การเป็นพล
เมืองยคุ ดจิ ิทัล
(Digital Citizenship)
น.ส.วนัสนันท ์ แจง้ ใจ
1.Digital Citizenship หมายถงึ ?
พลเมืองผู้ใช้งานสื่อดิจิทัลและสื่อสังคมออนไลน์ที่เข้าใจบรรทัดฐานของการ
ปฏิบัติตัวใหเ้ หมาะสมและมีความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสาร
ในยคุ ดิจิทัลเปน็ การสอ่ื สารทไ่ี ร้พรมแดน
2. การเป็นพลเมืองในยคุ ดจิ ทิ ัล ต้องมที ักษะที่สาคญั กปี่ ระการ
อะไรบา้ ง?
การเป็นพลเมอื งในยุคดิจทิ ลั นัน้ มีทกั ษะทีส่ าคญั 8 ประการ
1. ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเอง (DigitalCitizen Identity)
ความสามารถในการสร้างและบริหารจัดการอัตลักษณ์ที่ดีของตนเองไว้ได้อย่างดีท้ังในโลก
ออนไลนแ์ ละโลกความจรงิ
2. ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) มีดุลพินิจ
ในการบริหารจัดการข้อมูลส่วนตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลน์เพื่อป้องกันความเป็น
ส่วนตัวท้งั ของตนเองและผอู้ ่นื
3. ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking)
ความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ ง และขอ้ มูลที่ผดิ ข้อมูลท่ีมเี นอ้ื หาดี
และข้อมลู ท่เี ข้าขา่ ยอันตราย ข้อมลู ติดตอ่ ทางออนไลน์ท่นี า่ ตั้งขอ้ สงสยั และน่าเชอื่ ถอื ได้
4. ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management)
ความสามารถในการบริหารเวลาในการใช้อุปกรณ์ยุคดิจิทัล รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือให้เกิด
สมดลุ ระหว่างโลกออนไลน์ และโลกภายนอก
5. ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying
Management) ความสามารถในการรับรู้ และรับมือการคุกคามข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้
อยา่ งชาญฉลาด
6. ทักษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ทผ่ี ู้ใช้งานมกี ารท้ิงไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital
Footprints) ความสามารถในการเข้าใจธรรมชาตขิ องการใช้ชีวติ ในโลกดจิ ทิ ลั ว่าจะ
หลงเหลือรอ่ ยรอยขอ้ มลู ทิ้งไวเ้ สมอ รวมไปถึงเขา้ ใจพลลพั ธ์ ทอ่ี าจเกิดขน้ึ เพอื่ การดูแลส่ิง
เหลา่ นอี้ ยา่ งมคี วามรบั ผิดชอบ
7. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity
Management) ความสามารถในการป้องกนั ขอ้ มลู ด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยที่
เข้มแขง็ และป้องกันการโจรกรรมข้อมลู หรือการโจมตที างออนไลน์ได้
8. ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) ความสามารถใน
การเหน็ อกเหน็ ใจ และสรา้ งความสัมพนั ธ์ทด่ี กี ับผูอ้ ื่นบนโลกออนไลน์
3.ISTE ยอ่ มาจาก ?
(ISTE : International Society for Technology in Education)
3. องคป์ ระกอบของความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัล
สามารถแยกกม่ี ิติ อะไรบ้าง อธบิ าย?
ความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ลั สามารถแยกองคป์ ระกอบได้เปน็ 4 มติ ิ ดังน้ี
1. มิตกิ ารรกั ษาอตั ลกั ษณแ์ ละข้อมลู ส่วนบคุ คล
การสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ถือเป็นปรากฏการณ์ใหม่ ท่ีทาให้บุคคลสามารถ
แสดงออกถึงความเป็นตัวตนของตนเองต่อสังคมภายนอก ด้วยการอาศัยช่องทางการส่ือสาร
ผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเพ่ืออธิบายรูปแบบใหม่ของการสื่อสารแบบมีปฏิสัมพันธ์ทาง
อินเทอร์เน็ตที่ทาให้เกิดการแสดงออกเก่ียวกับตัวตนผ่านเว็บไซต์เครือข่ายสังคมต่าง ๆ เพ่ือ
การสื่อสารและเชื่อมต่อความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน การท่ีผู้ใช้ปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีสื่อ
ใหม่และการใช้กลยุทธ์ต่าง ๆ เพ่ือนาเสนอตัวตนบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทัลจะต้องมี
ความตระหนักในความเท่าเทียมกันทางดิจิทัล การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลตนเองใน
สังคมดิจิทัล ที่มีความจาเป็นจะต้องบริหารจัดการข้อมูลของตนเอง รู้ว่าข้อมูลใดควรเผยแพร่
และข้อมูลใดไม่ควรเผยแพร่ การปกป้องข้อมูลส่วนบุคคล การจัดการกับความเส่ียงของข้อมูล
ของตนในสอื่ สังคมดิจิทลั
2. มิตขิ องกิจกรรมบนสอื่ สงั คมดิจิทลั
พลเมืองดิจิทัลทีความจาเป็นต้องมีความสามารถในการจัดการธุรกรรมการเงิน
ทางอินเทอร์เน็ต เช่น การซื้อขายสินค้าในอินเทอร์เน็ต บัตรเครดิตอิเล็กทรอนิกส์ การค้า
แบบดจิ ิทัล การเมอื ง เศรษฐกิจ การมีสว่ นร่วมวัฒนธรรมพลเมอื งดิจทิ ลั ตอ้ งรจู้ กั ใชศ้ กั ยภาพ
ของอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อินเทอร์เน็ตเป็นได้ท้ัง
เคร่ืองมือเพิ่มการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบ เช่น รัฐบาลใช้อินเทอร์เน็ตในการรับฟัง
ความเห็นของประชาชนก่อนออกกฎหมาย การลงคะแนนเสียงอิเล็กทรอนิกส์ หรือการยื่นคา
ร้องออนไลน์ อีกท้ังพลเมืองดิจิทัลจะต้องการรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในสังคมดิจิทัล มี
น้าใจการแสดงความเห็นอกเห็นใจ เสียใจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ยินดี สนุกสนาน เพ่ือสาน
สัมพันธ์กับผู้คนในโลกออนไลน์ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
เพอ่ื ใหส้ ามารถอยใู่ นสงั คมได้อย่างมีความสุข
3. มิตทิ ักษะและความสามารถในสภาพแวดลอ้ มดิจทิ ัล
พลเมืองดิจิทัลต้องมีความรู้ความสามารถในการเข้าถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน
สังเคราะห์ และสือ่ สารข้อมลู ข่าวสารผ่านเคร่ืองมือดิจทิ ัล ดังนั้นพลเมืองยุคใหม่จึงต้องมีความรู้
ด้านเทคนิคในการเข้าถึงและใช้เคร่ืองมือดิจิทัล เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต ได้
อย่างเชี่ยวชาญ รวมถึงทักษะในการรู้คิดข้ันสูง เช่น ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่ง
จาเป็นต่อการเลือก จัดประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเข้าใจข้อมลู ข่าวสาร มีความรู้และทักษะ
ในสภาพแวดล้อมดิจิทัล การรู้ดิจิทัลโดยมุ่งใหเ้ ป็นผู้ใช้ท่ีดี เป็นผู้เข้าใจบริบทที่ดี และเป็นผู้สร้าง
เนอ้ื หาทางดจิ ทิ ลั ที่ดี ในสภาพแวดล้อมสงั คมดิจทิ ัล
4. มิติจริยธรรมทางดิจิทลั
พลเมืองดิจทิ ัล จะต้องเป็นผู้รู้กฎหมายท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การกระทาความผิด
ทางคอมพิวเตอร์ การใช้เทคโนโลยีอย่างรู้จริยธรรม รู้จักคุณค่าและจริยธรรมจากการใช้
เทคโนโลยี มีความรู้ในงานลิขสิทธิ์และเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อ่ืน และการปกป้อง
ตนเองและชุมชน มีความรับผดิ ชอบทางดิจทิ ัล รู้จักสทิ ธิเสรีภาพใหเ้ กียรติในการพูดการกระทา
ในสงั คมดจิ ิทัล มารยาททางดจิ ทิ ลั เข้าใจถงึ การรับความในการบริหารจัดการความเสี่ยงในโลก
ออนไลน์ เช่น การไม่ไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซเบอร์
(Cyberbullying) รวมไปถึงการเกี้ยวพาราสี การเหยียดผิว-เหยียดชนชั้น รวมไปถึงเน้ือหา
ต่าง ๆ ที่สมุ่ เส่ียงเชน่ เนอื้ หาที่มคี วามรุนแรง โปเ๊ ปลอื ย ลามกหยาบคายดว้ ย
กล่าวโดยสรุป พลเมืองดิจิทัลที่ดีจะต้องมีทักษะทางดิจิทัลมีชุดทักษะและความรู้ท้ังในเชิง
เทคโนโลยีและการคิดข้ันสูง ในการรักษาอัตลักษณ์และข้อมูลส่วนบุคคลของตนเอง เคารพ
สิทธิเสรีภาพการใช้ข้อมูลท้ังของตนเองและผู้อื่น สามารถบริหารจัดการกิจกรรมบนสื่อสังคม
ดิจิทัล รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและส่ิงแวดล้อม มีความรู้ด้าน
เทคนิคในการเข้าถึงและใชเ้ คร่ืองมือดจิ ิทลั มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักคุณค่าและ
จรยิ ธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี มีความรู้ในงานลิขสิทธิ์และเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น
การปกปอ้ งตนเองและชุมชน และเกิดความรบั ผดิ ชอบทางดจิ ิทลั
5.คุณลกั ษณะพึงประสงค์ของพลเมืองดิจิทัล ได้แกอ่ ะไรบา้ ง ?
