุ ต่อหมู่บ้าน

๗.๒ โครงการสร้างเครือข่ายผู้นำหมบู่ า้ น/ชมุ ชนเขม้ แขง็ เอาชนะยาเสพตดิ : ชบข.

๑) การฝึกอบรมพฒั นาศักยภาพผนู้ ำหมู่บ้าน/ชมุ ชน ; ๘ รนุ่ /ชดุ

- ๒ งวด งป. ๗ รุ่น : ๑ รนุ่

- ๔ ไตรมาส ๒/๕ : ๑/๐

ให้ประสานงานกบั ชพส. เพ่อื รวบรวมแกนนำของแต่ละหมู่บ้าน/ชมุ ชน มาพัฒนาสัมพันธ์

สรา้ งเครอื ขา่ ยทเี่ ข้มแข็ง จบั มอื กันอย่างแน่นแฟ้น ควรวางแผนสรา้ งเครือข่ายระดับตำบล ๕ รุ่น, ระดับอำเภอ

๒ รนุ่ และระดบั จงั หวดั ๑ ร่นุ เพอื่ เช่ือมโยงใหเ้ ปน็ เครือข่ายเดยี วกนั ทวั่ พื้นที่รบั ผิดชอบ มุง่ ผลงานด้านการข่าว

เพอื่ สนบั สนุนหนว่ ยบังคบั ใชก้ ฎหมาย

๒) การฝึกอบรมเยาวชนทางสายใหม่ ; ๑๐ รนุ่ /ชุด

- ๒ งวด งป. ๗ รุ่น : ๓ รนุ่

- ๔ ไตรมาส ๒/๕ : ๒/๑

ใหว้ างแผนฝกึ อบรมเช่นเดยี วกบั ผู้นำหมู่บา้ น/ชุมชน

ผนวก ก
การวิเคราะหแ์ ละเตรียมพ้ืนท่ปี ฏบิ ตั กิ าร

ด้านยาเสพตดิ



๒๖

การวิเคราะห์และเตรียมพ้ืนทป่ี ฏบิ ัตกิ ารดา้ นยาเสพตดิ

(Intelligence Preparation Battle Field for Narcotics: IPBN)

ความมุ่งหมาย

เพื่อให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความ เข้าใจหลักพื้นฐานในการวิเคราะห์และเตรียมพื้นที่ ปฏิบัติการด้าน
ยาเสพตดิ (Intelligence Preparation Battle Field for Narcotics: IPBN ) และสามารถนำความรูท้ ไ่ี ดร้ ับไป
ใช้ประโยชนใ์ นงานมวลชนและงานการขา่ วของ ชพส., ชบข. และ ชวกม.

งานของท่านคืออะไร

ชุดปฏิบัติการ ของ กอ.รมน. ได้แก่ ชพส., ชบข., และ ชวกม. มีหน้าที่ปฏิบัติงานมวลชนและงาน
การข่าวตามแผนงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตลอดจนให้การสนับสนุนการดำเนินงานของ
หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง (กกล./ศพส. และหนว่ ยท่เี ก่ยี วขอ้ งในพ้ืนท่ี)

งานในหน้าท่ีหลกั ของชดุ ปฏบิ ตั ิการ ของ กอ. รมน .
• งานมวลชน

- จัดตง้ั และเสริมสร้างความเข้มแขง็ ให้กับหมู่บา้ น/ชุมชน
- เสรมิ สรา้ งและพัฒนาเครือข่ายผู้นำหมูบ่ ้าน/ชุมชน
- พัฒนาศักยภาพแกนนำหม่บู า้ น/ชมุ ชน
- สนับสนนุ การจดั ตั้งหมบู่ า้ นกองทนุ แม่ของแผ่นดิน เพอื่ เอาชนะยาเสพติดอยา่ งยง่ั ยืน

• งานการข่าว

- วิเคราะหแ์ ละเตรยี มพน้ื ทป่ี ฏิบัติด้านการข่าว – วางระบบการขา่ ว

๒๗

การขา่ วกรองในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ

• การป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ เป็นการปฏบิ ัติการท่ีตอ้ งอาศัยการข่าวกรองเป็นหัวใจในการ
ขับเคลือ่ น

• การข่าวกรอง จะช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติการ โดยเฉพาะใน
ประเดน็ ท่ีเก่ยี วข้องกับประชากร และเครอื ข่ายยาเสพติด

• ต้องสรา้ งและรักษาเครือขา่ ยข่าวกรองของตนไปพรอ้ มกับการบ่นั ทอนขดี ความสามารถด้านการข่าว
กรองของเครอื ข่ายยาเสพติด

• เจา้ หน้าท่ีทกุ นายต้องทำการรวบรวมขา่ วสาร
• มีความแตกต่างกันในมิตขิ องเวลาและพ้นื ทเ่ี ป็นอย่างมาก
• ข่าวสารและข่าวกรองมักไหลเวยี นจากระดับล่างขน้ึ สรู่ ะดบั บน
• กพ./หนว่ ยท่ปี ฏิบตั งิ านอยเู่ ดิมในพื้นทีถ่ อื เปน็ แหล่งข่าวกรองท่ีดีทส่ี ดุ
• ใช้ IPBN เพอื่ สนับสนุนการประมาณการขา่ วกรอง