1. การตระหนกั ถงึ ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผ้อู ืน่
ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนควรตระหนักว่าบุคคลมีโอกาสในการเข้าถึงและมี
ศักยภาพใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกต่างกัน พลเมืองดิจิตอลที่ดีจึงไม่ควรเลือกปฏิบัติและดูหม่ิน
บุคคลผู้ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีฯ หากแต่จะต้องช่วยกันแสวงหามาตรการต่างๆเพ่ือเสริมสร้าง
ความเสมอภาคในการเข้าถึงเทคโนโลยีฯ อันจะทาให้สังคมและประเทศนั้นๆ ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิตอลได้
อย่างภาคภมู ิ
2. การเปน็ ผปู้ ระกอบการและผู้บริโภคทมี่ จี ริยธรรม
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้เปลี่ยนแปลงระบบตลาดแบบดั้งเดิม
(TraditionalMarketplace)ไปสู่ตลาดในระบบอิเลคทรอนกิ ส์ (Electronic-Marketplace)
และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายดังจะเห็นได้จากความหลายหลายของประเภทสินค้าท่ีสามารถซ้ือ
หาได้ในระบบออนไลน์ ตลอดจนบริการประเภทต่างๆ ที่ผู้บริโภคสามารถทาธุรกรรมได้อย่างสะดวก
พลเมอื งยคุ ดจิ ิตอลจะตอ้ งมีความซื่อสัตย์และมีศีลธรรมในการทานติ ิกรรมและธุรกรรมทุกประเภทบน
โลกออนไลน์ เช่น ไม่ซ้ือขายและทาธุรกรรมที่ผิดกฎหมาย เช่น การดาวน์โหลดส่ิงที่ขัดต่อกฎหมาย
ตลอดจนการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีเพ่ือหลอกลวงผู้อ่ืนให้ซื้อสนิ ค้าและบริการที่ไม่มีคุณภาพ เป็น
ต้น
3. การเปน็ ผูส้ ง่ สารและรับสารท่ีมมี รรยาท
รูปแบบการสื่อสารได้มีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงไปอย่างมากในช่วงศตวรรษท่ี 21 ดัง
จะเห็นได้จากรูปแบบการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตที่สะดวก รวดเร็วและมีความเช่ือมโยงท่ัวโลก เช่น
อีเมลล์และโซเชียลมเี ดียหลากหลายประเภท ปัจจุบันมีผใู้ ช้ข้อไดเ้ ปรียบของช่องทางการสื่อสารดังกล่าว
อยา่ งไม่เหมาะสม เช่น การสง่ สารที่ มีเจตนาหมิ่นประมาทผ้อู ่ืนและการส่งสารท่ีมีเจตนาใหส้ ังคมเกิด
ความแตกแยก ทั้งท่ีกระทาไปโดยเจตนาหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ดังนั้น พลเมืองดิจิตอลท่ีดีจะต้องมี
มรรยาทและความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนในโลกออนไลน์ หรือ ท่ีเรารู้จักกันดีในนามของ
(Digital Etiquette) ท่ีจะเป็นเครื่องมือในการย้าเตือนสติตลอดจนการกระทาที่เหมาะสมในการ
สอ่ื สารทกุ ประเภทในยคุ ดจิ ิตอล
4. การเคารพตอ่ กฎหมายและกฎระเบยี บ
ปัจจบุ นั การทาธุรกรรมและนิติกรรมทางอิเลคทรอนิกส์อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายและ
กฎระเบียบว่าด้วยการทาธุรกรรมทางอิเลคทรอนิกส์ซ่ึงมีวัตถุประสงค์หลักในการป้องกันและ
ปราบปรามการละเมิด ในรูปแบบต่างๆ ที่มลี ักษณะเป็นอาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส์ เช่น การลัก
ขโมยและการจารกรรมข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ข้อมูลทางธุรกิจและข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจน
มาตรการคมุ้ ครองเกี่ยวกับทรัพย์สนิ ทางปัญญาในรูปแบบต่างๆ ดังนั้น พลเมืองยุคติจติ อลท่ีดีจะต้อง
ตระหนักและรับทราบถึงกฎหมายและกฎระเบียบดังกล่าว ตลอดจนมีความยับยั้งช่างใจต่อการกระทา
ของตนท่ีอาจเป็นการละเมดิ สิทธิของบุคคลอนื่
5. การใช้เทคโนโลยใี หม้ ีความเหมาะสมและไม่ส่งผลเสยี ตอ่ สุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวม เช่น
ความเครียดต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตตลอดจนการก่อให้เกิดการสูญเสียสัมพันธ์ภาพในสังคมได้
พลเมืองยคุ ดจิ ติ อลจะต้องควบคุมการใช้อุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์ให้มคี วามเหมาะสมเพ่ือป้องกันมิให้เกิด
อาการเสพติดต่อ สิ่งดังกล่าวจนเกิดผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมได้ นอกจากน้ี การลดปริมาณการ
สื่อสารแบบออนไลน์มาเป็นรูปแบบการสื่อสารแบบด้ังเดิมในบางโอกาสจะก่อให้เกิดผลดีต่อ
สัมพนั ธภาพของบุคคลใกลช้ ดิ อีกดว้ ย
6. เรียนรู้วธิ กี ารเสริมสรา้ งความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยี
พลเมืองดิจิตอลนอกจากจะต้องเป็นผู้ที่มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
แล้วจะต้องใฝ่รู้และให้ความสาคัญกับมาตรการเพื่อความปลอดภัยและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ด้วย (Digital Security) เนื่องจากในยุคดิจิตอลน้ันผมู้ เี จตนากระทาผิดและหลอกลวงสามารถใช้
เทคโนโลยีที่มีความทันสมัยเพื่อหลอกลวงผู้อ่ืนได้ง่ายกว่ากระบวนการส่ือสารแบบด้ังเดิม วิธีการ
เสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถกระทาได้โดยง่ายมหี ลากหลายวิธี
เช่น การติดตั้งระบบป้องกันการจารกรรมและการทาลายข้อมูลให้กับอุปกรณ์การส่ือสารทุกประเภท
ตลอดจนรู้เท่าทันต่อรูปแบบและกลอุบายของอาชญากรอิเลคทรอนิกส์ท่ีมักมีการพัฒนารูปแบบของ
การกระทาผิดอย่เู สมอ
6. Digital literacy หมายถงึ ?
ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทักษะ
ในการนาเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การ
ปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพ่ือพัฒนากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กร
ใหม้ คี วามทันสมยั และมปี ระสิทธภิ าพ
7. ทักษะความเข้าใจและใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ครอบคลมุ
ความสามารถ ก่ีมติ ิ ได้แกอ่ ะไรบา้ ง?
ทักษะดังกลา่ วครอบคลุมความสามารถ 4 มิติ
● การใช้ (Use)
● เขา้ ใจ (Understand)
● การสรา้ ง (create)
● เขา้ ถึง (Access) เทคโนโลยีดิจิทลั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
8.จงบอกประโยชนข์ องการพฒั นา Digital Literacy สาหรบั
ขา้ ราชการ มีอะไรบา้ ง?
ประโยชนส์ าหรับขา้ ราชการ
• ทางานไดร้ วดเรว็ ลดขอ้ ผิดพลาดและมคี วามมน่ั ใจในการทางานมากข้ึน
• มีความภาคภูมใิ จในผลงานที่สามารถสร้างสรรค์ได้เอง
• สามารถแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ในการทางานไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้
• สามารถระบทุ างเลือกและตัดสินใจได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขึน้
• สามารถบรหิ ารจดั การงานและเวลาได้ดีมากขึน้ และช่วยสร้างสมดุลในชวี ติ และการ
ทางาน
• มเี ครอ่ื งมอื ชว่ ยในการเรียนรแู้ ละเตบิ โตอยา่ งเหมาะสม
9. Digคุณลกั ษณะของการเป็นพลเมอื งดจิ ิทลั ได้แก่อะไรบา้ ง
อธิบาย?