การวิเคราะหแ์ ละเตรยี มพืน้ ท่ีปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการข่าว

• เป็นกระบวนการวิเคราะห์ภัยคกุ คามและสภาพแวดลอ้ มในพ้ืนท่ี ปฏิบตั กิ ารอยา่ งเปน็ ระบบและ
ต่อเนือ่ ง

• วตั ถุประสงค์ เพื่อ
- ให้เขา้ ใจสภาพแวดล้อมในการปฏบิ ัตกิ าร

๒๘

- ประเมินใหไ้ ด้ว่าภยั คุกคามจะทำอะไร อย่างไร ท่ีไหน และ เมือ่ ไหร่

การทำ IPBN ๔ ขน้ั ตอน

๑. กำหนดสภาพแวดล้อมของพ้ืนที่ปฏิบัติการ
๒. อธบิ ายผลกระทบสภาพแวดล้อม
๓. ประเมินคา่ ภัยคกุ คาม
๔. พิจารณาหนทางปฏบิ ัติของภยั คุกคาม

ขน้ั ท่ี ๑ กำหนดสภาพแวดล้อมของพืน้ ทปี่ ฏิบตั กิ าร
• สภาพทางภูมศิ าสตร์, ภมู ปิ ระเทศ และลมฟา้ อากาศ
• ประชากร (ASCOPE)
• สภาพทางการเมอื ง, เศรษฐกิจ และสงั คมจติ วิทยา
• เครือข่ายยาเสพติด
• ลกั ษณะสำคญั อ่ืนๆ

สภาพทางภูมศิ าสตร์
• พ้นื ที่ปฏบิ ัติการ - Area of Operation (AO)
• พน้ื ทอ่ี ทิ ธพิ ล – Area of Influence (AI)
• พน้ื ท่ีสนใจ – Area of Interest (AI)

พื้นท่ีปฏิบตั ิการ - Area of Operation (AO)
• มอบใหโ้ ดย ผบ. ท่สี งู กวา่ พิจารณาจากปัจจัย METT-TC
• เปน็ พน้ื ทที่ ่ี ผบ.หนว่ ย มอี ำนาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย

พื้นทอ่ี ิทธพิ ล (AI)
• พน้ื ทท่ี างภมู ิศาสตรท์ ี่ ผบ. หน่วย สามารถมีอทิ ธิพลตอ่ การปฏิบตั ไิ ด้โดยตรง ดว้ ยเคร่ืองมือ/

ทรพั ยากรทอ่ี ยูภ่ ายใต้การควบคุม/บังคบั บัญชาของ ผบ.หนว่ ย
• ปกตจิ ะครอบคลมุ พ้นื ทีป่ ฏิบตั กิ าร

พน้ื ที่สนใจ (AI)
ต้องรูก้ อ่ นว่า อะไรท่ีเราควรรู้ แลว้ สงิ่ ที่เราต้องการร้นู น้ั ไปอยู่ตรงไหน ตรงนัน้ แหละคอื พน้ื ที่สนใจ

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
ปจั จยั ภูมปิ ระเทศ
๑) ทสี่ งู ต่ำ และ ระบบทางนำ้ ไหล
๒) ลักษณะพชื พรรณไม้

๒๙

๓) ลักษณะพืน้ ดนิ
๔) ลักษณะส่ิงปลกู สร้าง

ลมฟ้าอากาศ
• องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศท่ีมผี ลกระทบตอ่ การ ปฏบิ ัติการ
ฝน อุณหภูมิ
หมอก ความชืน้
เมฆ ความกดอากาศ
ลม ข้อมูลแสงสว่าง

ประชากร (ASCOPE)
• ข้อพิจารณาด้านพลเรอื น (Civil Considerations = ASCOPE) ประกอบด้วย ๖ ประเดน็ ไดแ้ ก่
- พน้ื ที่ (Areas) - โครงสร้าง (Structures)
- ความสามารถ (Capabilities)
- องค์กรต่าง ๆ (Organizations)
- ประชาชน (People)
- เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ (Events)

พื้นท่ี (Areas)
• วิเคราะหภ์ มู ิประเทศในมุมมองของฝ่ายพลเรือน เช่น

๓๐

- เขตเทศบาลเมอื ง หรือพ้นื ทกี่ นั ดารห่างไกลความเจรญิ
- เปน็ พื้นทีม่ ีคณุ ค่าตอ่ ระบบเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม เช่น มที รพั ยากร/เหมืองแร่ศูนย์กลางของ
รฐั บาลหรอื การเมือง
- เสน้ ทางการค้าและการลกั ลอบขนสง่ สนิ คา้ ผิดกฎหมาย

ความสามารถ (Capabilities)
• เป็นความสามารถของเจ้าหน้าทที่ อ้ งถนิ่ ที่สามารถจดั สรรสาธารณประโยชน์และ บรกิ ารสำคัญต่าง ๆ