1.Digital citizen identity: ความสามารถในการสร้างและจดั การในการระบตุ ัวตนดว้ ย
ความซือ่ สัตย์ทงั้ ในโลกออนไลน์และออฟไลน์
2.Screen time management: ความสามารถในการจัดการเวลาในโลกออนไลน์ การ
จดั การเวลาเพอื่ ภารกจิ ท่ีหลากหลาย และการจดั การเวลาและกากับตัวเองในการทากิจกรรมใน
ส่อื สงั คมออนไลน์
3.Cyberbullying management: ความสามารถในการตรวจจับสถานการณก์ ารกลนั่
แกล้งบนอินเทอรเ์ นต็ และจดั การกบั สถานการณ์อย่างชาญฉลาด
4.Cybersecurity management: ความสามารถในการปกป้องขอ้ มลู โดยการสรา้ งความ
ปลอดภัยของรหสั ผา่ นและการจัดการการคกุ คามทางไซเบอร์ท่ีมคี วามหลากหลาย
5.Privacy management: ความสามารถในการจดั การขอ้ มูลสว่ นบคุ ลทีเ่ ผยแพร่ในโลก
ออนไลนอ์ ย่างมวี จิ ารณญาณเพอ่ื ปกปอ้ งความเปน็ สว่ นตวั ของท้ังของตนเองและของผ้อู ืน่
6.Critical thinking: ความสามารถในการจาแนกข้อมูลที่เป็นจริงและข้อมลู ท่เี ปน็ เท็จ
เนือ้ หาทดี่ ีและเน้ือหาที่เป็นอันตราย และการตดิ ต่อออนไลนท์ ่ีนา่ เช่อื ถอื และนา่ สงสัย
7.Digital footprints: ความสามารถในการทาความเขา้ ใจธรรมชาตขิ องรอ่ งรอยทางดิจทิ ลั
ผลกระทบของรอ่ งรอยทางดจิ ิทัลทมี่ ีต่อชวี ติ จริง และจัดการร่องรอยทางดจิ ทิ ลั ดว้ ยความ
รบั ผิดชอบ
9.Digital empathy: ความสามารถในการแสดงออกถึงความใส่ใจในความรสู้ กึ และความ
ตอ้ งการในโลกออนไลน์ทั้งของตนเองและของผอู้ ่ืน
10.ห้ศกึ ษาค้นควา้ ท่ีมาของ คาวา่ “New Normal” ในการดาเนิน
ชวี ิตของพลเมอื งยคุ ดิจทิ ัล และนาเสนอข้อมลู ด้วยโปรแกรม
มลั ตมิ ีเดีย (ตามท่นี กั ศกึ ษาถนัด)?
ชีวติ วถิ ใี หม่อยูก่ ับสง่ิ แวดลอ้ มทางดจิ ทิ ลั มีชีวิตในโลกกายภาพ ร่วมกับโลกไซเบอร์
(Cyber Physical System) ในโลกกายภาพเราเป็นพลเมอื งที่มสี ่วนร่วมในระบบ
เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง มรี ฐั บาลทีบ่ รหิ ารจดั การประเทศ แตเ่ มื่อมโี ลกไซเบอร์ บทบาทใน
ระบบเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง และรฐั บาล ก็ยงั มีอยู่เหมือนเดิม เราเรยี กพลเมืองในโลกไซ
เบอรว์ ่า พลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital citizen) ตามคาจากดั ความของคาเรน มอสเบอรเ์ กอร์
(Karen Mossberger) ผูท้ ่ีนาเสนอไว้ในหนงั สือช่อื Digital Citizenship: The
Internet, Society, and Participation (อา้ งจาก วิกิพีเดีย) การเป็นพลเมอื งดิจิทลั
หมายถึงผู้ที่ใชด้ ิจทิ ัล ออนไลน์ ทากจิ กรรมบนโลกไซเบอร์ เปน็ ประจาและมีความรู้
ความสามารถใชง้ านได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เปน็ ผู้มพี ฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสม อยใู่ นสังคม มีชีวติ
ความเป็นอยรู่ ่วมกนั และมคี วามรับผดิ ชอบกับการใช้เทคโนโลยี
การระบาดของโควิด 19 เป็นตัวเร่ง ทาให้วิถชี วี ติ ใหมม่ กี จิ กรรมบนโลกออนไลน์
มสี ว่ นรว่ มกับการใช้ดจิ ิทัลตามนโยบายของรัฐ ในฐานะเปน็ พลเมอื งดิจิทลั มากยิ่งขึ้น
THANK YOU