ให้แกป่ ระชาชน เชน่ ไฟฟา้ ประปา ไปรษณีย์ โทรศัพท์
• ขดี ความสามารถของรฐั บาล เช่น
- การบรหิ ารรัฐกิจ ได้แก่ ประสิทธิภาพของระบบราชการ ศาล และภาคส่วน อน่ื ๆ ของรัฐบาล
- ความปลอดภัยสาธารณะ โดยกำลังรักษาความมนั่ คง ทหาร ตำรวจ และหน่วยงานด้านการข่าว
- การบรกิ ารฉุกเฉิน เชน่ หน่วยดบั เพลงิ และการบรกิ ารรถพยาบาล
- ดา้ นสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ สถานพยาบาล และโรงพยาบาล
- อาหาร/ นำ้ / สขุ อนามัย

องค์กรต่างๆ (Organizations)
• องคก์ รทางศาสนา
• พรรคการเมือง
• สหภาพแรงงาน

๓๑

• องคก์ รชุมชน
• องคก์ รอนื่ ๆ อาจมาจากภายนอกพน้ื ท่ีปฏบิ ัติการ
• บรรษทั ขา้ มชาติ
• องคก์ รรฐั บาลระหว่างประเทศ เชน่ UN
• องคก์ รทไี่ ม่ใชร่ ฐั บาล เช่น กาชาดสากล NGO
• องคก์ รอาชญากรรม

ประชาชน (People)
• ปัจจัยดา้ นสงั คม - วฒั นธรรม ๖ ประการ
๑. สงั คม
๒. โครงสร้างทางสงั คม
๓. วฒั นธรรม
๔. ภาษา
๕. อำนาจและความรบั ผิดชอบ
๖. ความสนใจ

เหตุการณ์ตา่ งๆ (Events)
เหตุการณ์เปน็ กจิ กรรมที่เกิดขน้ึ เปน็ ประจำ เปน็ วงรอบ มกี ารวางแผนหรอื เกดิ ขน้ึ เอง ตวั อย่างเชน่

• วันหยุดประจำชาตแิ ละวันหยุดทางศาสนา
• วันเกบ็ เก่ยี วพืชผลทางการเกษตร ปศสุ ัตว์ และวงจรการตลาด
• การเลอื กตง้ั
• การเฉลิมฉลอง
• การระลึกเหตกุ ารณส์ ำคญั

สภาพทางการเมอื ง, เศรษฐกจิ และสังคมจิตวิทยา
• การมีส่วนร่วมของประชาชนในทางการเมอื ง
• มาตรฐานการครองชีพ (รายได้, ค่าจา้ ง, ราคา สินค้า, ท่อี ยู่ อาศยั , การวา่ งงาน ฯลฯ)
• ปญั หาสงั คม (คดอี าชญากรรม, ยาเสพตดิ , การค้าสิง่ ผดิ กฎหมาย, ความยากจน)

เครอื ขา่ ยยาเสพตดิ
• การพสิ จู นท์ ราบถึงเครอื ข่าย/ขบวนการยาเสพตดิ
• สาเหตทุ ีท่ ำให้เกดิ เครือข่าย/ขบวนการยาเสพติด
• การสนับสนนุ ต่อเครอื ขา่ ย/ขบวนการยาเสพติด
• กิจกรรมต่าง ๆ ของเครือข่าย/ขบวนการยาเสพตดิ
• ลกั ษณะพเิ ศษ จดุ ออ่ น และความลอ่ แหลมของ เครอื ขา่ ย/ขบวนการยาเสพตดิ

๓๒

ลักษณะสำคัญอ่ืนๆ
• การสนับสนนุ กำลงั เงนิ /คนจากประเทศท่ีสาม
• เครือขา่ ย/องคก์ ารอาชญากรรมขา้ มชาติ
• อน่ื ๆ

๓๓

๓๔

ขั้นที่ ๒ อธบิ ายผลกระทบของสภาพแวดล้อม SO WHAT?
• เปน็ การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทมี่ ีผลกระทบต่อทง้ั สองฝ่าย ในเรอื่ งขีดความสามารถและหนทาง

ปฏิบัติ
- สภาพทางภูมิศาสตร์, ภูมิประเทศ และลมฟ้าอากาศ
- ประชาชน (ASCOPE)
- สภาพทางการเมอื ง, เศรษฐกิจ และสงั คมจิตวิทยา
- เครือขา่ ยยาเสพตดิ
- ลกั ษณะสำคญั อน่ื ๆ

๓๕

๓๖

๓๗

ข้นั ที่ ๓ และขั้นท่ี ๔
๑. จัดทำรูปแบบการปฏิบัตขิ องภัยคุกคาม (Threat model)
๒. กำหนดขดี ความสามารถของภยั คุกคาม

๓๘

การทำรูปแบบภัยคุกคาม
• ให้คดิ วา่ ในสถานการณป์ กติ ภัยคุกคาม (ทง้ั ผ้คู า้ และผเู้ สพ) จะทำอะไร ไดบ้ ้าง ทำอย่างไร ?
• คิดว่าถา้ ตัวเราเปน็ ผคู้ า้ หรือ ผ้เู สพ เราจะทำอะไร และอย่างไร ?


Click to View FlipBook Version